SPS Notification ของอาเซียน

ประเทศ Notification No สินค้า/สาระสำคัญ ประเทศที่ได้รับผลกระทบ รายละเอียด
ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/500/Add.1
19 มิถุนายน 2566
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกเลี้ยงและสัตว์ปีกป่าและผลิตภัณฑ์ รวมเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ฟัก น้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ประกาศยกเลิกการระงับการนำเข้าสัตว์ปีกเลี้ยงและสัตว์ปีกป่าและผลิตภัณฑ์ รวมเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ฟัก น้ำเชื้อ ที่มาจากเนเธอร์แลนด์ รายละเอียดเพิ่มเติม
https://members.wto.org/crnattachments/2023/SPS/PHL/23_10405_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 7 มิ.ย. 66
เนเธอร์แลนด์




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/528
28 เมษายน 2566
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกเลี้ยงและสัตว์ปีกป่า และผลิตภัณฑ์จากสัตวืปีก รวมถึง เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ประกาศระงับการนำเข้าชั่วคราวสำหรับสัตว์ปีกเลี้ยงและสัตว์ปีกป่า และผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก รวมถึง เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ ที่มีแหล่งกำเนิดจากชิลี เนื่องจากมีรายงานพบการระบาดของโรคไข้หวัดนกสายพันธุ์รุนแรง (HPAI) ในประเทศดังกล่าว โดยมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที 19 เมษายน 2566 รายละเอียดเพิ่มเติม
https://members.wto.org/crnattachments/2023/SPS/PHL/23_9342_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 19 เม.ย. 66
ชิลี




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/526/Add.1
25 เมษายน 2566
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าโคมีชีวิต เนื้อโคและผลิตภัณฑ์จากเนื้อโค ผลิตภัณฑ์โปรตีนแปรรูป และน้ำเชื้อโค
สาระสำคัญ : ประกาศ Memorandum Order No. 24 ประจำปี 2023 เรื่อง การระงับการนำเข้าชั่วคราวสำหรับโคมีชีวิต เนื้อโคและผลิตภัณฑ์จากเนื้อโค ผลิตภัณฑ์โปรตีนแปรรูป และน้ำเชื้อโคที่มีแหล่งกำเนิดจากสเปน รายละเอียดเพิ่มเติม
https://members.wto.org/crnattachments/2023/SPS/PHL/23_8724_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 21 มี.ค. 66
สเปน




สิงคโปร์ G/SPS/N/SGP/80/Add.1
18 เมษายน 2566
มาตรการปกติ
สินค้าอาหาร
สาระสำคัญ : ประกาศบังคับใช้กฎระเบียบด้านอาหารฉบับปรับปรุงของสิงคโปร์ ประจำปี 2565 โดยได้ลงประกาศลงในกิจจานุเบกษา วันที่ 17 เมษายน 2566 และแจ้งวันที่มีผลใช้บังคับ วันที่ 28 เมษายน 2566
วันที่มีผลบังคับใช้ : 28 เม.ย. 66
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/149
13 เมษายน 2566
มาตรการปกติ
สินค้าปลาทูน่าแช่แข็ง
สาระสำคัญ : จัดทำมาตรฐานระบุข้อกำหนดทางเทคนิคเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ปลาทูน่าแช่แข็งสำหรับการบริโภคโดยตรงหรือสำหรับการแปรรูปเบื้องต้น (pre-processing) ของปลาทูน่าครีบเหลือง (Thunusalbacares) และปลาทูน่าตาโต (bigeye tuna) (Thunnus obesus) รายละเอียดเพิ่มเติม
https://members.wto.org/crnattachments/2023/SPS/VNM/23_8918_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




สิงคโปร์ G/SPS/N/SGP/83
11 เมษายน 2566
มาตรการปกติ
สินค้าสุนัขและแมว
สาระสำคัญ : ประกาศปรับแก้เงื่อนไขการนำเข้าสุนัขและแมว โดยปรับแก้ประกาศ ได้แก่ การปรับแก้เงื่อนไขการนำเข้าให้เป็นไปตามมาตรฐาน WOAH ว่าด้วยเรื่องการติดเชื้อโรคพิษสุนัขบ้า การจัดกลุ่มประเทศใหม่บนพื้นฐานการประเมินความเสี่ยงของโรคพิษสุนัขบ้า การกำหนดคำนิยามใหม่ "Commercial" สำหรับการนำเข้า การแก้ไขระยะเวลารอคอยสำหรับการฉีดวัคซีนโรคพิษสุนัขบ้า รายละเอียดเพิ่มเติม
https://members.wto.org/crnattachments/2023/SPS/SGP/23_8803_00_e.pdf
https://members.wto.org/crnattachments/2023/SPS/SGP/23_8803_01_e.pdf
https://members.wto.org/crnattachments/2023/SPS/SGP/23_8803_02_e.pdf
https://members.wto.org/crnattachments/2023/SPS/SGP/23_8803_03_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 6 เดือนหลังจากประกาศ
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/148
22 มีนาคม 2566
มาตรการปกติ
สินค้า ศัตรูพืชกักกัน
สาระสำคัญ : จัดทำร่างรายชื่อศัตรูพืชกักกันของเวียดนาม จำนวนทั้งหมด 113 ชนิด แบ่ง เป็น แมลงศัตรูพืช 62 ชนิด ไรศัตรูพืช 3 ชนิด เชื้อรา 18 ชนิด ไวรัส ไวรอยด์ 5 ชนิด ไส้เดือนฝอย 14 ชนิด วัชพืช 7 ชนิด
วันสุดท้ายที่แสดงความเห็น/คัดค้าน : 21 พ.ค. 66
รายละเอียดเพิ่มเติม

https://members.wto.org/crnattachments/2023/SPS/VNM/23_2060_00_x.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 15 ต.ค. 66
ทุกประเทศ




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/526/Corr.1
17 มีนาคม 2566
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้า โคกระบือมีชีวิต เนื้อโคกระบือ และผลิตภัณฑ์จากโคกระบือ โปรตีนแปรรูป และน้ำเชื้อโคกระบือ
สาระสำคัญ : แก้ไขเนื้อหาสำคัญใน ส่วนที่ 6 "Description of content" ของ SPS Notification G/SPS/N/PHL/526 เรื่อง การระงับการนำเข้าชั่วคราวสำหรับโคกระบือมีชีวิต เนื้อโคกระบือ และผลิตภัณฑ์จากโคกระบือ โปรตีนแปรรูป และน้ำเชื้อโคกระบือ ที่มีแหล่งกำเนิดมาจากสเปน
วันที่มีผลบังคับใช้ : 6 มี.ค.66
สเปน




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/526
14 มีนาคม 2566
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้า โคมีชีวิตและผลิตภัณฑ์จากเนื้อโค
สาระสำคัญ : ประกาศ Memorandum Order No. 21 ประจำปี 2023 เรื่อง การระงับการนำเข้าชั่วคราวสำหรับโคมีชีวิต เนื้อโคและผลิตภัณฑ์จากเนื้อโค ผลิตภัณฑ์โปรตีนแปรรูป และน้ำเชื้อโคที่มีแหล่งกำเนิดจากสเปน เนื่องจากมีรายงานพบการระบาดของโรค Atypical Bovine Spongiform Encephalopathy (H-type) ในเมือง Pontevedra ในแคว้นปกครองตนเอง Galicia โดยมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 6 มีนาคม 2566
รายละเอียดเพิ่มเติม

https://members.wto.org/crnattachments/2023/SPS/PHL/23_1966_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : มีผลทันที
สเปน




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/525
28 กุมภาพันธ ์ 2566
มาตรการปกติ
สินค้าผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรและปลาและผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำ/ประมง,อาหารสัตว์,ปุ๋ย สารกำจัดศัตรูพืช
สาระสำคัญ : ประกาศ The Circular, signed เมื่อวันที่ 22 มิ.ย. 65 กำกับดูแลกฎระเบียบและข้อบังคับเกี่ยวกับการนำเข้าสินค้าเกษตร เช่น เช่นแต่ไม่จำกัดเฉพาะสัตว์ที่มีชีวิต เนื้อสัตว์และผลพลอยได้จากเนื้อสัตว์ ผลิตภัณฑ์จากสัตว์และผลพลอยได้ ได้แก่ ไข่และน้ำผึ้ง,ผลิตภัณฑ์อื่น ๆ ที่ได้จากสัตว์ เช่นตัวอ่อนและเชื้อ อาหารสัตว์, วัตถุดิบอาหารสัตว์และวัตถุเจือปนอาหารสัตว์, พืชและผลิตภัณฑ์จากพืช, ปลาและทรัพยากรสัตว์น้ำอื่นๆ, ปุ๋ย สารกำจัดศัตรูพืช และเคมีเกษตรอื่นๆ ไปยังฟิลิปปินส์เพื่อรับข้อมูลคำแนะนำและการปฏิบัติตามของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง รายละเอียดเพิ่มเติม
https://members.wto.org/crnattachments/2023/SPS/PHL/23_1390_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : โดยทันที
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/524
21 กุมภาพันธ ์ 2566
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกเลี้ยงและสัตว์ปีกป่า และผลิตภัณฑ์จากสัตวืปีก รวมถึง เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ประกาศระงับการนำเข้าชั่วคราวสำหรับสัตว์ปีกเลี้ยงและสัตว์ปีกป่า และผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก รวมถึง เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ฟัก และน้ำเชื้อ ที่มีแหล่งกำเนิดจากตุรเคีย เนื่องจากมีรายงานพบการระบาดของโรคไข้หวัดนกสายพันธุ์รุนแรง (HPAI) ในตุรเคีย โดยมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 17 ก.พ. 66 รายละเอียดเพิ่มเติม
https://members.wto.org/crnattachments/2023/SPS/PHL/23_1233_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 17 ก.พ. 66
ตุรเคีย




สิงคโปร์ G/SPS/N/SGP/82
17 กุมภาพันธ ์ 2566
มาตรการปกติ
สินค้าอาหาร
สาระสำคัญ : จัดทำ Draft Food (Amendment No. Y) Regulations 2023 เพื่อเพิ่มมาตรฐานด้านจุลชีววิทยาใหม่สำหรับอาหารที่ไม่ใช่กลุ่มอาหารพร้อมรับประทาน (RTE) ตามที่กำหนดในกฎระเบียบฉบับนี้ รายละเอียดเพิ่มเติม
https://www.sfa.gov.sg/food-information/public-consultation
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/523
15 กุมภาพันธ ์ 2566
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกและผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก
สาระสำคัญ : ประกาศห้ามการนำเข้าสัตว์ปีกและผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก รวมไปถึงเนื้อสัตว์ปีก ไข่ ลูกไก่ และนำเช้าของสัตว์ปีกจากเบลเยียม
โดยที่สินค้าที่อยู่ในระหว่างการขนส่งจะได้รับการยกเว้นหากมีหลักฐานว่าผ่านการเชืิอดก่อนวันที่ 10 ม.ค. 66 รายละเอียดเพิ่มเติม
https://members.wto.org/crnattachments/2023/SPS/PHL/23_1096_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 8 ก.พ. 66
เบลเยียม




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/145
02 กุมภาพันธ ์ 2566
มาตรการปกติ
สินค้าผลิตภัณฑ์จากสัตว์และพืช
สาระสำคัญ : IAQA (Indonesian Agricultural Quarantine Agency) ให้บริการการออกใบรับรองในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ ทั้งใบรับรองสุขอนามัยพืช (Phytosanitary Certificate) และใบรับรองสุขภาพ (Health Certificate) เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกทางการค้าในระดับสากล โดยเฉพาะอย่างยิ่งสินค้าเกษตรของอินโดนีเซีย และเพื่อพัฒนาคุณภาพและสนับสนุนการให้บริการดิจิทัลแก่สาธารณะ IAQA จึงขอให้มีมาตรการระหว่างกันของประเทศคู่ค้าและอินโดนีเซีย เพื่อรับใบ PC หรือ Health Cer. ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์/ดิจิทัล/สแกน และพัฒนาเทคนิคการตรวจสอบใบรับรอง
วันที่มีผลบังคับใช้ : 1 ก.พ. 66
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/520
12 มกราคม 2566
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกเลี้ยงและสัตว์ปีกป่า และผลิตภัณฑ์จากสัตวืปีก รวมถึง เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ประกาศระงับการนำเข้าชั่วคราวสำหรับสัตว์ปีกเลี้ยงและสัตว์ปีกป่า และผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก รวมถึง เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ฟัก และน้ำเชื้อ ที่มีแหล่งกำเนิดจากเดนมาร์ก เนื่องจากมีรายงานพบการระบาดของโรคไข้หวัดนกสายพันธุ์รุนแรง (HPAI) ในเมือง Lundby, Slagels โดยมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 29 ธ.ค. 65
รายละเอียดเพิ่มเติม

https://members.wto.org/crnattachments/2023/SPS/PHL/23_0392_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 29 ธ.ค. 65
เดนมาร์ก




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/521
12 มกราคม 2566
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกเลี้ยงและสัตว์ปีกป่า และผลิตภัณฑ์จากสัตวืปีก รวมถึง เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ประกาศระงับการนำเข้าชั่วคราวสำหรับสัตว์ปีกเลี้ยงและสัตว์ปีกป่า และผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก รวมถึง เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ ที่มีแหล่งกำเนิดจากไอร์แลนด์ เนื่องจากมีรายงานพบการระบาดของโรคไข้หวัดนกสายพันธุ์รุนแรง (HPAI) ในไอร์แลนด์ โดยมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 29 ธ.ค. 65
รายละเอียดเพิ่มเติม

https://members.wto.org/crnattachments/2023/SPS/PHL/23_0393_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 29 ธ.ค. 65
ไอร์แลนด์




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/517
12 มกราคม 2566
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสุกรเลี้ยงและหมูป่า และผลิตภัณฑ์จากสุกร
สาระสำคัญ : ประกาศระงับการนำเข้าชั่วคราวสำหรับสุกรเลี้ยงและหมูป่า และผลิตภัณฑ์จากสุกร รวมถึง เนื้อสุกร หนังสุกร และน้ำเชื้อสุกร ที่มีแหล่งกำเนิดจากยูเครน มัลโดวาและเช็ก เนื่องจากมีรายงานพบการระบาดของโรคอหิวาต์แอฟริกาในสุกร (ASF) ในประเทศดังกล่าว โดยมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที 29 ธันวาคม 2565
รายละเอียดเพิ่มเติม

https://members.wto.org/crnattachments/2023/SPS/PHL/23_0269_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 29 ธ.ค. 65
เช็ก มัลโดวา ยูเครน




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/522
12 มกราคม 2566
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกเลี้ยงและสัตว์ปีกป่า และผลิตภัณฑ์จากสัตวืปีก รวมถึง เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ประกาศระงับการนำเข้าชั่วคราวสำหรับสัตว์ปีกเลี้ยงและสัตว์ปีกป่า และผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก รวมถึง เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ ที่มีแหล่งกำเนิดจากโปแลนด์ เนื่องจากมีรายงานพบการระบาดของโรคไข้หวัดนกสายพันธุ์รุนแรง (HPAI) ในเมือง Falkowice, Namyslow โดยมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 29 ธ.ค. 65
รายละเอียดเพิ่มเติม

https://members.wto.org/crnattachments/2023/SPS/PHL/23_0394_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 29 ธ.ค. 65
โปแลนด์




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/518
12 มกราคม 2566
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้า สัตว์ปีกเลี้ยงและสัตว์ปีกป่า และผลิตภัณฑ์จากสัตวืปีก รวมถึง เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ประกาศระงับการนำเข้าชั่วคราวสำหรับสัตว์ปีกเลี้ยงและสัตว์ปีกป่า และผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก รวมถึง เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ ที่มีแหล่งกำเนิดจากเอกวาดอร์ มัลโดวา เปรู ไต้หวัน เนื่องจากมีรายงานพบการระบาดของโรคไข้หวัดนกสายพันธุ์รุนแรง (HPAI) ในประเทศดังกล่าว โดยมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที 29 ธันวาคม 2565
รายละเอียดเพิ่มเติม

https://members.wto.org/crnattachments/2023/SPS/PHL/23_0390_00_e.pdf เอกวาดอร์ มัลโดวา เปรู ไต้หวัน - 29 ธ.ค. 65 สุขภาพสัตว์ ฟิลิปปินส์
รายละเอียดเพิ่มเติม

https://members.wto.org/crnattachments/2023/SPS/PHL/23_0390_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 29 ธ.ค. 65
เอกวาดอร์ มัลโดวา เปรู ไต้หวัน




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/519
12 มกราคม 2566
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกเลี้ยงและสัตว์ปีกป่า และผลิตภัณฑ์จากสัตวืปีก รวมถึง เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ประกาศระงับการนำเข้าชั่วคราวสำหรับสัตว์ปีกเลี้ยงและสัตว์ปีกป่า และผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก รวมถึง เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ ที่มีแหล่งกำเนิดจากเช็ก เนื่องจากมีรายงานพบการระบาดของโรคไข้หวัดนกสายพันธุ์รุนแรง (HPAI) ในเมือง Frahelz, Tabor, Jihocesky โดยมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 29 ธ.ค. 65
รายละเอียดเพิ่มเติม

https://members.wto.org/crnattachments/2023/SPS/PHL/23_0391_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 29 ธ.ค. 65
เช็ก




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/438/Add.1
05 มกราคม 2566
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าโปรตีนแปรรูปจากสุกร
สาระสำคัญ : ประกาศยกเลิกระงับการนำเข้าสำหรับโปรตีนแปรรูปจากสุกร (Processed Animal Protein ) ที่มาจากอิตาลี
รายละเอียดเพิ่มเติม

https://members.wto.org/crnattachments/2023/SPS/PHL/23_0236_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 28 ธ.ค. 65
อิตาลี




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/507/Add.1
05 มกราคม 2566
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสุกรเลี้ยงและหมูป่า รวมถึงผลิตภัณฑ์จากสุกร เนื้อสุกร หนังสุกร โปรตีนแปรรูปและน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ประกาศยกเลิกการระงับการนำเข้าผลิตภัณฑ์เนื้อสุกรหมัก (cured pork meat products ) ที่มาจากอิตาลี เนื่องจากสามารถผลิตได้ตามมาตรฐาน ซึ่งอยู่ในระดับการป้องกันที่เหมาะสมและการยับยั้งไวรัสโรคอหิวาต์แอฟริกาในสุกร
รายละเอียดเพิ่มเติม

https://members.wto.org/crnattachments/2023/SPS/PHL/23_0237_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 28 ธ.ค. 65
อิตาลี




สิงคโปร์ G/SPS/N/SGP/78
30 กันยายน 2565
มาตรการปกติ
สินค้า อาหารที่บรรจุพร้อมขาย
สาระสำคัญ : จัดทำการแก้ไขกฎระเบียบเกียวกับการติดฉลากผิตภัณฑ์อาหารบรรจุหีบห่อ มีสาระสำคัญดังนี้ 1. แก้ไข Regulation 5 เรื่องข้อกำหนดทั่วไปของอาหารในด้านการติดฉลาก ดังนี้ 1.1. กำนหนดให้ต้องมีการแจ้งระบุลักษณะ (lot identification) ของแหล่งที่ตั้งของสถานที่ผลิตของอาหาร 1.2 กำหนดให้ต้องมีการแจ้งแนวทางการใช้หรือการการจัดเตรียมอาหารที่เหมาะสม หากอาหารดังกล่าวผ่านการดำเนินการที่ผิดวิธีจะทำให้อาหารดังกล่าวไม่ปลอดภัยหรือไม่สามารถบริโภคได้ 1.3 กำหนดให้ต้องมีระบุถึงประเทศแหล่งที่มาด้วยคำที่เหมาสม (เช่น Country of origin:; Product of; Manufactured in เป็นต้น) และกำหนดให้อาหารบรรจุหีบห่อที่ผลิตในสิงคโปร์ต้องมีการระบุประเทศแหล่งที่มา 1.4 แก้ไขข้อกำหนดในการระบุถึงส่วนประกอบต่างๆ ดังนี้ 1.4.1 กำหนดให้มีการแสดงส่วนผสมภายใต้หัวข้อที่เหมาะสม (เช่น "ส่วนผสม") และส่วนผสมที่จะแสดงตามลำดับจากมากไปน้อยโดยพิจารณาจากน้ำหนักที่บริโภค ณ จุดที่ผลิต 1.4.2 กำหนดให้แสดงถึงการเติมน้ำในข้อความแสดงส่วนผสม ยกเว้นในกรณีที่ a. น้ำเป็นส่วนประกอบของส่วนผสม เช่น น้ำเกลือ น้ำเชื่อม ซุปเหลวที่ใช้ในอาหาร (compound food) และมีการแสดงข้อมูลแล้วในรายการส่วนประกอบ b. น้ำที่ระเหยมาจากในกระบวนการการผลิต c. ผลิตภัณฑ์สุดท้ายที่มีน้ำน้อยกว่าร้อยละ 5 ของปริฒาณทั้งหมด d. น้ำที่ใช้ในการคืนรูป (reconstitute) แก่ส่วนประกอบในรูป dehydrated เมื่อปริมาณน้ำที่เติมไปมีปริมาณเท่ากับน้ำที่นำออกจากส่วนประกอบดังกล่าวในระหว่าการผลิตวัตถุดิบแบบ dehydrated 1.4.3 ยกเว้นการแสดงถึงสารที่ช่วยในการผลิต (processing aids.) 1.4.4 กำหนดให้มีการกำหนดให้แสดงถึงส่วนประกอบที่อาจก่อภูมิแพ้ (allergen) ที่ได้ในกระบวนการทางเทคโนโลยีชีวภาพที่เกี่ยวกับอาหารและวัตถุดิบ (ตามี่กำหนดในRegulation 5(4)(ea)) 1.4.5 เพิ่มเติมรายการคำศัพท์ทั่วไปภายใต้ First Schedule of the Food Regulations และยกเลิก Regulation 6(4) 2. แก้ไข Regulation 6 เพื่อยกเว้นอาหารที่บรรจุในหน่วยบรรจุขนาดเล็กที่มีขนาดพื้นที่ผิวน้อยกว่า 10 ตร.ซม. จากข้อกำหนดด้านฉลากข้างต้น แต่กำหนดให้ข้อมูลดังกล่าวต้องสามารถเข้าถึงได้ผ่านเอกสาร ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ หรือข้อมูลทางเว็ปไซด์ ดังนี้ 2.1 ข้อมูลเกี่ยวกับส่วนประกอบ รวมถึงการแสดงข้อมูลการมีส่วนประกอบของ tartrazine หรือวัตถุดิบอื่นๆ ที่อาจก่อให้เกิดภูมิแพ้ 2.2 สถานที่ผลิต (lot identification) 2.3 ข้อความที่แสดงถึงการมรส่วนประกอบของสาร aspartame 2.4 แนวทางการจัดการอาหารที่เหมาะสม 3. แก้ไข Regulation 9 และ 9A ของกฎระเบียบด้านอาหารเพื่อห้ามการกล่าวอ้าง (Claim) หรือคำแนะนำ (Suggestion) ในส่วนที่เกี่ยวกับ 3.1 อาหารอื่นๆ ไม่ปลอดภัยสำรับบริโภค 3.2 ส่วนประกอบที่ได้รับอนุญาตโดยกฎระเบียบฉบับนี้ไม่ปลอดภัยต่อการบริโภค 3.3 อาหารดังกล่าวไม่มีส่วนกอบของวัตถุเจือปนอาหารที่ไม่ได้รับอนุญาตโดยกฎระเบียบเหล่านี้ 3.4 อาหารดังกล่าวไม่มีส่วนกอบของสารที่ห้ามให้ใช้ในอาหาร 4. เพิ่มเติมกฎระเบียบใหม่ Regulation 12A ระบุถึวหัวข้อการโฆษณาและจัดจำหน่ายผ่านช่องทางออนไลน์ โดยกำหนดให้ต้อมีการแสดงข้อมูลดังต่อไปนี้ในรายการขาย 4.1 ชื่อสินค้า 4.2 ข้อมูลเกี่ยวกับส่วนประกอบ รวมถึงการแสดงข้อมูลการมีส่วนประกอบของ tartrazine หรือวัตถุดิบอื่นๆ ที่อาจก่อให้เกิดภูมิแพ้ 4.3 ปริมาตรโดยสุทธิ และน้ำหนักเมื่หักปริมาณน้ำออก (drained weigh) 4.
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/144
29 กันยายน 2565
มาตรการปกติ
สินค้า อาหารสัตว์น้ำ
สาระสำคัญ : จัดทำกฎระเบียบทางเทคนิคของรัฐเกี่ยวกับอาหารสัตว์น้ำ - ส่วนที่ 2: อาหารเสริม (Feed supplements) โดยกำหนดค่า MLs ของโลหะหนัก (สารหนูอนินทรีย์ (inorganic arsenic; As) สารหนูทั้งหมด (As) แคดเมียม (Cd) ตะกั่ว (Pb) ปรอท (Hg)) จุลินทรีย์ (เชื้อ E. coli และเชื้อ Salmonella spp.) Aflatoxin B1 และ Ethoxyquin ในอาหารเสริม กฎระเบียบฉบับนี้มีผลบังคับใช้กับองค์กรและบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการผลิตและการนำเข้าสารเคมีและผลิตภัณฑ์ชีวภาพสำหรับการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำในเวียดนาม
วันสุดท้ายที่แสดงความเห็น/คัดค้าน : 28 พ.ย. 65
รายละเอียดเพิ่มเติม

https://members.wto.org/crnattachments/2022/SPS/VNM/22_6534_00_x.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : ภายหลังพ้น 6 เดือน นับจากวันประกาศกฎระเบียบ
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/145
29 กันยายน 2565
มาตรการปกติ
สินค้า อาหารสัตว์น้ำ
สาระสำคัญ : จัดทำกฎระเบียบทางเทคนิคของรัฐเกี่ยวกับอาหารสัตว์น้ำ - ส่วนที่ 1: อาหารผสม (Compound feed) โดยกำหนดค่า MLs ของ Aflatoxin B1 Ethoxyquin ตะกั่ว (Pb) แคดเมียม (Cd) ปรอท (Hg), สารหนูอนินทรีย์ (inorganic arsenic; As) และ เชื้อ Salmonella spp. ในอาหารผสม กฎระเบียบฉบับนี้มีผลบังคับใช้กับองค์กรและบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการผลิตและการนำเข้าสารเคมีและผลิตภัณฑ์ชีวภาพสำหรับการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำในเวียดนาม
วันสุดท้ายที่แสดงความเห็น/คัดค้าน : 28 พ.ย. 65
รายละเอียดเพิ่มเติม

https://members.wto.org/crnattachments
วันที่มีผลบังคับใช้ : ภายหลังพ้น 6 เดือน นับจากวันประกาศกฎระเบียบ
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/146
29 กันยายน 2565
มาตรการปกติ
สินค้า อาหารสัตว์น้ำ
สาระสำคัญ : จัดทำกระเบียบด้านอาหารสัตว์น้ำ (National technical regulation on Aquaculture feed) ? ส่วนที่ 3 อาหารสดและอาหารมีชีวิต ระบุถึงค่าสูงสุด (ML) ของเชื้อก่อโรค Vibrio Parahaemolyticus และสารตะกั่วและแคดเมี่ยมที่พบได้ในอาหารสดและอาหารมีชีวิต กฎระเบียบฉบับนี้จะมีผลต่อหน่วยงานหรืิอบุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้องกบการผลิตและนำเข้าอาหารสดและอาหารมีชีวิตที่ใช้ในการเลี้ยงสัตว์น้ำมายังเวียดนาม
วันสุดท้ายที่แสดงความเห็น/คัดค้าน : 28 พ.ย. 65
รายละเอียดเพิ่มเติม

https://members.wto.org/crnattachments/2022/SPS/VNM/22_6537_00_x.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : ภายหลังพ้น 6 เดือน นับจากวันประกาศกฎระเบียบ
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/147
29 กันยายน 2565
มาตรการปกติ
สินค้า ผลิตภัณฑ์รักษาสิ่งแวดล้อมในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
สาระสำคัญ : จัดทำกฎระเบียบทางเทคนิคของรัฐเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์รักษาสิ่งแวดล้อมในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ - ส่วนที่ 1: สารเคมีและผลิตภัณฑ์ชีวภาพ โดยกำหนดค่า MLs ของสารหนูอนินทรีย์ (inorganic arsenic; As) ตะกั่ว (Pb) เชื้อ E. coli เชื้อ Salmonella spp. และปริมาณที่น้อยที่สุดของสารเคมีและผลิตภัณฑ์ชีวภาพ กฎระเบียบฉบับนี้มีผลบังคับใช้กับองค์กรและบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการผลิตและการนำเข้าสารเคมีและผลิตภัณฑ์ชีวภาพสำหรับการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำในเวียดนาม
วันสุดท้ายที่แสดงความเห็น/คัดค้าน : 28 พ.ย. 65
รายละเอียดเพิ่มเติม

https://members.wto.org/crnattachments/2022/SPS/VNM/22_6538_00_x.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : ภายหลังพ้น 6 เดือน นับจากวันประกาศกฎระเบียบ
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/503/Add.1
22 กันยายน 2565
มาตรการปกติ
สินค้า สัตว์ปีกเลี้ยงและสัตว์ปีกป่าและผลิตภัณฑ์รวมทั้งเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ประกาศยกเลิกระงับการนำเข้าสำหรับสัตว์ปีกเลี้ยงและสัตว์ปีกป่าและผลิตภัณฑ์รวมทั้งเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อที่มีแหล่งกำเนิดมาจากประเทศฮังการี มีผลบังใช้ตั้งแต่วันที่ 20 ก.ย. 65
รายละเอียดเพิ่มเติม

https://members.wto.org/crnattachments/2022/SPS/PHL/22_6432_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 20 ก.ย. 65
ฮังการี




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/143
15 กันยายน 2565
มาตรการปกติ
สินค้า ผลิตภัณฑ์อารักขาพืช
สาระสำคัญ : จัดทำเอกสารแจ้งเวียนเกี่ยวกับรายการผลิตภัณฑ์อารักขาพืชที่ได้รับอนุญาตให้ใช้และรายการผลิตภัณฑ์อารักขาพืชที่ไม่ได้รับอนุญาตให้ใช้ในเวียดนาม ประจำปี 2022 ประกอบด้วยเนื้อหา 3 ส่วน คือ 1. ประกาศแจ้งเวียน (Circular) 2. ภาคผนวกที่ 1 (รายการผลิตภัณฑ์อารักขาพืชที่ได้รับอนุญาตให้ใช้ในเวียดนาม) 3. ภาคผนวกที่ 2 (รายการผลิตภัณฑ์อารักขาพืชที่ไม่ได้รับอนุญาตให้ใช้ในเวียดนาม)
วันสุดท้ายที่แสดงความเห็น/คัดค้าน : 14 พ.ย. 65
รายละเอียดเพิ่มเติม

https://members.wto.org/crnattachments/2022/SPS/VNM/22_6109_00_x.pdf https://members.wto.org/crnattachments/2022/SPS/VNM/22_6109_01_x.pdf https://members.wto.org/crnattachments/2022/SPS/VNM/22_6109_02_x.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 7 พ.ย. 65
ประเทศคู่ค้า




สิงคโปร์ G/SPS/N/SGP/77
29 สิงหาคม 2565
มาตรการปกติ
สินค้า สัตว์ปีกและผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก
สาระสำคัญ : ทบทวนเงื่อนไขด้านการสัตวแพทย์สำหรับการนำเข้าสัตว์ปีกและผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีกเพื่ออำนวยความสะดวกสำหรับการนำเข้าสัตว์ปีกแช่เย็นมายังสิงคโปร์ โดยปรับแก้เงื่อนไขอายุการเก็บรักษา (shelf-life) ที่น้อยที่สุดเป็น 10 วัน จากเดิม 14 วัน รวมทั้งยกเลิกข้อกำหนดเกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์เฉพาะ เช่น Modified Atmospheric Packaging เพื่อเพิ่มความยืดหยุ่นแก่โรงงานในการใช้เทคโนโลยีเพื่อดำเนินการให้เป็นไปตามข้อกำหนดของอายุการเก็บรักษา ทั้งนี้ ไม่มีการปรับแก้เงื่อนไขด้านการสัตวแพทย์อื่นๆ และกระบวนการให้การรับรอง (accreditation) สำหรับการนำเข้าสัตว์ปีกและสินค้าจากสัตว์ปีก เช่น ประเทศที่ประสงค์จะส่งออกสัตว์ปีกแช่แข็งมายังสิงคโปร์ต้องถูกรับรองเป็นสัตว์ปีกแช่แข็ง พร้อม track record ในการส่งออกมายังสิงคโปร์ สถานประกอบการที่สนใจที่จะส่งออกสัตว์ปีกแช่เย็นมายังสิงคโปร์ต้องแสดงข้อมูลการศึกษาอายุการเก็บรักษาและบรรจุภัณฑ์ เพื่อการตรวจประเมิน โดยสามารถศึกษาบทสรุปของการแก้ไขเงื่อนไขด้านการสัตวแพทย์สำหรับการนำเข้าสัตว์ปีกและผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก เพิ่มเติมได้จาก https://www.sfa.gov.sg/docs/default-source/tools-and-resources/resources-for-businesses/veterinary-import-conditions-poultry-and-poultry-pdt.pdf
รายละเอียดเพิ่มเติม

https://members.wto.org/crnattachments/2022/SPS/SGP/22_5851_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 29 ส.ค. 65
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/142
18 สิงหาคม 2565
มาตรการปกติ
สินค้า ผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ (health supplements) แะผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร (dietary supplements)
สาระสำคัญ : จัดทำกฎระเบียบเพื่อประกาศใช้กฎระเบียบเชิงเทคนิคแห่งชาติ เรื่อง ปริมาณสูงสุด (maximum level) ของสารปนเปื้อนในผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ (health supplements) มีสาระสำคัญ ดังนี้
1. กำหนดการจัดจำแนกและคำจำกัดความของผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ (health supplements) และผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร (dietary supplements)
2. จัดทำเกณฑ์ด้านความปลอดภัยอาหารสำหรับผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ (health supplements) และผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร (dietary supplements)
3. กำหนดวิธีการสุ่มตัวอย่างและวิธีการทดสอบสำหรับเกณฑ์ความปลอดภัยอาหาร
วันสุดท้ายที่แสดงความเห็น/คัดค้าน : 17 ต.ค. 65
รายละเอียดเพิ่มเติม

https://members.wto.org/crnattachments/2022/SPS/VNM/22_5611_00_x.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 15 ธ.ค. 65
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/502/Add.1
16 สิงหาคม 2565
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้า สัตว์ปีกและผลิตภัณฑ์สัตว์ปีก
สาระสำคัญ : ยกลิกมาตรการระงับการนำเข้าชั่วคราวสัตว์ปีกและผลิตภัณฑ์สัตว์ปีก รวมถึงเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่และน้ำเชื้อสัตว์ปีกจากญี่ปุ่น
รายละเอียดเพิ่มเติม

https://members.wto.org/crnattachments/2022/SPS/PHL/22_5603_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ญี่ปุ่น




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/144
08 สิงหาคม 2565
มาตรการปกติ
สินค้า อาหารสด (Fresh food)
สาระสำคัญ : ประกาศกฎกระทรวงเกษตรฉบับที่ 12 ปี 2565 เกี่ยวกับการควบคุมการปนเปื้อนสารกัมมันตภาพรังสีในอาหารสดจากพืชและสัตว์ที่นำเข้ามายังอินโดนีเซีย มีสาระสำคัญได้แก่ ส่วนที่ 1 ข้อกำหนดการนำเข้า
1. อาหารสดจากพืชและสัตว์ที่นำเข้าจากประเทศหรือพื้นที่ที่มีการประกาศให้มีสถานการณ์ฉุกเฉินด้านกัมมันตภาพรังสีจะต้องมีการแนบใบรับรองการปลอดกัมมันตภาพรังสีของสินค้าดังกล่าว
2. ข้อมูลของพื้นที่หรือประเทศที่มีการประกาศให้มีสถานการณ์ฉุกเฉินด้านกัมมันตภาพรังสีจะอ้างอิงข้อมูลจาก
a. หน่วยรัฐงานผู้รับผิดชอบในประเทศที่มีการประกาศสถานะดังกล่าว
b. หน่วยงานระหว่างประเทศที่ทำหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง
3. ใบรับรองการปลอดกัมมันตภาพรังสีของสินค้าสามารถมาในรูปแบบ ดังนี้
a. จดหมายชี้แจงที่ออกโดยหน่วยงานภาครัฐผู้รับผิดชอบในประเทศแหล่งที่มา
b. ใบรับรองผลการวิเคราะห์ที่ออกโดยห้องปฏิบัติการที่ได้การรับรองในประเทศแหล่งที่มา
4. ใบรับรองการปลอดกัมมันตภาพรังสีตามที่ปรากฎในข้อ 3.a จะต้องมีส่วนของข้อความระบุว่าสินค้าดังกล่าวพบว่ามีปริมาณกัมมันตภาพรังสีที่เกินกว่าที่กำหนดโดยกฎระเบียบฉบับนี้ "FFAO and/or FFPO is/are not contaminated by radioactive contaminants above the regulatory maximum limit"
5. ใบรับรองการปลอดกัมมันตภาพรังสีตามที่ปรากฎในข้อ 3.b จะต้องแสดงผลการทดสอบปริมาณกัมมันตภาพรังสีที่มีในอาหารดังกล่าว และจะต้องไม่เกินกว่าที่กฎหมายกำหนด
6. ปริมาณกัมมันภาพรังสีปนเปื้อนในอาหารจากพืชและสัตว์ที่กำหนดไว้เป็นค่าสูงสุด
ส่วนที่ 2 การควบคุมการนำเข้า
1. การดำเนินการด้านความปลอดภัยอาหารสำหรับผลิตภัณฑ์อาหารที่นำเข้าจากประเทศหรือพื้นที่ที่มีการประกาศให้มีสถานการณ์ฉุกเฉินด้านกัมมันตภาพรังสี จะถูกดำเนินการร่วมไปกับมาตรการกักกัน
2. เจ้าหน้าที่กักกันจะเป็นผู้ดำเนินการตรวจสอบเอกสาร ณ จุดผ่านแดน
3. การดำเนินการตามเอกสารขั้นต่อไปสามารถแบ่งได้เป็น 2 กรณี ดังนี้
a. ในกรณีที่สินค้าดังกล่าวมีการแนบใบรับรองการปลอดการปนเปื้อนกัมมันตภาพรังสีจะถูกดำเนินการตามมาตรการกักกันสินค้าและความปลอดภัยอาหารตามกฎระเบียบ
b. ในกรณีที่สินค้าดังกล่าวไม่มีการแนบใบรับรองการปลอดการปนเปื้อนกัมมันตภาพรังสีจะมีการดำเนินการสุ่มตัวอย่างและทดสอบหาค่าการปนเปื้อนกัมมันตภาพรังสีในสินค้า
4. ในระหว่างที่มีการดำเนินการตรวจสอบค่าการปนเปื้อนกัมมันตภาพรังสี สินค้าดังกล่าวจะอยู่ภายใต้การควบคุมดูแลโดยเจ้าหน้าที่กักกัน
5. และจากในข้อ 3.b เมื่อมีการแสดงผลการทดสอบสินค้านำเข้าจะถูกดำเนินการตามกรณีดังนี้
กรณีที่ 2 ค่าการปนเปื้อนกัมตภาพรังสีมีค่าสูงกว่าที่กฎหมายกำหนด สินค้าจะถูกปฏิเสธการนำเข้า
กรณีที่ 2 ค่าการปนเปื้อนกัมตภาพรังสีมีค่าต่ำกว่าที่กฎหมายกำหนด สินค้าจะถูกดำเนินการในตามาตรการการกักกันสินค้าและความปลอดภัยอาหารตามกฎระเบียบต่อไป
ส่วนที่ 3 การเฝ้าระวัง
1. การดำเนินการเฝ้าระวังเพื่อตรวจสอบว่าประเทศแหล่งที่มาของสินค้ามีการปฏิบัติตามข้อกำหนด โดยพิจารณาจาก
a. ประวัติการปฏิบัติตามข้อกำหนด (the track record of compliance)
b. ลักษณะและธรรมชาติของผลิตภัณฑ์อาหารสดจากพืชและสัตว์
c. ความถี่และปริมาณการนำเข้า
d. ข้อมูลการไม่ปฏิบัติตามกฎระเบียบของประเทศอื่นๆ
2. การดำเนินการเฝ้าระวังที่เกี่ยวกับการสุ่มตัวอย่างและการทดสอบทางห้องปฏิบัติการจะดำเนินการโดยหน่วยงาน Agricultural Quarantine Service Off
วันที่มีผลบังคับใช้ : 26 ก.ค. 65
ประเทศคู่ค้า




สิงคโปร์ G/SPS/N/SGP/76/Add.1
04 สิงหาคม 2565
มาตรการปกติ
สินค้า เนื้อสัตว์
สาระสำคัญ : ประกาศบังคับใช้กฎระเบียบ Food (Amendment No.X) Regulation 2022 และเงื่อนไขด้านสุขภาพสัตว์ (Veterinary condition) สำหรับการนำเข้าเนื้อสัตว์ปีกและผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก เนื้อสุกรและผลิตภัณฑ์เนื้อสุกร และเนื้อโคและผลิตภัณฑ์เนื้อโค โดยมีผลบังคับใช้วันที่ 31 ก.ค. 65
รายละเอียดเพิ่มเติม

https://www.sfa.gov.sg/food-import-export/commercial-food-imports
วันที่มีผลบังคับใช้ : 31 ก.ค. 65
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/141
29 กรกฎาคม 2565
มาตรการปกติ
สินค้า อาหารสัตว์
สาระสำคัญ : ปรับปรุงกฎระเบียบ Circular No. 21/2019/TT-BNNPTNT ในรายละเอียด ดังนี้ ? การติดฉลากอาหารสัตว์ที่มีส่วนประกอบของยาปฏิชีวนะและยากันบิด (coccidiostats) ? แบบฟอร์มรายงานการผลิตและการตรวจสอบคุณภาพอาหารสัตว์ ? การแสดงสัญลักษณ์ในฉลากสำหรับอาหารสัตว์ที่จำหน่ายเพื่อการค้าให้สอดคล้องตามกฎระเบียบทางเทคนิค ? กำหนดส่วนประกอบที่ต้องแสดงในมาตรฐานเอกชน (private standard) ของผลิตภัณฑ์อาหารสัตว์ ? วัตถุดิบที่อนุญาตให้ใช้ในอาหารสัตว์ของเวียดนาม
วันสุดท้ายที่แสดงความเห็น/คัดค้าน : 27 ก.ย. 65
รายละเอียดเพิ่มเติม

https://members.wto.org/crnattachments/2022/SPS/VNM/22_5011_00_x.pdf https://members.wto.org/crnattachments/2022/SPS/VNM/22_5011_01_x.pdf https://members.wto.org/crnattachments/2022/SPS/VNM/22_5011_02_x.pdf https://members.wto.org/crnattachments/2022/SPS/VNM/22_5011_03_x.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 14 ม.ค. 66
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/140
29 กรกฎาคม 2565
มาตรการปกติ
สินค้า อาหาร
สาระสำคัญ : ประกาศเกี่ยวกับการปรับปรุง แก้ไข และยกเลิกกฎระเบียบเกี่ยวกับความปลอดภัยอาหาร ดังนี้ - Circular No. 24/2019/TT-BYT dated 30 August 2019 of the Minister of Health regulating the management and usage of food additives; - Circular No. 18/2019/TT-BYT dated 17 July 2019 of the Minister of Health guiding Good Manufacturing Practices (GMP) in the production and trading of dietary supplements; - Circular No. 48/2015/TT-BYT dated 1 December 2015 of the Minister of Health stipulating food safety inspection activities in food production and trading under the management of the Ministry of Health; - Circular No. 43/2014/TT-BYT dated 24 November 2014 of the Minister of Health regulating the management of functional foods; - Decision No. 46/2007/QD-BYT of Minister of Health regulating the maximum limit of contamination and chemicals in food; - Decision No. 38/2008/QD-BYT dated 11 December 2008 of the Minister of Health promulgating on Prescribing the maximum limit of melamine cross-contamination in food; - Circular No. 14/2011/TT-BYT dated 1 April 2011 of the Minister of Health on guidelines for taking samples for inspection and examination of food quality, hygiene and safety
วันสุดท้ายที่แสดงความเห็น/คัดค้าน : 27 ก.ย. 65
รายละเอียดเพิ่มเติม

https://members.wto.org/crnattachments/2022/SPS/VNM/22_5010_00_x.pdf https://members.wto.org/crnattachments/2022/SPS/VNM/22_5010_01_x.pdf https://members.wto.org/crnattachments/2022/SPS/VNM/22_5010_02_x.pdf https://members.wto.org/crnattachments/2022/SPS/VNM/22_5010_03_x.pdf https://members.wto.org/crnattachments/2022/SPS/VNM/22_5010_04_x.pdf https://members.wto.org/crnattachments/2022/SPS/VNM/22_5010_05_x.pdf https://members.wto.org/crnattachments/2022/SPS/VNM/22_5010_06_x.pdf https://members.wto.org/crnattachments/2022/SPS/VNM/22_5010_07_x.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 15 ก.พ. 66
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/504/Add.1
05 กรกฎาคม 2565
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้า นกเลี้ยงและนกป่ามีชีวิต และผลิตภัณฑ์ของนกเลี้ยงและนกป่า รวมถึงเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ประกาศ Memorandum Order No. 52 Series of 2022 ยกเลิกมาตรการระงับการนำเข้าชั่วคราวสำหรับนกเลี้ยงและนกป่ามีชีวิต และผลิตภัณฑ์ของนกเลี้ยงและนกป่า รวมถึงเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ ที่มีแหล่งกำเนิดจากเบลเยียม
รายละเอียดเพิ่มเติม

https://members.wto.org/crnattachments/2022/SPS/PHL/22_4521_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 30 มิ.ย. 65
เบลเยียม




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/491/Add.1
29 มิถุนายน 2565
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกมีชีวิตและผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก
สาระสำคัญ : ยกเลิกการระงับการนำเข้าสัตว์ปีกมีชีวิตและผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก รวมถึงเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อสัตว์ปีกจากสาธารณรัฐเช็ก
รายละเอียดเพิ่มเติม

https://members.wto.org/crnattachments/2022/SPS/PHL/22_4383_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
สาธารณรัฐเช็ก




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/495/Add.1
28 มิถุนายน 2565
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีก และผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก
สาระสำคัญ : ประกาศยกเลิกการระงับการนำเข้าสัตว์ปีก และผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก รวมถึงเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อสัตว์ปีกที่มีแหล่งที่มาจากเดนมาร์ก
รายละเอียดเพิ่มเติม

https://members.wto.org/crnattachments/2022/SPS/PHL/22_4352_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 24 มิ.ย. 65
เดนมาร์ก




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/513
22 มิถุนายน 2565
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ที่มีความเสี่ยงต่อโรคปากและเท้าเปื่อย (FMD) และผลิตภัณฑ์จากสัตว์ดังกล่าว
สาระสำคัญ : ประกาศระงับการนำเข้าสัตว์ที่มีความเสี่ยงต่อโรคปากและเท้าเปื่อย (FMD) และผลิตภัณฑ์จากสัตว์ดังกล่าวที่มาจากอินโดนีเซีย
รายละเอียดเพิ่มเติม

https://members.wto.org/crnattachments/2022/SPS/PHL/22_4219_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 17 มิ.ย. 65
อินโดนีเซีย




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/143
17 มิถุนายน 2565
มาตรการปกติ
สินค้าผลิตภัณฑ์ด้านเกษตรและอาหาร
สาระสำคัญ : จัดทำกฎระเบียบเพื่อกำหนดกรอบเวลาสำหรับการดำเนินการขอขึ้นทะเบียนและการขออนุญาตเกี่ยวกับการดำเนินกิจการและผลิตภัณฑ์ด้านเกษตรและอาหาร
รายละเอียดเพิ่มเติม

https://members.wto.org/crnattachments/2022/SPS/IDN/22_4097_00_x.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 1 เม.ย. 64
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/139
05 พฤษภาคม 2565
มาตรการปกติ
สินค้า สัตว์บกและผลิตภัณฑ์สัตว์บก
สาระสำคัญ : จัดทำการแก้ไขและเพิ่มเติมเกี่่ยวกับข้อกำหนด้านการตรวจสอบและกักกันสัตว์บกและผลิตภัณฑ์สัตว์บก
รายละเอียดเพิ่มเติม

https://members.wto.org/crnattachments/2022/SPS/VNM/22_3226_00_x.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 14 ส.ค. 65
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/138
25 เมษายน 2565
มาตรการปกติ
สินค้าสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำ
สาระสำคัญ : จัดทำร่างกฎระเบียบแก้ไขและเพิ่มเติมแนวทางปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับการกักกันสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำ
รายละเอียดเพิ่มเติม

https://members.wto.org/crnattachments/2022/SPS/VNM/22_2943_00_x.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 14 ส.ค. 65
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/499/Add.1
08 เมษายน 2565
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าโคกระบือมีชีวิต เนื้อและผลิตภัณฑ์จากเนื้อโคกระบือ
สาระสำคัญ : ประกาศ Memorandum Order No. 26 ประจำปี 2022 เกี่ยวกับการยกเลิกการระงับการนำเข้าโคกระบือมีชีวิต เนื้อและผลิตภัณฑ์จากเนื้อโคกระบือที่มาจากสหราชอาณาจักร มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 23 มี.ค. 65
รายละเอียดเพิ่มเติม

https://members.wto.org/crnattachments/2022/SPS/PHL/22_2664_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 23 มี.ค. 65
สหราชอาณาจักร




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/512
10 มีนาคม 2565
มาตรการปกติ
สินค้า พืชดัดแปรพันธุกรรมและผลิตภัณฑ์จากพืชที่ได้จากการใช้เทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหม่ (Modern biotechnology)
สาระสำคัญ : ประกาศกฎระเบียบ DOST-DA-DENR-DOH-DILG Joint Department Circular No. 1 ปี 2021 เกี่ยวกับ กฎเกณฑ์และกฎระเบียบสำหรับการวิจัยและการพัฒนา การจัดการและการใช้งาน การเคลื่อนย้ายผ่านเขตแดน การปล่อยสู่ธรรมชาติ และการจัดการพืชดัดแปรพันธุกรรมและผลิตภัณฑ์จากพืชที่ได้จากการใช้เทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหม่ โดยกฎระเบียบดังกล่าวเป็นการแก้ไขจากกฎระเบียบ DOST-DA-DENR-DOH-DILG Joint Department Circular (JDC) No.1 ปี 2016 มีสาระสำคัญ ดังนี้
1. จัดตั้ง Joint Assessment Group (JAG) ที่มีหน้าที่ในการประเมินการยื่นขออนุญาตด้านความปลอดภัยทางชีวภาพและให้คำแนะนำการตรวจสอบการยื่นขออนุญาตด้านความปลอดภัยทางชีวภาพ
2. ระบุกลไกการทำงานของ the Bureau of Plant Industry (BPI) ในกระบวนการยื่นขออนุญาตด้านความปลอดภัยทางชีวภาพ
3. ปรับลดระยะเวลาสำหรับขั้นตอนปฏิบัติสำหรับการยื่นขออนุญาตความปลอดภัยทางชีวภาพเป็น 40 วันทำการ จากเดิมระบุที่ 85 วันทำการ เพื่อให้สอดคล้องกับกฎหมาย the Ease of Doing Business (EODB)
4. อนุญาตให้ใช้ใบขออนุญาตสำหรับสินค้าที่อยู่ภายใต้การควบคุมที่พัฒนาในประเทศอื่นๆ สามารถยื่นได้โดยตรงเพื่อขออนุญาตความปลอดภัยทางชีวภาพสำหรับภาคสนาม (Field Trial) หาก BPI พิจารณาแล้วเห็นว่า ชุดข้อมูลดังกล่าวสามารถใช้ได้กับการตั้งค่าในท้องถิ่น
5. กำหนดให้ผู้ยื่นขออนุญาตต้องประกาศสำเนาเอกสาร the approved Public Information Sheet (PIS) ในหนังสือพิมพ์เพื่อเป็นการแจ้งเวียนแบบปกติ และประกาศในเว็บไซต์ทางการของประเทศผู้ยื่นขอและของ BPI
6. กำหนดให้ใบอนุญาตความปลอดภัยทางชีวภาพสำหรับชิ้นส่วนขยายพันธุ์เพื่อการค้าและการใช้งานโดยตรงเพื่อเป็นอาหารและอาหารสัตว์ หรือเพื่อการแปรรูปมีผลใช้อนุญาต เว้นแต่จะถูกเพิกถอนสำหรับ:
6.1 การให้ข้อมูลเท็จในใบขออนุญาต
6.2 มีข้อมูลใหม่ที่เกี่ยวข้องและสำคัญว่า สินค้าที่ถูกควบคุมมีความเสี่ยงสูงต่อสุขภาพมนุษย์และสิ่งแวดล้อม
6.3 ไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไขการอนุญาต
6.4 เหตุผลอื่นๆ ที่หน่วยงานกำกับดูแลเห็นถึงความจำเป็นในการปกป้องสุขภาพมนุษย์และสิ่งแวดล้อม
7. ข้อกำหนดระบุว่า พืชที่ผลิตโดยวิธีการผสมพันธุ์แบบธรรมดา (conventional breeding) ของพ่อ-แม่พันธุ์ที่เป็นพืชดัดแปรพันธุกรรม และผลิตภัณฑ์จากพืชดังกล่าว ไม่ถือว่าเป็นสิ่งใหม่
8. ค่าธรรมเนียมครอบคลุมถึงค่าใช้จ่ายการของการ re-evaluation ตามการตัดสินใจของผู้ยื่นขออนุญาต
9. ประกาศกำหนดให้สินค้าที่อยู่ภายใต้การควบคุมของการอนุญาตด้านความปลอดภัยทางชีวภาพทั้งฉบับเริ่มแรกและฉบับปรับปรุงใหม่ตามเอกสารปี 2016 สำหรับชิ้นส่วนขยายพันธุ์เพื่การค้าและการใช้งานโดยตรง จะยังคงมีผลบังคับใช้จนกว่าจะมีการเพิกถอนเป็นอย่างอื่น ภายใต้เงื่อนใน Section 15.J และ Section 18.J
รายละเอียดเพิ่มเติม

https://members.wto.org/crnattachments/2022/SPS/PHL/22_2022_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : ภายหลังพ้น 15 วัน นับจากวันประกาศ
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/510
08 มีนาคม 2565
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกและผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก สัตว์ปีกมีชีวิตชนิด Gallus domesticus เป็ด ห่าน ไก่งวง และ ไก่ต๊อก HS0207: เนื้อสัตว์ปีกและซากที่กินได้ของสัตว์ปีกชนิด Gallus domesticus เป็ด ห่าน ไก่งวง และ ไก่ต๊อกทั้งสด
สาระสำคัญ : ประกาศระงับการนำเข้าชั่วคราวสัตว์ปีกเลี้ยงและสัตว์ปีกป่า รวมถึงผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อที่มีแหล่งกำเนิดมาจากอิตาลี ตามคำสั่งกระทรวงเกษตร ฉบับที่ 23 ประจำปี ค.ศ. 2022 ลงวันที่ 7 มี.ค. 65 เนื่องจากพบการระบาดของโรคไข้หวัดนกสายพันธุ์รุนแรง (H5N1) ในพื้นที่ Ronco all Adige, Verona ประเทศอิตาลี
รายละเอียดเพิ่มเติม

https://members.wto.org/crnattachments/2022/SPS/PHL/22_2008_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 7 มี.ค. 65
อิตาลี




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/511
08 มีนาคม 2565
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกและผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก สัตว์ปีกมีชีวิตชนิด Gallus domesticus เป็ด ห่าน ไก่งวง และ ไก่ต๊อก HS0207: เนื้อสัตว์ปีกและซากที่กินได้ของสัตว์ปีกชนิด Gallus domesticus เป็ด ห่าน ไก่งวง และ ไก่ต๊อกทั้งสด
สาระสำคัญ : ประกาศระงับการนำเข้าชั่วคราวสัตว์ปีกเลี้ยงและสัตว์ปีกป่า รวมถึงผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อที่มีแหล่งกำเนิดมาจาก Western Nova Scotia ประเทศแคนาดา ตามคำสั่งกระทรวงเกษตร ฉบับที่ 24 ประจำปี ค.ศ. 2022 ลงวันที่ 7 มี.ค. 65 เนื่องจากพบการระบาดของโรคไข้หวัดนกสายพันธุ์รุนแรง (H5N1) ในพื้นที่ Western Nova Scotia ประเทศแคนาดา
รายละเอียดเพิ่มเติม

https://members.wto.org/crnattachments/2022/SPS/PHL/22_2009_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 7 มี.ค. 65
แคนาดา




สิงคโปร์ G/SPS/N/SGP/76
07 กุมภาพันธ ์ 2565
มาตรการปกติ
สินค้าเนื้อสัตว์
สาระสำคัญ : จัดทำการแก้ไขกฎระเบียบด้านอาหารของประเทศ มีสาระสำคัญดังนี้
1. เพิ่มคำจำกัดความของสารลดปริมาณจุลินทรีย์ก่อโรค (Pathogen Reduction Treatments (PRTs))
2. เพิ่มรายการสารที่ใช้ในการลดปริมาณจุลินทรีย์ก่อโรค (Pathogen Reduction Treatments (PRTs)) 21 ชนิดที่อนุญาตให้ใช้ในเนื้อสัตว์ พร้อมกำหนดค่าสารตกค้างสูงสุด (Maximum level)
3. กำหนดเงื่อนไขการใช้สาร PRTs ดังนี้
3.1 สาร PRTs สามารถใช้ได้ในเนื้อสัตว์ที่ไม่ผ่านการหมักเกลือ, หมักซอส (Marinate), ผ่านกระบวนการเก็บรักษาอื่นๆ หรือผ่านกระบวนการแปรรูป
3.2 กำหนดให้สถานประกอบการในประเทศที่ได้ใบรับรองภายใต้ พรบ. Wholesome Meat and Fish Act (โรงฆ่าสัตว์ และ โรงงานแปรรูป) จึงสามารถใช้สาร PRTs ได้
3.3 สามารถใช้สาร PRTs ในเนื้อสัตว์ที่ผ่านกระบวนการล้าง (rinse, dip, spray or wash)
3.4 กำหนดให้ไม่สามารถใช้สาร PRTs ในการทำให้เนื้อสัตว์ที่มีการปนเปื้อน (Contaminated meat) สามารถบริโภคได้
3.5 ประวัติการใช้สาร PRTs ต้องถูกบันทึกและจัดเก็บไว้อย่างน้อ 6 เดือน โดยระบุข้อมูลดังนี้ ชนิดและปริมาณสารที่ใช้ ขั้นตอนที่มีการใช้สาร และวันที่ใช้
โดยที่จะมีการแก้ไขกฎระเบียบเกี่ยวกับเงื่อนไขการนำเข้าเนื้อสัตว์ชนิดต่างๆ ของประเทศ (Veterinary Conditions for Importation of Poultry and Poultry Products, Veterinary Conditions for Importation of Pork and Pork Products, as well as Veterinary Conditions for Importation of Beef and Beef Products) เพื่ออนุญาตให้ใช้สาร PRTs สอดคล้องตามที่กำหนดในกฎระเบียบข้างต้น
รายละเอียดเพิ่มเติม

http://www.sfa.gov.sg/legislation
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/508
03 กุมภาพันธ ์ 2565
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกและผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก สัตว์ปีกมีชีวิตชนิด Gallus domesticus เป็ด ห่าน ไก่งวง และ ไก่ต๊อก HS0207: เนื้อสัตว์ปีกและซากที่กินได้ของสัตว์ปีกชนิด Gallus domesticus เป็ด ห่าน ไก่งวง และ ไก่ต๊อกทั้งสด แช่เย็น แช่แข็ง HS0407: ไข่สัตว์ปีก ทั้งเก็บไว้ไม่ให้เสีย หรือปรุงสุก HS04071 : ไข่เชื้อสำหรับฟัก HS04072 : ไข่สดอื่นๆ HS040790 และ HS 05119
สาระสำคัญ : ประกาศระงับการนำเข้าชั่วคราวสัตว์ปีกเลี้ยงและสัตว์ปีกป่ามีชีวิต รวมถึงผลิตภัณฑ์ ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อที่มีแหล่งกำเนิดมาจากโครเอเชีย เนื่องจากพบการระบาดของโรคไข้หวัดนกสายพันธุ์รุนแรง (H5N1) ตามคำสั่งกระทรวงเกษตร ฉบับที่ 6 ประจำปี ค.ศ. 2022 ลงวันที่ 31 ม.ค. 65
รายละเอียดเพิ่มเติม

https://members.wto.org/crnattachments/2022/SPS/PHL/22_1318_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 31 ม.ค. 65
โครเอเชีย




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/509
03 กุมภาพันธ ์ 2565
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสุกรเลี้ยงและหมูป่า รวมถึงผลิตภัณฑ์จากสุกร เนื้อสุกร หนังสุกร โปรตีนแปรรูปและน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ประกาศระงับการนำเข้าชั่วคราวสุกรเลี้ยงและหมูป่า รวมถึงผลิตภัณฑ์จากสุกร เนื้อสุกร หนังสุกร โปรตีนแปรรูปและน้ำเชื้อที่มีแหล่งกำเนิดมาจากไทย เนื่องจากพบการระบาดของโรคอหิวาต์แอฟริกาในสุกร ตามคำสั่งกระทรวงเกษตร ฉบับที่ 9 ประจำปี 2022 ลงวันที่ 31 ม.ค. 65
รายละเอียดเพิ่มเติม

https://members.wto.org/crnattachments/2022/SPS/PHL/22_1320_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 31 ม.ค. 65
ไทย




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/142
03 กุมภาพันธ ์ 2565
มาตรการปกติ
สินค้าอาหารแปรรูป
สาระสำคัญ : จัดร่างกฎระเบียบทำการปรับปรุงกฎระเบียบกำหนดค่าสารตกค้าง (ML (Maximum Level)) ของโลหนะหนักในอาหารแปรรูป
รายละเอียดเพิ่มเติม

https://members.wto.org/crnattachments/2022/SPS/IDN/22_1332_00_x.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/507
03 กุมภาพันธ ์ 2565
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสุกรเลี้ยงและหมูป่า รวมถึงผลิตภัณฑ์จากสุกร เนื้อสุกร หนังสุกร โปรตีนแปรรูปและน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ประกาศระงับการนำเข้าชั่วคราวสุกรเลี้ยงและหมูป่า รวมถึงผลิตภัณฑ์จากสุกร เนื้อสุกร หนังสุกร โปรตีนแปรรูปและน้ำเชื้อที่มีแหล่งกำเนิดมาจากอิตาลี เนื่องจากพบการระบาดของโรคอหิวาต์แอฟริกาในสุกร ตามคำสั่งกระทรวงเกษตร ฉบับที่ 5 ประจำปี ค.ศ. 2022 ลงวันที่ 31 ม.ค. 65
รายละเอียดเพิ่มเติม

https://members.wto.org/crnattachments/2022/SPS/PHL/22_1315_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
อิตาลี




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/501/Add.1
28 มกราคม 2565
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าโคกระบือมีชีวิต เนื้อและผลิตภัณฑ์แปรรูปที่ได้จากโคกระบือ
สาระสำคัญ : ประกาศยกเลิกระงับนำเข้าโคกระบือมีชีวิต เนื้อโคกระบือ ผลิตภัณฑ์โคกระบือ และโปรตีนที่แปรรูปจากโคกระบือที่มาจากเยอรมนี ลงวันที่ 29 ม.ค. 65
https://members.wto.org/crnattachments/2022/SPS/PHL/22_1092_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 29 ม.ค. 65
เยอมนี




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/505/Add.1
28 มกราคม 2565
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าโคกระบือมีชีวิต เนื้อและผลิตภัณฑ์แปรรูปที่ได้จากโคกระบือ
สาระสำคัญ : ประกาศยกเลิกมาตรการฉุกเฉินเกี่ยวกับการยกเลิกระงับการนำเข้าชั่วคราวสำหรับโคกระบือมีชีวิต เนื้อและผลิตภัณฑ์แปรรูปที่ได้จากโคกระบือ ที่มีแหล่งกำเนิดมาจากแคนาดาเนื่องจากพบโรควัวบ้า (BSE)
รายละเอียดเพิ่มเติม

https://members.wto.org/crnattachments/2022/SPS/PHL/22_1091_00_e.pdf แคนาดา - 25 ม.ค. 65 สุขภาพสัตว์
วันที่มีผลบังคับใช้ : 25 ม.ค. 65
แคนาดา




สิงคโปร์ G/SPS/N/SGP/75
26 มกราคม 2565
มาตรการปกติ
สินค้าไม้ต้น พืชหัว ไม้ตัดดอก ใบประดับ ผัก และผักกินรากและหัวใต้ติน ผลไม้ นัท ส้มหรือเมลอน
สาระสำคัญ : ทบทวนข้อกำหนดสสุขอนามัยสำหรับนำเข้าพืชและผลิตภัณฑ์จากทางเขตร้อนของแอฟริกาใต้ สำหรับศัตรูพืช Microcyclus ulei ต่อการปลูกยางของกลุ่มประเทศเอเชียแปซิฟิก ซึ่ง Microcyclus ulei ผ่านการประเมินความเสี่ยงพบว่ามีความเสี่ยงนระดับเล็กน้อย ซึ่งไม่จัดว่าเป็นเป็นศัตรูพืชกักกัน ในสิงคโปร์ มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 ก.พ. 65
รายละเอียดเพิ่มเติม

https://www.nparks.gov.sg/services/plant-health-services/circulars
วันที่มีผลบังคับใช้ : 1 ก.พ. 65
แองกวิลลา แอนติกาและบาร์บูดา อารูบา บาร์เบโดส เบลีซ โบลิเวีย รัฐพหุชาติของโบแนร์ บราซิล เกาะเคย์แมน โคลอมเบีย คอสตาริกา คิวบา คูราเซา โดมินิกา โดมินิกัน เอกวาดอร์ เอลซัลวาดอร์ เฟรนช์เกียนา เกรนาดา กวาเดอลูป กัวเตมาลา กายอานา เฮติ ฮอนดูรัส จาไมกา มาร์ติ




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/505
07 มกราคม 2565
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าโคกระบือมีชีวิต เนื้อและผลิตภัณฑ์แปรรูปที่ได้จากโคกระบือ
สาระสำคัญ : ประกาศมาตรการฉุกเฉินเกี่ยวกับการระงับการนำเข้าชั่วคราวสำหรับโคกระบือมีชีวิต เนื้อและผลิตภัณฑ์แปรรูปที่ได้จากโคกระบือ ที่มีแหล่งกำเนิดมาจากแคนาดาเนื่องจากพบโรควัวบ้า (BSE) ตามคำสั่งกระทรวงเกษตร ฉบับที่ 79 ประจำปี ค.ศ. 2020 ลงวันที่ 29 ธ.ค. 64
รายละเอียดเพิ่มเติม

https://members.wto.org/crnattachments/2022/SPS/PHL/22_0192_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 29 ธ.ค. 64
แคนาดา




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/506
07 มกราคม 2565
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกเลี้ยงและสัตว์ปีกป่า รวมถึงผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ประกาศมาตรการฉุกเฉินเกี่ยวกับการระงับการนำเข้าชั่วคราวสำหรับสัตว์ปีกเลี้ยงและสัตว์ปีกป่า รวมถึงผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อที่มีแหล่งกำเนิดมาจากไอร์แลนด์ เนื่องจากพบโรคไข้หวัดนกสายพันธุ์รุนแรง ตามคำสั่งกระทรวงเกษตร ฉบับที่ 80 ประจำปี ค.ศ. 2020 ลงวันที่ 29 ธ.ค. 64
รายละเอียดเพิ่มเติม

https://members.wto.org/crnattachments/2022/SPS/PHL/22_0197_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 29 ธ.ค. 64
ไอร์แลนด์




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/504
06 มกราคม 2565
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกมีชีวิต เนื้อและเครื่องในสัตว์ปีก (แบบสด แช่เย็น และแช่แข็ง) ไข่ และไข่ฟัก
สาระสำคัญ : ประกาศระงับการนำเข้าชั่วคราวสัตว์ปีกเลี้ยงและสัตว์ปีกป่า รวมถึงผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อที่มีแหล่งกำเนิดมาจากเบลเยียม ตามคำสั่งกระทรวงเกษตร ฉบับที่ 78 ประจำปี ค.ศ. 2020 ลงวันที่ 20 ธ.ค. 64
รายละเอียดเพิ่มเติม

https://members.wto.org/crnattachments/2022/SPS/PHL/22_0098_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 20 ธ.ค. 64
เบลเยียม




สิงคโปร์ G/SPS/N/SGP/69/Add.1
05 มกราคม 2565
มาตรการปกติ
สินค้าอาหาร
สาระสำคัญ : ประกาศบังคับใช้กฎระเบียบด้านอาหารฉบับแก้ไข 2564 (Food (Amendment) Regulations 2021) โดยมีผลบังคับใช้วันที่ 1 ต.ค. 64
รายละเอียดเพิ่มเติม

http://www.sfa.gov.sg/legislation
วันที่มีผลบังคับใช้ : 1 ต.ค. 64
ประเทศคู่ค้า




สิงคโปร์ G/SPS/N/SGP/72
20 ธันวาคม 2564
มาตรการปกติ
สินค้านกและไข่ฟัก
สาระสำคัญ : ทบทวนเงื่อนไขทางสัตวแพทย์สำหรับการนำเข้าสินค้าที่เกี่ยวกับสัตว์เพื่อให้สอดคล้องกับ OIEs Terrestrial Animal Health Code (TAHC) บทที่ 10.4 การติดเชื้อไวรัสไขหวัดนกชนิดก่อโรครุนแรง (Infection with High Pathogenicity Avian Influenza Viruses) ที่ประกาศใช้ใน the OIE 88th General Session เมื่อเดือน พ.ค. 64 ประกอบด้วย
1) เงื่อนไขทางสัตวแพทย์ (Veterinary Conditions) สำหรับการนำเข้าสัตว์เลี้ยง - นก (นอกเหนือจากนกเลี้ยง (domestic birds))
2) เงื่อนไขทางสัตวแพทย์ (Veterinary Conditions) สำหรับการนำเข้านกเลี้ยงและไข่ - ไข่ฟัก (เพื่อใช้ในการทดลอง)
3) เงื่อนไขทางสัตวแพทย์ (Veterinary Conditions) สำหรับการนำเข้าเทคโนโลยีชีวภัณฑ์สัตว์ (Veterinary Biologics) - ไวรัสของสัตว์และนก: ประเภทของสายพันธุ์ (Type Cultures/Strains)
4) เงื่อนไขทางสัตวแพทย์ (Veterinary Conditions) สำหรับการนำเข้าเทคโนโลยีชีวภัณฑ์สัตว์ (Veterinary Biologics) - ไวรัสของสัตว์และนก: การคัดแยกทางห้องปฏิบัติการ (Laboratory Isolates)
รายละเอียดเพิ่มเติม

https://members.wto.org/crnattachments/2021/SPS/SGP/21_7603_00_e.pdf https://members.wto.org/crnattachments/2021/SPS/SGP/21_7603_01_e.pdf ">https://members.wto.org/crnattachments/2021/SPS/SGP/21_7603_01_e.pdf /a>
วันที่มีผลบังคับใช้ : ณ วันประกาศแจ้งเวียน สำหรับข้อ 1) ให้ระยะเวลาเปลี่ยนผ่าน 6 เดือน แก่ผู้ส่งออกเพื่อการปรับตัวในการแยกสัตว์เป็นระยะเวลา 28 วัน ก่อนการขนส่งและต้องผ่านการทดสอบที่เกี่ยวข้องภายในระยะเวลา 14 วัน ก่อนการส่งออกสินค้า
ประเทศคู่ค้า




สิงคโปร์ G/SPS/N/SGP/73
20 ธันวาคม 2564
มาตรการปกติ
สินค้าสัตว์ปีกและผลิตภัณฑ์สัตว์ปีก- ไข่และผลิตภัณฑ์จากไข่ รวมถึงไข่ฟัก - นกเพื่อใช้เป็นสัตว์เลี้ยงมีชีวิตและลูกไก่
สาระสำคัญ : ทบทวนเงื่อนไขทางการสัตวแพทย์สำหรับการนำเข้าสัตว์ปีก ผลิตภัณฑ์สัตว์ปีก และไข่ เพื่อให้สอดคล้องกับข้อกำหนดของ OIE หลักปฏิบัติด้านสุขภาพสัตว์บก (Terrestrial Animal Health Code; TAHC) บทที่ 10.4 เรื่อง การติดเชื้อไวรัสไข้หวัดนกชนิดรุนแรง (High Pathogenicity Avian Influenza Viruses) ที่มีการประกาศใช้ใน the OIE 88th General Session เมื่อเดือนพฤษภาคม 2564 ดังนี้
1. เงื่อนไขทางการสัตวแพทย์สำหรับการนำเข้าสัตว์ปีกและผลิตภัณฑ์สัตว์ปีก
2. เงื่อนไขทางการสัตวแพทย์สำหรับการนำเข้าไข่ไก่ (Table Eggs)
3. เงื่อนไขทางการสัตวแพทย์สำหรับการนำเข้าผลิตภัณฑ์จากไข่
4. เงื่อนไขทางการสัตวแพทย์สำหรับการนำเข้าไข่ที่ผ่านกระบวนการพาสเจอไรซ์เปลือก (Pasteurised Shell Egg)
5. เงื่อนไขทางการสัตวแพทย์สำหรับการนำเข้านกเพื่อใช้เป็นสัตว์เลี้ยง (Domestic Birds)
6. เงื่อนไขทางการสัตวแพทย์สำหรับการนำเข้าไข่ฟัก (Hatching Eggs)
7. เงื่อนไขทางการสัตวแพทย์สำหรับการนำเข้าลูกไก่ (Day Old Chicks)
รายละเอียดเพิ่มเติม

https://members.wto.org/crnattachments/2021/SPS/SGP/21_7604_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : ณ วันเผยแพร่ประกาศแจ้งเวียน
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/63/Add.2
17 ธันวาคม 2564
มาตรการปกติ
สินค้าพืชและผลิตภัณฑ์จากพืชที่ผลิตจากเทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหม่
สาระสำคัญ : ปรับแก้รายการสินค้านำเข้า เช่น ข้าวโพด ฝ้าย มันฝรั่ง ถั่วเหลือง ฯลฯ ที่ต้องดำเนินการตามขั้นตอน GM Declaration (ฉบับวันที่ 1 ธ.ค. 64) โดยกำหนดให้ต้องแสดงข้อมูลการเปลี่ยนสภาพของสินค้าที่ปรากฏอยู่ในการขนส่ง ที่ออกโดยเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบของประเทศต้นทาง ห้องปฏิบัติการที่ได้รับการรับรอง ผู้ขนส่ง หรือผู้นำเข้า โดยจะมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 28 ธ.ค. 64 เป็นต้นไป
รายละเอียดเพิ่มเติม

https://members.wto.org/crnattachments/2021/SPS/PHL/21_7864_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 28 ธ.ค. 64
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/502
01 ธันวาคม 2564
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้า สัตว์ปีกและผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก รวมถึงสัตว์ปีกมีชีวิตชนิด ไก่ (Gallus domesticus) เป็ด ห่าน ไก่งวง และ ไก่ต๊อก HS0207: เนื้อสัตว์ปีกและซากที่กินได้ของสัตว์ปีกชนิด Gallus domesticus เป็ด ห่าน ไก่งวง และ ไก่ต๊อกทั้งสด แช่เย็น แช่แข็ง HS0407: ไข่สัตว์ปีก ทั้งเก็บไว้ไม่ให้เสีย หรือปรุงสุก HS04071 : ไข่เชื้อสำหรับฟัก HS04072 : ไข่สดอื่นๆ HS040790 และ HS 05119
สาระสำคัญ : ประกาศระงับนำเข้าสัตว์ปีกเลี้ยงและสัตว์ปีกป่าและผลิตภัณฑ์ผลพลอยได้จากญี่ปุ่น ดังต่อไปนี้
1) ระงับการนำเข้าสำหรับสัตว์ปีกเลี้ยงและสัตว์ปีกป่าและผลิตภัณฑ์รวมทั้งเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ
2) ระงับการนำเข้าชั่วคราวของผลิตภัณฑ์แปรรูปทันที การประเมินและการออกใบอนุญาตนำเข้าสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช (SPS) ของผลิตภัณฑ์ข้างต้น
3) สินค้าทั้งหมดที่อยู่ระหว่างการขนส่งการ บรรทุก (loaded) หรือรับให้เข้ามายังท่าเรือ ก่อนมีคำสั่งอย่างเป็นทางการจากเจ้าหน้าที่ของญี่ปุ่น อนุญาตให้นำเข้าหากมีการผลิตหรือเชือดก่อนวันที่ 27 ต.ค. 64
4) สินค้าที่นอกเหนือที่ผ่านการยอมรับจากท่าต้นทางในวันหลังจากวันที่ประกาศบังคับใช้อย่างเป็นทางการให้ติดต่อกับเจ้าหน้าที่ของญี่ปุ่นจึงไม่ควรเดินเรือ
5) สินค้าที่ไม่เป็นไปตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้ในข้อ 3 ถึง ข้อ 4 จะต้องมีการจัการตามระเบียบ DA AO 9 S. 2010 Section VILD
6) การนำเข้าผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์ปีกจะต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้ในมาตรการ 10.4.18 10.4.19 และ 10.4.24 ของมาตรฐานสุขภาพสัตว์บกของ OIE (2021)
https://members.wto.org/crnattachments/2021/SPS/PHL/21_7458_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 29 พ.ย. 64
ญี่ปุ่น




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/503
01 ธันวาคม 2564
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้า สัตว์ปีกและผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก สัตว์ปีกมีชีวิตชนิด Gallus domesticus เป็ด ห่าน ไก่งวง และ ไก่ต๊อก HS0207: เนื้อสัตว์ปีกและซากที่กินได้ของสัตว์ปีกชนิด Gallus domesticus เป็ด ห่าน ไก่งวง และ ไก่ต๊อกทั้งสด แช่เย็น แช่แข็ง HS0407: ไข่สัตว์ปีก ทั้งเก็บไว้ไม่ให้เสีย หรือปรุงสุก HS04071 : ไข่เชื้อสำหรับฟัก HS04072 : ไข่สดอื่นๆ HS040790 และ HS 05119
สาระสำคัญ : ประกาศระงับนำเข้าสัตว์ปีกเลี้ยงและสัตว์ปีกป่าและผลิตภัณฑ์ผลพลอยได้จากฮังการี ดังต่อไปนี้
1) ระงับการนำเข้าสำหรับสัตว์ปีกเลี้ยงและสัตว์ปีกป่าและผลิตภัณฑ์รวมทั้งเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ
2) ระงับการนำเข้าชั่วคราวของผลิตภัณฑ์แปรรูปทันที การประเมินและการออกใบอนุญาตนำเข้าสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช (SPS) ของผลิตภัณฑ์ข้างต้น
3) สินค้าทั้งหมดที่อยู่ระหว่างการขนส่งการ บรรทุก (loaded) หรือรับให้เข้ามายังท่าเรือ ก่อนมีคำสั่งอย่างเป็นทางการจากเจ้าหน้าที่ของฮังการี อนุญาตให้นำเข้าหากมีการผลิตหรือเชือดก่อนวันที่ 1 พ.ย. 64
4) สินค้าที่นอกเหนือที่ผ่านการยอมรับจากท่าต้นทางในวันหลังจากวันที่ประกาศบังคับใช้อย่างเป็นทางการให้ติดต่อกับเจ้าหน้าที่ของฮังการีจึงไม่ควรเดินเรือ
5) สินค้าที่ไม่เป็นไปตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้ในข้อ 3 ถึง ข้อ 4 จะต้องมีการจัการตามระเบียบ DA AO 9 S. 2010 Section VILD
6) การนำเข้าผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์ปีกจะต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้ในมาตรการ 10.4.18 10.4.19 และ 10.4.24 ของมาตรฐานสุขภาพสัตว์บกของ OIE (2021)
รายละเอียดเพิ่มเติม

https://members.wto.org/crnattachments/2021/SPS/PHL/21_7459_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 29 พ.ย. 64
ฮังการี




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/500
17 พฤศจิกายน 2564
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้า สัตว์ปีกและผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก สัตว์ปีกมีชีวิตชนิด Gallus domesticus เป็ด ห่าน ไก่งวง และ ไก่ต๊อก HS0207: เนื้อสัตว์ปีกและซากที่กินได้ของสัตว์ปีกชนิด Gallus domesticus เป็ด ห่าน ไก่งวง และ ไก่ต๊อกทั้งสด
สาระสำคัญ : บันทึกข้อตกลงของ Department of Agriculture Memorandum หมายเลข 69 ปี 2564 ประกาศระงับนำเข้าสัตว์ปีกเลี้ยงและสัตว์ปีกป่าและผลิตภัณฑ์ผลพลอยได้จากเนเธอร์แลนด์ ดังต่อไปนี้
1) การระงับนำเข้าสำหรับสัตว์ปีกเลี้ยงและสัตว์ปีกป่าและผลิตภัณฑ์รวมทั้งเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ
2) ระงับการนำเข้าชั่วคราวของผลิตภัณฑ์แปรรูปทันที การประเมินและการออกใบอนุญาตนำเข้าสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช (SPS) ของผลิตภัณฑ์ข้างต้น
3) สินค้าทั้งหมดที่อยู่ระหว่างการขนส่งการ บรรทุก (loaded) หรือรับให้เข้ามายังท่าเรือ ก่อนมีคำสั่งอย่างเป็นทางการจากเจ้าหน้าที่ของเนเธอร์แลนด์ อนุญาตให้นำเข้าหากมีการผลิตหรือเชือดก่อนวันที่ 13ต.ค. 64
4)สินค้าที่นอกเหนือที่ผ่านการยอมรับจากท่าต้นทางในวันหลังจากวันที่ประกาศบังคับใช้อย่างเป็นทางการให้ติดต่อกับเจ้าหน้าที่ของเนเธอร์แลนด์จึงไม่ควรเดินเรือ
5) สินค้าที่ไม่เป็นไปตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้ในข้อ 3 ถึง ข้อ 4 จะต้องมีการจัการตามระเบียบ DA AO 9 S. 2010 Section VILD
6) การนำเข้าผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์ปีกจะต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้ในมาตรการ 10.4.18 10.4.19 และ 10.4.24 ของมาตรฐานสุขภาพสัตว์บกของ OIE
รายละเอียดเพิ่มเติม

https://members.wto.org/crnattachments/2021/SPS/PHL/21_7190_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 12 พ.ย. 64
เนเธอร์แลนด์




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/501
17 พฤศจิกายน 2564
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้า โคกระบือมีชีวิต เนื้อโคกระบือแช่แข็ง และผลิตภัณฑ์พลอยได้โค
สาระสำคัญ : บันทึกข้อตกลงของ Department of Agriculture Memorandum หมายเลข 68 ปี 2564 ประกาศระงับนำเข้าโคกนะบือมีชีวิต เนื้อโคกระบือ ผลิตภัณฑ์โคกระบือ และโปรตีนที่แปรรูปจากโคกระบือที่มาจากเยอรมนี ดังต่อไปนี้
1) การระงับนำเข้าสำหรับเนื้อโคกระบือ ผลิตภัณฑ์โคกระบือ และผลิตภัณฑ์ผลพลอยได้จากโคกระบือรวมทั้งการนำเข้าโคกระบือมีชีวิต และกระบวนการอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการขออนุญาตนำเข้าสินค้าดังกล่าวจากเยอรมนี
2) สินค้าทั้งหมดที่อยู่ระหว่างการขนส่ง, การบรรทุก (loaded) หรือรับเข้ามายังท่าเรือ ก่อนมีคำสั่งอย่างเป็นทางการแจ้งไปยังเจ้าหน้าที่ของเยอรมนี อนุญาตให้นำเข้าหากมีการผลิตหรือเชือดก่อนวันที่ 25 ก.ย. 64
3) ใบอนุญาตสุขอนามัยในการนำเข้า (SPS Import Clearances) ที่ได้รับอนุญาตก่อนหน้านี้ทั้งหมด ทั้งที่ยังไม่ได้มีการนำผ่าน การบรรทุก (loaded) หรือรับเข้ามายังท่า หลังจากคำสั่งนี้อย่างประกาศอย่างเป็นทางการ ใบอนุญาตดังกล่าวจะถูกยกเลิก
4) สินค้าที่มีการจัดส่งหลังจากวันที่ประกาศแจ้งหน่วยงาน CA ของเยอรมนี จะได้รับการตรวจสอบในแต่ละกรณีตามกฎระเบียบ DA Administrative Order 9 series of 2010, Section VII.D
5) จะการตรวจสอบที่เข้มงวดกับสินค้ามาถึงสำหรับเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์ผลพลอยได้ที่มาจากโคกระบือมีชีวิตโดยเจ้าหน้าที่กักกันด้านสัตวแพทย์ที่ได้รับมอบหมายที่ท่าเรือนำเข้า
รายละเอียดเพิ่มเติม

https://members.wto.org/crnattachments/2021/SPS/PHL/21_7191_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 12 พ.ย. 64
เยอรมนี




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/137
09 พฤศจิกายน 2564
มาตรการปกติ
สินค้า อาหารสัตว์ ผลิตภัณฑ์บำบัดของเสียจากปศุสัตว์
สาระสำคัญ : จัดทำร่างฉบับแก้ไขของกฎระเบียบ Decree 13/2020/ND-CP เกี่ยวกับแนวปฏิบัติสำหรับกฎหมายปศุสัตว์ โดยกำหนดบทบัญญัติในการควบคุมโรงงานอาหารสัตว์ รวมถึงใบรับรองอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ การควบคุมคุณภาพและช่องทางการนำเข้าปศุสัตว์มีชีวิต และการจัดการผลิตภัณฑ์บำบัดของเสียจากปศุสัตว์
รายละเอียดเพิ่มเติม

https://members.wto.org/crnattachments/2021/SPS/VNM/21_7032_00_x.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 15 มี.ค. 65
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/498/Add.1
20 ตุลาคม 2564
มาตรการปกติ
สินค้าโคกระบือมีชีวิต เนื้อโคกระบือและผลิตภัณฑ์ที่ได้จากโคกระบือ
สาระสำคัญ : ประกาศกระทรวงเกษตรฉบับที่ 65 ปี 2564 แจ้งยกเลิกการระงับการนำเข้าชั่วคราวสำหรับโคกระบือมีชีวิต เนื้อโคกระบือและผลิตภัณฑ์ที่ได้จากโคกระบือจากบราซิล มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 18 ต.ค. 65
วันที่มีผลบังคับใช้ : 18 ต.ค. 65
บราซิล




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/499
06 ตุลาคม 2564
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าโคกระบือมีชีวิต เนื้อโคกระบือแช่แข็ง และผลิตภัณฑ์พลอยได้โค
สาระสำคัญ : บันทึกข้อตกลงของ Department of Agriculture Memorandum หมายเลข 60 ปี 2564 ประกาศห้ามนำเข้าเนื้อโคกระบือและผลพลอยได้จากสหราชอาณาจักร ดังต่อไปนี้
1) ระงับการนำเข้าชั่วคราวของผลิตภัณฑ์แปรรูป การประเมินและการออกใบอนุญาตนำเข้าสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช (SPS) ของเนื้อสัตว์และผลพลอยได้จากโคกระบือ รวมถึงการนำเข้าโคกระบือมีชีวิต
2) สินค้าทั้งหมดที่อยู่ระหว่างการขนส่งการ บรรทุก (loaded) หรือรับให้เข้ามายังท่าเรือ ก่อนมีคำสั่งอย่างเป็นทางการจากเจ้าหน้าที่ของอังกฤษ อนุญาตให้นำเข้าหากมีการผลิตหรือเชือดก่อนวันที่ 31 ส.ค. 64
3) การออกใบอนุญาตสุขอนามัยในการนำเข้า (SPS Import Clearances) ที่ได้รับอนุญาตก่อนหน้านี้ทั้งหมด ซึ่งยังไม่ได้มีการนำผ่าน บรรทุก (loaded) หรือรับให้เข้ามายังท่าหลังจากคำสั่งอย่างเป็นทางการจะถูกยกเลิก
4) การจัดส่งที่มีวันที่จัดส่งหลังจากการแจ้งหน่วยงาน CA ของอังกฤษ จะได้รับการจัดการตาม DA Administrative Order 9 series of 2010, Section VII.D
5) การตรวจสอบที่เข้มงวดเมื่อสินค้ามาถึงสำหรับเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์ผลพลอยได้ที่มาจากโคกระบือมีชีวิตโดยเจ้าหน้าที่กักกันด้านสัตวแพทย์ที่ได้รับมอบหมายที่ท่าเรือนำเข้า
วันที่มีผลบังคับใช้ : 4 ต.ค. 64
สหราชอาณาจักร




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/490/Add.1
23 กันยายน 2564
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก
สาระสำคัญ : ประกาศมาตรการฉุกเฉินเกี่ยวกับการยกเลิกการระงับการนำเข้าชั่วคราวสำหรับสัตว์ปีกเลี้ยงและสัตว์ปีกป่า รวมถึงผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก ได้แก่ เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อจากเมือง Kerekegyhaza, Bacs-Kiskun ของฮังการี ตามคำสั่งกระทรวงเกษตร ฉบับที่ 56 ประจำปี 2564 ลงวันที่ 19 ก.ย. 64
วันที่มีผลบังคับใช้ : 19 ก.ย. 64
ฮังการี




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/126
21 กันยายน 2564
มาตรการปกติ
สินค้าชิ้นส่วนสำหรับการขยายพันธุ์/ปลูกของส้ม
สาระสำคัญ : จัดทำร่างกฎระเบียบทางเทคนิคเกี่ยวกับชิ้นส่วนสำหรับปลูกพรรณไม้ผลยืนต้น - ส้ม โดยระบุข้อกำหนดด้านคุณภาพของชิ้นส่วนสำหรับการขยายพันธุ์/ปลูก สำหรับไม้ผลสปีชีส์ซิตรัส (Citrus sinensis) และ King mandarin (Citrus nobilis) เพื่อใช้ในการผลิตด้วยวิธีการต่อกิ่ง (grafting method) โดยร่างกฎระเบียบฉบับนี้จะมีผลต่อองค์กรและบุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการผลิต การค้า และการนำเข้างชิ้นส่วนสำหรับการขยายพันธุ์/ปลูกไม้ผลสปีชีส์ซิตรัส (Citrus sinensis) และ King mandarin (Citrus nobilis)
วันที่มีผลบังคับใช้ : 6 เดือนหลังจากประกาศเผยแพร่
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/134
21 กันยายน 2564
มาตรการปกติ
สินค้าส้มโอ (Citrus grandis)
สาระสำคัญ : จัดทำร่างมาตรฐานแห่งชาติสำหรับพรรณไม้ผล - Value for cultivation and use (VCU) ส่วนที่ 2: ส้มโอ โดยระบุข้อกำหนด VCU และวิธีการทดสอบ/ตรวจสอบ VCU ของส้มโอ (Citrus grandis)
วันที่มีผลบังคับใช้ : ภายหลังพ้น 6 เดือน นับจากวันประกาศมาตรฐาน
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/135
21 กันยายน 2564
มาตรการปกติ
สินค้ากาแฟ (Coffea canaphora และ Coffea arabica)
สาระสำคัญ : จัดทำร่างมาตรฐานแห่งชาติสำหรับพรรณไม้อุตสาหกรรม
- Value for cultivation and use (VCU) ส่วนที่ 1: กาแฟ โดยระบุข้อกำหนด VCU และวิธีการทดสอบ/ตรวจสอบ VCU ของกาแฟ (Coffea canaphora และ Coffea arabica)
วันที่มีผลบังคับใช้ : ภายหลังพ้น 6 เดือน นับจากวันประกาศมาตรฐาน
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/127
21 กันยายน 2564
มาตรการปกติ
สินค้าชิ้นส่วนสำหรับการขยายพันธุ์/ปลูกกล้วย (Musa spp.)
สาระสำคัญ : จัดทำร่างกฎระเบียบทางเทคนิคเกี่ยวกับชิ้นส่วนสำหรับเพาะปลูกไม้ยืนต้นอุตสาหกรรม - ส่วนที่ 3: กล้วย มีรายละเอียดสำคัญเกี่ยวกับข้อกำหนดด้านคุณภาพของชิ้นส่วนสำหรับการขยายพันธุ์/ปลูกกล้วย (Musa spp.) ที่ใช้ในการผลิตต้นกล้าโดยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ (tissue culture method) โดยร่างกฎระเบียบฉบับนี้จะมีผลบังคับใช้ต่อองค์กรและบุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการผลิต การค้า และการนำเข้าชิ้นส่วนสำหรับการขยายพันธุ์/ปลูกกล้วย (Musa spp.)
วันที่มีผลบังคับใช้ : ภายหลังพ้น 6 เดือน นับจากวันประกาศกฎระเบียบ
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/128
21 กันยายน 2564
มาตรการปกติ
สินค้าต้นส้มโอและสวนส้มโอที่ได้คุณภาพ (Elite Tree and Elite Orchard of pummelo (Citrus grandis))
สาระสำคัญ : จัดทำร่างมาตรฐานแห่งชาติสำหรับพรรณไม้ผล - ไม้คุณภาพและสวนผลไม้ที่ได้คุณภาพ (Elite Tree and Elite Orchard) - ส่วนที่ 2: ส้มโอ (Pummelo) โดยระบุข้อกำหนดด้านคุณภาพของไม้คุณภาพและสวนผลไม้ที่ได้คุณภาพของสายพันธุ์ส้มโอ (Citrus grandis) ที่ใช้ในการผลิตกล้าพันธุ์ (seedling production)
วันที่มีผลบังคับใช้ : ภายหลังพ้น 6 เดือน นับจากวันประกาศมาตรฐาน
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/129
21 กันยายน 2564
มาตรการปกติ
สินค้าต้นส้ม (Citrus sinensis) และ King mandarin (Citrus nobilis)
สาระสำคัญ : จัดทำร่างมาตรฐานแห่งชาติสำหรับพรรณไม้ผล - ไม้คุณภาพและสวนผลไม้ที่ได้คุณภาพ (Elite Tree and Elite Orchard) - ส่วนที่ 1: ส้ม (Orange) โดยระบุข้อกำหนดด้านคุณภาพของไม้คุณภาพและสวนผลไม้ที่ได้คุณภาพของต้นส้ม (Citrus sinensis) และ King mandarin (Citrus nobilis) ที่ใช้ในการผลิตกล้าพันธุ์ (seedling production)
วันที่มีผลบังคับใช้ : ภายหลังพ้น 6 เดือน นับจากวันประกาศมาตรฐาน
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/130
21 กันยายน 2564
มาตรการปกติ
สินค้ากล้วย (Musa spp.)
สาระสำคัญ : จัดทำร่างมาตรฐานแห่งชาติสำหรับพรรณไม้ผล - ไม้คุณภาพและสวนผลไม้ที่ได้คุณภาพ (Elite Tree and Elite Orchard) - ส่วนที่ 3: กล้วย โดยระบุข้อกำหนดด้านคุณภาพของกล้วย (Musa spp.) ที่ใช้ในการผลิตกล้าพันธุ์ (seedling production)
วันที่มีผลบังคับใช้ : 6 เดือนหลังจากประกาศเผยแพร่
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/131
21 กันยายน 2564
มาตรการปกติ
สินค้าต้นกาแฟ และสวนกาแฟ (สายพันธุ์ Coffea canaphora และสายพันธุ์ Coffea arabica) ที่ได้คุณภาพ
สาระสำคัญ : จัดทำร่างมาตรฐานแห่งชาติสำหรับพรรณไม้อุตสาหกรรม
- ไม้คุณภาพและสวน (Elite Tree and Original Garden) - ส่วนที่ 1: กาแฟ โดยระบุข้อกำหนดด้านคุณภาพของต้นกาแฟที่ใช้ในการผลิตกล้าพันธุ์ (seedling production)
วันที่มีผลบังคับใช้ : ภายหลังพ้น 6 เดือน นับจากวันประกาศมาตรฐาน
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/132
21 กันยายน 2564
มาตรการปกติ
สินค้าส้ม (Citrus sinensis) และ คิงแมนดาริน (King mandarin) (Citrus nobilis)
สาระสำคัญ : จัดทำร่างมาตรฐานแห่งชาติสำหรับพรรณไม้ผล - Value for cultivation and use (VCU)- ส่วนที่ 1: ส้ม โดยระบุข้อกำหนด VCU และวิธีการทดสอบ/ตรวจสอบ VCU ของส้ม (Citrus sinensis) และ คิงแมนดาริน (King mandarin) (Citrus nobilis)
วันที่มีผลบังคับใช้ : ภายหลังพ้น 6 เดือน นับจากวันประกาศมาตรฐาน
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/124
21 กันยายน 2564
มาตรการปกติ
สินค้าชิ้นส่วนสำหรับการขยายพันธุ์/เพาะปลูกของส้มโอ (Pummelo
สาระสำคัญ : จัดทำร่างกฎระเบียบทางเทคนิคเกี่ยวกับชิ้นส่วนสำหรับเพาะปลูกพรรณไม้ผลยืนต้น - ส่วนที่ 2: ส้มโอ (Pummelo) มีรายละเอียดสำคัญ ดังนี้
1. ระบุข้อกำหนดด้านคุณภาพของชิ้นส่วนสำหรับการขยายพันธุ์/เพาะปลูก (รวมถึงเมล็ดพันธุ์) สำหรับไม้ผลสายพันธุ์ส้มโอ (Citrus grandis) เพื่อใช้ในการผลิตด้วยวิธีการต่อกิ่ง (grafting method)
2. ร่างกฎระเบียบฉบับนี้มีผลบังคับใช้ต่อองค์กรและบุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการผลิต การค้า และการนำเข้าชิ้นส่วนสำหรับการขยายพันธุ์/เพาะปลูก ไม้ผลสายพันธุ์ส้มโอ (Citrus grandis)
วันที่มีผลบังคับใช้ : ภายหลังพ้น 6 เดือน นับจากวันประกาศกฎระเบียบ
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/133
21 กันยายน 2564
มาตรการปกติ
สินค้ากล้วย (Musa spp.)
สาระสำคัญ : จัดทำร่างมาตรฐานแห่งชาติสำหรับพรรณไม้ผล - Value for cultivation and use (VCU) ส่วนที่ 3: กล้วย โดยระบุข้อกำหนด VCU และวิธีการทดสอบ/ตรวจสอบ VCU ของกล้วย (Musa spp.)
วันที่มีผลบังคับใช้ : 6 เดือนหลังจากประกาศเผยแพร่
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/125
21 กันยายน 2564
มาตรการปกติ
สินค้าวัสดุสำหรับขยายพันธุ์และต้นกล้าของกาแฟ (Coffea canaphora และ Coffea arabica)
สาระสำคัญ : จัดทำร่างกฎระเบียบทางเทคนิคเกี่ยวกับชิ้นส่วนสำหรับเพาะปลูกไม้ยืนต้นอุตสาหกรรม - ส่วนที่ 1: กาแฟ มีรายละเอียดสำคัญเกี่ยวกับข้อกำหนดด้านคุณภาพของวัสดุสำหรับขยายพันธุ์และต้นกล้าของกาแฟ (Coffea canaphora และ Coffea arabica) ที่ใช้ในการผลิตต้นกล้าในทุกรูปแบบ (ทั้งแบบอาศัยเพศและไม่อาศัยเพศ) โดยร่างกฎระเบียบฉบับนี้มีผลบังคับใช้ต่อองค์กรและบุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการผลิต การค้า และการนำเข้าวัสดุสำหรับขยายพันธุ์และต้นกล้าของกาแฟด้วย
วันที่มีผลบังคับใช้ : ภายหลังพ้น 6 เดือน นับจากวันประกาศกฎระเบียบ
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/498
20 กันยายน 2564
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าโคกระบือมีชีวิต เนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์
สาระสำคัญ : ประกาศกระทรวงเกษตรฉบับที่ 54 ระงับการนำเข้าโคกระบือมีชีวิต เนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์ที่ได้จากโคที่มาจากบราซิล โดย 1) ระงับการออกใบ SPS เพื่อการตรวจปล่อยสินค้าจำพวก เนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์ผลพลอยได้จากโค รวมโคมีชีวิต 2) สินค้าที่อยู่ระว่างเคลื่อนย้ายผ่าน การโหลด การยอมรับ มายังท่าเรือก่อนที่จะมีการสื่อสารอย่างเป็นทางการของเจ้าหน้าที่บราซิลจะได้รับอนุญาตให้นำเข้าหากมีการฆ่าและผลิตในวันที่หรือก่อนวันที่ 31 ส.ค. 64 3) พิธีการการตรวจปล่อยด้าน SPS เพื่อการนำเข้า ก่อนหน้านี้ทั้งหมดที่ยังไม่ได้เคลื่อนย้ายผ่าน โหลด หรือยอมรับมายังท่าเรือหลังจากที่มีการสื่อสารอย่างเป็นทางการกับเจ้าหน้าที่จะถูกยกเลิก 4) สินค้าที่จัดส่งภายหลังวันที่มีการสื่อสารของคำสั่งนี้ไปยังเจ้าหน้าที่บราซิล จะต้องดำเนินการตามคำสั่งที่ 9 ปี 2010, ใน section 4.D 5) จะมีการตรวจเข้มหากสินค้าเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์ผลพลอยได้ที่ได้จากโครวมทั้งโคมีชีวิตโดยเจ้าหน้าที่กักกันด้านสัตวแพทย์ที่ได้รับมอบหมายที่ด่านนำเข้า
วันที่มีผลบังคับใช้ : ทันที (16 ก.ย. 64)
บราซิล




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/483/Add.1
14 กันยายน 2564
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าเข้าสัตว์ปีกเลี้ยงและสัตว์ปีกป่าและผลิตภัณฑ์จากเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ น้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : หน่วยงานกระทรวงเกษตรประกาศคำสั่งฉบับที่ 52 ปี 2564 ประกาศยกเลิกการระงับนำเข้าชั่วคราวนกเลี้ยง นกป่า และผลิตภัณฑ์ รวมทั้งเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ น้ำเชื้อที่มาจากญี่ปุ่น มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 10 ก.ย. 64 ตามรายงานฉบับสุดท้ายโดยเจ้าหน้าที่ด้านสัตวแพทย์ที่แจ้งต่อ OIE ว่า สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคไข้หวัดนกสายพันธุ์รุนแรงในญี่ปุ่นว่าได้รับการแก้ไขปัญหาแล้ว
วันที่มีผลบังคับใช้ : 10 ก.ย. 64
ญี่ปุ่น




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/487/Add.2
26 สิงหาคม 2564
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกพื้นบ้าน สัตว์ปีกป่าและผลิตภัณฑ์รวมถึงเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ น้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : แจ้งประกาศกระทรวงเกษตรฉบับที่ 49 ปี 2021 โดยยกเลิกการระงับการนำเข้าชั่วคราวสำหรับสัตว์ปีกพื้นบ้าน สัตว์ปีกป่าและผลิตภัณฑ์รวมถึงเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ น้ำเชื้อที่มีแหล่งกำเนิดมาจากเนเธอร์แลนด์ เนื่องจากการเสนอรายงานด้านสัตวแพทย์ของเนเธอร์แลนด์มายัง OIE เรื่องการแพร่ระบาดของโรคไข้หวัดนกสายพันธุ์รุนแรงที่ได้รับการแก้ไขให้เป็นไปตามเงื่อนไขที่มาตรฐาน OIE กำหนด ทั้งนี้มีผลการยกเลิกการระงับการนำเข้าตั้งแต่วันที่ 25 ส.ค. 64
วันที่มีผลบังคับใช้ : 25 ส.ค. 64
เนเธอร์แลนด์




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/63/Add.1
13 สิงหาคม 2564
มาตรการปกติ
สินค้าผลิตภัณฑ์จากพืชที่ผลิตโดยเทคโนโลยีสมัยใหม่เพื่อใช้เป็นอาหาร อาหารสัตว์ หรือแปรรูปเพื่อเป็นอาหาร อาหารสัตว์
สาระสำคัญ : ประกาศบันทึกข้อตกลงเกี่ยวกับการปรับปรุงรายชื่อสินค้าที่ต้องแสดงปริมาณ GMO (GMO content) เพื่อการนำเข้ายังฟิลิปปินส์ เช่น เมล็ดพันธุ์ข้าว ข้าวเปลือก ข้าวโพด (Mazie) แป้งข้าวโพด และมะละกอ เป็นต้น
วันที่มีผลบังคับใช้ : 15 วันหลังจากลงนามในประกาศฯ
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/123
12 สิงหาคม 2564
มาตรการปกติ
สินค้าอาหาร
สาระสำคัญ : ประกาศการแก้ไข การเสริม และการยกเลิกร่าง Circular ของเอกสารทางกฎหมายเกี่ยวกับความปลอดภัยอาหารในหลายหัวข้อ ดังนี้
- Circular No. 24/2019/TT-BYT ลงวันที่ 30 ส.ค. 62 ของกระทรวงสาธารณสุขเกี่ยวกับการจัดการและการใช้งานวัตถุเจือปนอาหาร
- Circular No. 02/2011/TT-BYT ลงวันที่ 13 ม.ค. 54 ของกระทรวงสาธารณสุขเกี่ยวกับการประกาศใช้ข้อกำหนดทางเทคนิคสำหรับค่าสารเคมีปนเปื้อนสูงสุดในอาหาร
- Circular No. 18/2019/TT-BYT ลงวันที่ 17 ก.ค. 62 ของกระทรวงสาธารณสุขเกี่ยวกับแนวปฏิบัติ GMP สำหรับการผลิตและการค้าผลิตภัณฑ์อาหารเสริม (dietary supplements)
- Circular No. 48/2015/TT-BYT ลงวันที่ 1 ธ.ค. 58 ของกระทรวงสาธารณสุขเกี่ยวกับการกำหนดกิจกรรมเพื่อตรวจสอบความปลอดภัยอาหารในสถานที่ผลิตและจำหน่ายอาหาร ภายใต้การจัดการของกระทรวงสาธารณสุข
- Circular No. 43/2014/TT-BYT ลงวันที่ 24 พ.ย. 57 ของกระทรวงสาธารณสุขเกี่ยวกับการจัดการอาหารฟังก์ชัน (functional foods)
- Circular No. 05/2018/TT-BYT ลงวันที่ 5 เม.ย. 61 ของกระทรวงสาธารณสุขเกี่ยวกับการประกาศใช้รายการอาหาร วัตถุเจือปนอาหาร สารช่วยในกระบวนการผลิตอาหารและอุปกรณ์ วัสดุบรรจุภัณฑ์ และภาชนะบรรจุอาหาร ที่มีการกำหนดด้วย HS codes ตามบทบัญญัติของรายการสินค้าส่งออกและนำเข้าของเวียดนาม
- Decision No. 46/2007/QD-BYT ของกระทรวงสาธารณสุขเกี่ยวกับการกำหนดปริมาณการปนเปื้อนและสารเคมีสูงสุดในอาหาร
- Decision No. 38/2008/QD-BYT ลงวันที่ 11 ธ.ค. 51 ของกระทรวงสาธารณสุขเกี่ยวกับการประกาศใช้การกำหนดปริมาณการปนเปื้อนเมลามีนสูงสุดในอาหาร
- Circular No. 14/2011/TT-BYT ลงวันที่ 1 เม.ย. 54 ของกระทรวงสาธารณสุขเกี่ยวกับแนวปฏิบัติสำหรับการสุ่มตัวอย่างเพื่อการตรวจสอบ (inspection) และการทดสอบ (examination) คุณภาพ สุขอนามัย และความปลอดภัยของอาหาร
วันที่มีผลบังคับใช้ : 30 ม.ค. 65
ประเทศคู่ค้า




มาเลเซีย G/SPS/N/MYS/53
11 สิงหาคม 2564
มาตรการปกติ
สินค้าน้ำแร่ (Mineral water)
สาระสำคัญ : แก้ไขตารางที่ 26 ของกฎระเบียบอาหาร 1985 [P.U. (A) 437/1985] เพื่อให้สอดคล้องกับมาตรฐาน Codex เรื่องน้ำแร่ธรรมชาติ (CODEX STAN 108-1981) ดังนี้
1. แก้ไขปริมาณสูงสุดที่อนุญาตให้พบของสารหนู แคดเมียม ตะกั่ว บาเรียม แมงกานีส และฟลูออไรด์
2. แก้ไขชื่อทางเคมีจาก chromium (VI) เป็น total chromium
วันที่มีผลบังคับใช้ : 6 เดือนหลังจากประกาศเเผยแพร่
ประเทศคู่ค้า




มาเลเซีย G/SPS/N/MYS/50
11 สิงหาคม 2564
มาตรการปกติ
สินค้าวัตถุดิบที่ก่อให้เกิดอาการภาวะภูมิไวเกิน (hypersensitivity
สาระสำคัญ : แก้ไขกฎระเบียบย่อย subregulation 11(5) ภายใต้กฎระเบียบ Food Regulations ปี 2528 เกี่ยวกับรายการวัตถุดิบที่ก่อให้เกิดอาการภาวะภูมิไวเกิน (hypersensitivity)
วันที่มีผลบังคับใช้ : 6 เดือนหลังจากวันเผยแพร่ประกาศ
ประเทศคู่ค้า




มาเลเซีย G/SPS/N/MYS/51
11 สิงหาคม 2564
มาตรการปกติ
สินค้าสารกำจัดศัตรูพืช
สาระสำคัญ : ปรับแก้ตารางที่ 16 ของกฎระเบียบอาหาร (Food Regulations) 1985 [P.U.(A) 437/1985] ดังนี้
1. เพิ่มรายชื่อสารกำจัดศัตรูพืชและค่า MRLs ใหม่ 3 รายการ ได้แก่ cymoxanil, florpyrauxifen-benzyl และ flupyradifurone
2. เพิ่มค่า MRLs สำหรับสินค้าใหม่ของสารกำจัดศัตรูพืชที่มีอยู่เดิม ได้แก่ dinotefuran และ lufenuron
วันที่มีผลบังคับใช้ : ภายหลังพ้น 6 เดือน นับจากวันเผยแพร่ประกาศ
ประเทศคู่ค้า




มาเลเซีย G/SPS/N/MYS/52
11 สิงหาคม 2564
มาตรการปกติ
สินค้าอาหารในภาชนะบรรจุ
สาระสำคัญ : แก้ไขข้อกำหนดการแสดงฉลากในกฎระเบียบย่อย (subregulation) ข้อ 11(1)(e) ภายใต้กฎระเบียบ Food Regulations 1985 โดยเพิ่มเติมข้อกำหนดสำหรับการแสดงน้ำในรายการส่วนประกอบของผลิตภัณฑ์ โดยเรียงลำดับจากมากไปน้อย
วันที่มีผลบังคับใช้ : ภายหลังพ้น 6 เดือน นับจากวันเผยแพร่ประกาศ
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/466/Add.2
06 กรกฎาคม 2564
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกเลี้ยงและสัตว์ปีกป่า และผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีกเลี้ยงและสัตว์ปีกป่า
สาระสำคัญ : ประกาศ Order No. 40 Series of 2021 ยกเลิกการระงับการนำเข้าชั่วคราวสำหรับสัตว์ปีกเลี้ยง สัตว์ปีกป่าและผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีกดังกล่าว รวมทั้งเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อที่มีแหล่งกำเนิดจาก Letherbridge และ Victoria ออสเตรเลีย โดยมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 2 ก.ค. 64
วันที่มีผลบังคับใช้ : 2 ก.ค. 64
ออสเตรเลีย




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/122
02 กรกฎาคม 2564
มาตรการปกติ
สินค้าผลิตภัณฑ์และสินค้า
สาระสำคัญ : จัดทำร่างพระราชกฤษฎีการะบุถึงระบบการจัดการ, วิธีการ, คำสั่งและขั้นตอนปฏิบัติสำหรับการตรวจสอบระดับรัฐ (state inspection) ด้านคุณภาพและความปลอดภัยของสินค้านำเข้า มีสาระสำคัญ ดังนี้
1. ร่าง พ.ร.ฎ. ฉบับนี้ ระบุถึงระบบการจัดการ, วิธีการ, คำสั่งและขั้นตอนปฏิบัติการตรวจสอบระดับรัฐด้านคุณภาพ (state quality inspection) สำหรับสินค้าที่ระบุในรายการสินค้านำเข้าที่ต้องผ่านการตรวจสอบระดับรัฐด้านคุณภาพ (สินค้ากลุ่มที่ 2 ภายใต้กฎหมายผลิตภัณฑ์และคุณภาพสินค้า (Law on Product and Goods Quality)) และระบุกลไกการจัดการ วิธีการ คำสั่งและขั้นตอนปฏิบัติการตรวจสอบระดับรัฐด้านความปลอดภัยอาหาร (state inspection of food safety) สำหรับสินค้าที่ระบุในรายการสินค้านำเข้าที่ต้องผ่านการตรวจสอบระดับรัฐด้านความปลอดภัยอาหารภายใต้กฎหมายความปลอดภัยอาหาร (Food Safety Law)
2. ร่าง พ.ร.ฎ. ฉบับนี้จะไม่มีผลบังคับใช้กับสินค้านำเข้าดังต่อไปนี้:
a) สินค้าที่ระบุในข้อ 1 ที่มีวัตถุประสงค์ในการใช้งานเฉพาะเพื่อความปลอดภัยและปกป้องตนเอง
b) สินค้าที่ถูกควบคุมโดยมาตรการกักกันและตรวจสอบความปลอดภัยอาหารและคุณภาพ ภายใต้การกำกับดูแลโดยกระทรวงเกษตรและพัฒนาชนบท (Ministry of Agriculture and Rural Development)
c) วัตถุดิบสำหรับการผลิตยา ยาสำหรับมนุษย์ และยาสัตว์
3. ร่าง พ.ร.ฎ. ฉบับนี้มีผลต่อหน่วยงาน องค์กร และบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการนำเข้าสินค้าที่ต้องผ่านการตรวจสอบคุณภาพและความปลอดภัยอาหารรวมถึง:
a) องค์กรและบุคคลนำเข้าสินค้าที่ต้องผ่านการตรวจสอบระดับรัฐด้านคุณภาพและความปลอดภัยอาหาร
b) กระทรวงที่มีหน้าที่กำกับดูแลในภาคส่วนและพื้นที่ที่ได้รับมอบหมายในการดำเนินการบริหารระดับรัฐด้านคุณภาพและความปลอดภัยอาหาร โดยเฉพาะอย่างยิ่งหน่วยงานที่อยู่ภายใต้การกำกับดูแลของคณะกรรมการของจังหวัดและเทศบาล
c) หน่วยงานศุลกากร
d) หน่วยงาน และบุคคลอื่นๆ ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการตรวจสอบคุณภาพและความปลอดภัยอาหาร
วันที่มีผลบังคับใช้ : 1 ม.ค. 65
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/121
01 กรกฎาคม 2564
มาตรการปกติ
สินค้าลูกพันธุ์กุ้ง (brackish water shrimp)
สาระสำคัญ : จััดทำร่างกฎระเบียบเชิงเทคนิคเกี่ยวกับเกณฑ์ความปลอดภัยสำหรับพ่อแม่พันธุ์ (broodstock) ลูกกุ้งทะเล (post-larva shrimp) ของกุ้งกุลาดำ (black tiger shrimp (Penaeus monodon))และกุ้งขาว (white leg shrimp (Penaeus vannamei / Litopenaeus vannamei)) โดยกฎระเบียบฉบับนี้มีผลบังคับใช้กับองค์กรและบุคคลที่อาศัยในประเทศเวียดนาม ชาวเวียดนามที่อาศัยอยู่ต่างประเทศ (overseas Vietnamese) องค์กรต่างประเทศและบุคคลที่ดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการค้าและกระบวนการตรวจสอบคุณสมบัติพันธุ์สัตว์น้ำ
วันที่มีผลบังคับใช้ : 6 เดือนหลังจากประกาศเผยแพร่กฎระเบียบ
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/119
01 กรกฎาคม 2564
มาตรการปกติ
สินค้าพันธุ์ปลาน้ำจืด
สาระสำคัญ : จัดทำร่างกฎระเบียบทางเทคนิคเกี่ยวกับพันธุ์ปลาน้ำจืด ส่วนที่ 2: ปลาสวาย (Pangasianodon hypophthalmus) ประกอบด้วยการกำหนดเกณฑ์ความปลอดภัยสำหรับปลาพ่อพันธุ์แม่พันธุ์ (broodstock) ลูกปลาวัยอ่อนระยะ larvae, ลูกปลาวัยอ่อนระยะ fry และลูกปลาตัวเล็ก (fingerling) ของปลาสวาย (Pangasianodon hypophthalmus) โดยกฎระเบียบฉบับนี้มีผลบังคับใช้กับองค์กรณ์และภาคเอกชนในประเทศ หน่วยงานสัญชาติเวียดนามในต่างประเทศ และองค์กรณ์และภาคเอกชนต่างประเทศ ที่มีการดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการค้าและกระบวนการตรวจสอบคุณสมบัติพันธุ์สัตว์น้ำ
วันที่มีผลบังคับใช้ : ภายหลัง 60 วัน นับจากวันประกาศกฎระเบียบ
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/120
01 กรกฎาคม 2564
มาตรการปกติ
สินค้าลูกกุ้งทะเลหลังวัยอ่อน (post-larva shrimp)
สาระสำคัญ : จััดทำร่างกฎระเบียบเชิงเทคนิคเกี่ยวกับเกณฑ์ความปลอดภัยของลูกกุ้งทะเลหลังวัยอ่อน (post-larva shrimp) โดยกฎระเบียบฉบับนี้มีผลบังคับใช้กับองค์กรและบุคคลที่อาศัยในประเทศเวียดนาม ชาวเวียดนามที่อาศัยอยู่ต่างประเทศ (overseas Vietnamese) องค์กรต่างประเทศและบุคคลที่ดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการค้าและกระบวนการตรวจสอบคุณสมบัติพันธุ์สัตว์น้ำ
วันที่มีผลบังคับใช้ : 6 เดือนหลังจากวันประกาศกฎระเบียบ
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/117
29 มิถุนายน 2564
มาตรการปกติ
สินค้าพันธุ์ปลาน้ำกร่อย (Salt-brackish water fish seed)
สาระสำคัญ : จัดทำร่างกฎระเบียบทางเทคนิคเกี่ยวกับพันธ์ุปลาน้ำกร่อย (Salt-brackish water fish seed) ประกอบด้วยการกำหนดเกณฑ์ความปลอดภัยสำหรับปลาพ่อพันธุ์แม่พันธุ์ (broodstock) ลูกปลาวัยอ่อนระยะ fry และลูกปลาตัวเล็ก (fingerling) ของพันธุ์ปลาน้ำกร่อย 8 สายพันธุ์ โดยกฎระเบียบฉบับนี้มีผลบังคับใช้กับองค์กรและบุคคลที่อาศัยในประเทศเวียดนาม ชาวเวียดนามที่อาศัยอยู่ต่างประเทศ (overseas Vietnamese) องค์กรต่างประเทศและบุคคลที่ดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการค้าและกระบวนการตรวจสอบคุณสมบัติพันธุ์สัตว์น้ำ
วันที่มีผลบังคับใช้ : 6 เดือนหลังจากประกาศใช้
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/118
29 มิถุนายน 2564
มาตรการปกติ
สินค้าพันธุ์หอย (Molluscs seed)
สาระสำคัญ : จัดทำร่างกฎระเบียบทางเทคนิคเกี่ยวกับเกณฑ์ความปลอดภัยสำหรับแม่พันธุ์หอย (brood-molluscs) ลูกพันธุ์หอย (Molluscs seed) 6 สายพันธุ์ โดยกฎระเบียบฉบับนี้จะบังคับใช้กับองค์กรและบุคคลที่อาศัยในประเทศเวียดนาม ชาวเวียดนามที่อาศัยอยู่ต่างประเทศ (overseas Vietnamese) องค์กรต่างประเทศและบุคคลที่ดำเนินกิจกรรมหรือมีความเกี่ยวข้องกับการค้าและกระบวนการตรวจสอบคุณภาพลูกพันธุ์สัตว์น้ำ (aquatic seed)
วันที่มีผลบังคับใช้ : 6 เดือนหลังจากประกาศใช้
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/116
18 มิถุนายน 2564
มาตรการปกติ
สินค้าพันธุ์ปลาน้ำจืด (Freshwater fish seed)
สาระสำคัญ : จัดทำร่างกฎระเบียบทางเทคนิคเกี่ยวกับพันธุ์ปลาน้ำจืด (Freshwater fish seed) ประกอบด้วยการกำหนดเกณฑ์ความปลอดภัยสำหรับปลาพ่อพันธุ์แม่พันธุ์ (broodstock) ลูกปลาวัยอ่อนระยะ larvae, ลูกปลาวัยอ่อนระยะ fry และลูกปลาตัวเล็ก (fingerling) ของพันธุ์ปลาน้ำจืด 20 สายพันธุ์ โดยกฎระเบียบฉบับนี้มีผลบังคับใช้กับองค์กรและบุคคลที่อาศัยในประเทศเวียดนาม ชาวเวียดนามที่อาศัยอยู่ต่างประเทศ (overseas Vietnamese) องค์กรต่างประเทศและบุคคลที่มีการดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการค้าและกระบวนการตรวจสอบคุณสมบัติพันธุ์สัตว์น้ำ
วันที่มีผลบังคับใช้ : ภายหลัง 6 เดือน หลังพ้นจากวันประกาศกฎระเบียบ
ประเทศคู่ค้า




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/111/Add.1
09 มิถุนายน 2564
มาตรการปกติ
สินค้าวัตถุเจือปนอาหาร
สาระสำคัญ : ประกาศ Regulation of Food and Drugs Agency No 11 of 2021 เกี่ยวกับวัตถุเติมแต่งกลิ่น (Flavoring Additives) ซึ่งเป็นฉบับเพิ่มเติมจาก Regulation No 13 of 2020
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




สิงคโปร์ G/SPS/N/SGP/71
28 พฤษภาคม 2564
มาตรการปกติ
สินค้าNon-human primates (for laboratory use); HS Code: 01061100
สาระสำคัญ : ทบทวนและแก้ไขเงื่อนไขด้านสัตวแพทย์สำหรับการนำเข้าสัตว์ทดลองในอันดับ Primates โดยมีสาระสำคัญ ดังนี้
- ภายใต้ Part IV: VETERINARY CERTIFICATION
1. Included text "The animals would be transported in containers that comply with the International Air Transport Association (IATA) Live Animals Regulations."
2. แก้ไขข้อความในการได้รับวัคซีน จาก "The animals have never been vaccinated against yellow fever and have not been vaccinated with any vaccine within thirty (30) days of export, unless approved by the NParks/AVS;" เป็น "The animals have not been vaccinated with any vaccine within thirty (30) days of export, unless approved by the NParks/AVS;"
- ภายใต้ Part VI: QUARANTINE
3. แก้ไขข้อความในในการทดสอบ Tuberculosis (TB) ภายหลังจากสินค้าถึงสิงคโปร์แล้ว และยกเลิกการทดสอบ Yellow fever โดยแก้ไขข้อความจาก "The animals shall be subject to the following tests with negative results during quarantine within two weeks of arrival: (i) serology for yellow fever. Animals with borderline or positive titres shall be destroyed at the discretion of Director-General, Animal Health and Welfare; and (ii) comparative skin test with mammalian and avian tuberculin, and other relevant confirmatory tests if required. Animals with positive results shall be destroyed at the discretion of Director- General, Animal Health and Welfare." เป็น "The animals shall be subject to the following tests with negative results during quarantine within two weeks of arrival: tuberculin skin test performed using mammalian old tuberculin (MOT) OR comparative skin test with mammalian and avian tuberculin, and other relevant confirmatory tests if required. Animals with positive results will be investigated and appropriate disease control measures imposed, which may include destruction of the animals." เนื่องจากข้อ 2 และ 3 ดำเนินการภายใต้กรอบ FTA จึงมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2564 และเปิดรับข้อคิดเห็น (สำหรับการแก้ไขในข้อ 1) ถึงวันที่ 27 กรกฎาคม 2564 และจะมีผลบังคับใช้ภายหลังพ้น 6 เดือน นับจากวันประกาศกฎระเบียบ
วันที่มีผลบังคับใช้ : การแก้ไขข้อ 1: ภายหลังพ้น 6 เดือน นับจากวันประกาศกฎระเบียบ การแก้ไขข้อ 2 และ 3: 1 ก.ค. 64
ประเทศคู่ค้า




สิงคโปร์ G/SPS/N/SGP/70
28 พฤษภาคม 2564
มาตรการปกติ
สินค้าสัตว์ในอันดับ (order) Primates (เพื่อใช้แสดงในสวนสัตว์)
สาระสำคัญ : ทบทวนและแก้ไขข้อกำหนดทางการสัตว์แพทย์สำหรับการนำเข้าเพื่อการสัตววิทยาของสัตว์และนกในอันดับ (order) Primates ดังนี้ ส่วนที่ 4: ใบรับรองทางสัตวแพทย์
1. เพิ่มเติมข้อความ ก่อนได้รับการรับรองจากหน่วยงาน NParks/AVS ถ้าสินค้าสัตว์ดังกล่าวอยู่ในประเทศที่ไม่ปลอดจากโรคไข้เหลือง (Yellow Fever) สัตว์ดังกล่าวต้องถูกเคลื่อนย้ายไปไว้ในลังที่สามารถป้องกันยุงได้ (Prior approval from NParks/AVS must be obtained if the consignment of animals is stopping over at an airport in a country not free from yellow fever, and the animals must be transported in mosquito-proof crates;)
2. เพิ่มเติมข้อความ สัตว์ต้องถูกเคลื่อนย้ายโดยอาศัยภายในภาชนะที่เป็นไปตามข้อกำหนดที่สมาคมขนส่งทางอากาศระหว่างประเทศระบุไว้ (The animals would be transported in containers that comply with the International Air Transport Association (IATA) Live Animals Regulations.) [การแก้ไขในส่วนต่อไปนี้จะเป็นไปเพื่อการอำนวยความสะดวกต่อการค้า และไม่ถูกกำหนดโดยระยะเวลาแสดงความคิดเห็น และจะมีผลบังคับใช้ในวันที่ 1 ก.ค. 64]
ส่วนที่ 4 ใบรับรองทางสัตวแพทย์ 3. แก้ไขข้อความในที่อยู่อาศัยและการกักตัวก่อนการส่งออก ดังนี้
เปลี่ยนจากข้อกำหนดระบุว่า
(a) สัตว์ที่ไม่ได้อยู่ในสวนสัตว์ตามข้อกฎหมายระบุเป็นเวลาอย่างน้อยสองปี จะต้องถูกกักกันในที่เลี้ยงปลอดจากยุงอย่างน้อย 3 เดือนก่อนการส่งออก;
(b) ถ้าสัตว์อยู่ในสวนสัตว์ตามข้อกฎหมายระบุเป็นเวลาอย่างน้อยสองปี จะต้องถูกกักอยู่ในที่เลี้ยงของสวนสัตว์ต่ออีกเป็นระยะเวลา 1 เดือนก่อนการส่งออก เป็น
(a) สัตว์ที่ถูกเลี้ยงในสถานที่เกิดตั้งแต่แรก หรือถูกเลี้ยงมาเป็นระยะเวลาอย่างน้อยสองปีก่อนการส่งออกจะต้องถูกกักกันเป็นเวลาอย่าง 30 วัน โดยทันทีก่อนการส่งออก; หรือ
(b) สัตว์ที่ไม่ได้อยู่ในสวนสัตว์ตามข้อกฎหมายระบุเป็นเวลาอย่างน้อยสองปี จะต้องถูกกักกันในที่เลี้ยงปลอดจากยุงอย่างน้อย 90 วันก่อนการส่งออก
4. แก้ไขข้อความเกี่ยวกับวัคซีนจาก: สัตว์ที่ไม่เคยได้รับวัคซีนต้านโรคไข้เหลืองหรือไม่ได้รับวัคซีนใดๆ ในช่วงระยะเวลา 30 วัน ก่อนการส่งออก เว้นแต่ได้รับอนุญาตจาก NParks/AVS; เป็น สัตว์ที่ไม่เคยได้รับวัคซีนใดๆ ในช่วงระยะเวลา 30 วัน ก่อนการส่งออก เว้นแต่ได้รับอนุญาตจาก NParks/AVS;
5. แก้ไขข้อกำหนดสำหรับสถานที่เลี้ยงป้องกันยุงจาก: สัตว์ที่ไม่ได้อยู่ในสวนสัตว์ตามข้อกฎหมายระบุเป็นเวลาอย่างน้อยสองปี ต้องถูกเลี้ยงดูและขนส่งโดยใช้สถานที่เลี้ยงป้องกันยุง เป็น สัตว์ที่ไม่ได้อยู่ในสวนสัตว์ตามข้อกฎหมายระบุเป็นเวลาอย่างน้อยสองปี ต้องถูกขนส่งโดยใช้ลังเลี้ยงป้องกันยุง ส่วนที่ 6 เกี่ยวกับการกักกัน
6. แก้ไขข้อกำหนดการกักกันจาก: เมื่อถึงประเทศผู้นำเข้าแล้ว สัตว์ที่ไม่ได้อยู่ในสวนสัตว์ตามข้อกฎหมายระบุเป็นเวลาอย่างน้อยสองปีต้องถูกกักกันเป็นเวลาอย่างน้อย 3 เดือน ในสถานที่เลี้ยงป้องกันยุงภายในสวนสัตว์" เป็น "เมื่อมาถึงประเทศผู้นำเข้าแล้ว (a) สัตว์ที่ไม่ได้อยู่ในสวนสัตว์ตามข้อกฎหมายระบุเป็นเวลาอย่างน้อยสองปี ต้องถูกกักกันเป็นเวลาอย่างน้อย 90 วัน ในสถานที่เลี้ยงป้องกันยุงในพื้นที่ที่กำหนดของผู้นำเข้า; หรือ (b) สัตว์ที่ถูกเลี้ยงในสถานที่เกิดตั้งแต่แรก หรือถูกเลี้ยงมาเป็นระยะเวลาอย่างน้อยสองปีก่อนการส่งออก ต้องถูกกักกันเป็นเวลาอย่างน้อย 30 วัน ในสถานที่เลี้ยงป้องกันยุงภายในพื้นที่ที่กำหนดของผู้นำเข้า
7. แก้ไขข้ออความในข้อกำหนดการทดสอบวัณโรค (Tuberculosis; TB) หลั
วันที่มีผลบังคับใช้ : - ข้อที่ 1 - 2 เป็นช่วง 6 เดือนหลังมีการตีพิมพ์ - ข้อที่ 3 - 7 ในวันที่ 1 ก.ค. 64
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/113/Add.3
12 พฤษภาคม 2564
มาตรการปกติ
สินค้าอาหารสัตว์น้ำ
สาระสำคัญ : จัดทำร่างกฎระเบียบด้านเทคนิค เรื่อง อาหารสัตว์และวัตถุดิบสำหรับอาหารสัตว์น้ำ (Animal feed and ingredients in aquaculture feed) โดยกำหนดปริมาณสูงสุดของสารพิษจากเชื้อรา (aflatoxin b1, HCN, Gossypol) โลหะหนัก (arsenic, cadmium, lead, mercury) เชื้อจุลินทรีย์ Escherichia coli และ Salmonella spp. และสารไม่พึงประสงค์อื่นๆ (N-NH3?) ในอาหารสัตว์และส่วนประกอบในอาหารสัตว์น้ำ โดยกฎระเบียบนี้ใช้กับองค์กรและบุคคลในเวียดนาม องค์กรของเวียดนามในต่างประเทศ องค์กรและบุคคลต่างประเทศ ที่ดำเนินการเกี่ยวกับการค้าและกระบวนการตรวจสอบอาหารสัตว์
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/113/Add.2
11 พฤษภาคม 2564
มาตรการปกติ
สินค้าอาหารสัตว์น้ำ
สาระสำคัญ : จัดทำร่างกฎระเบียบด้านเทคนิค เรื่อง อาหารสัตว์และวัตถุดิบสำหรับอาหาสัตว์น้ำ (Animal feed and ingredients in aquaculture feed) โดยกำหนดปริมาณสูงสุดของสารพิษจากเชื้อรา (aflatoxin b1, HCN, Gossypol) โลหะหนัก (arsenic, cadmium, lead, mercury) เชื้อจุลินทรีย์ Escherichia coli และ Salmonella spp. และสารไม่พึงประสงค์อื่นๆ (N-NH3?) ในอาหารสัตว์และส่วนประกอบในอาหารสัตว์น้ำ โดยกฎระเบียบนี้ใช้กับองค์กรและบุคคลในเวียดนาม องค์กรของเวียดนามในต่างประเทศ องค์กรและบุคคลต่างประเทศ ที่ดำเนินการเกี่ยวกับการค้าและกระบวนการตรวจสอบอาหารสัตว์
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/494
15 เมษายน 2564
มาตรการปกติ
สินค้าสัตว์ปีกและผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีกทุกชนิด รวมถึงเนื้อและเครื่องในสัตว์ปีก ไข่ ลูกไก่ ไข่ฟัก และน้ำเชื้อสัตว์ปีก
สาระสำคัญ : ประกาศมาตรการฉุกเฉิน เมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2564 เกี่ยวกับการระงับการนำเข้าสัตว์ปีกและผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีกทุกชนิด รวมถึงเนื้อ ไข่ ลูกไก่ ไข่ฟัก และน้ำเชื้อสัตว์ปีก ที่มีต้นกำเนิดจากฝรั่งเศส โดยสินค้าที่ผ่านการเชือด/ผลิตก่อนการระบาดของโรคไข้หวัดนก (HPAI) 21 วัน ยังคงได้รับอนุญาตให้นำเข้าได้ ขึ้นอยู่กับแต่ละพื้นที่ที่มีการระบาดของโรค
วันที่มีผลบังคับใช้ : 23 มี.ค. 64
ฝรั่งเศส




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/140
15 เมษายน 2564
มาตรการปกติ
สินค้าอาหารแปรรูป
สาระสำคัญ : ประกาศแจ้งกฎระเบียบของ FDA อินโดนีเซีย ฉบับที่ 28 พ.ศ. 2562 ว่าด้วยสารช่วยในกระบวนการผลิต/แปรรูป (Processing Aids) อาหาร ซึ่งกฎหมายฉบับนี้แบ่งกลุ่มสาร Processing Aids ออกเป็น 11 ชนิด ได้แก่
1. Bleaching, Washing และ Peeling Agents
2. Clarifying Agents, Filtration Aids, Adsorbent, และ Decolourant
3. Boiler Water Additive
4. Enzyme
5. Flocculating Agents
6. Catalyst
7. Nutrition for Microbes
8. Microorganism Control Agents
9. Immobilized Enzyme
10. Ion Exchange Resins
11. Other Processing Aids
เพื่อรับประกันคุณภาพและความปลอดภัยของอาหาร
วันที่มีผลบังคับใช้ : 17 ต.ค. 62
ประเทศคู่ค้า




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/141
15 เมษายน 2564
มาตรการปกติ
สินค้าสัตว์ ผลิตภัณฑ์จากสัตว์ พืช และผลิตภัณฑ์จากพืช
สาระสำคัญ : ประกาศบังคับใช้กฎระเบียบของกระทรวงเกษตรอินโดนีเซียหมายเลข 1 ประจำปี 2564 เกี่ยวกับเอกสารกักกันสัตว์ ผลิตภัณฑ์จากสัตว์ พืช และผลิตภัณฑ์จากพืช สำหรับการตรวจสอบ ณ ด่านนำเข้า ตามรัฐธรรมนูญเกี่ยวกับกักกันสัตว์ ประมง และ พืช (Law No 21 of 2019) โดยใช้แทนกฎระเบียบฉบับก่อนหน้า (Decree of Ministry of Agriculture No 33 of 2019) และมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 12 เมษายน 2564 กฎระเบียบฉบับนี้มีขอบเขตสำหรับเอกสารกักกันพืช ซึ่งประกอบด้วยรูปแบบและประเภทของเอกสารกักกันพืช และขั้นตอนปฏิบัติสำหรับการออกเอกสารดังกล่าว โดยเอกสารกักกันพืชประกอบด้วย เอกสารหลัก (Main documents) เอกสารสนับสนุน (Supporting documents) และจดหมายแจ้งเตือน (Notification letters) เมื่อแบ่งตามประเภทเอกสารได้ดังนี้ เอกสารหลัก 14 ขนิด เอกสารสนับสนุน 17 ชนิด และจดหมายแจ้งเตือน 6 ชนิด ประกาศแจ้งเตือนสำหรับการไม่มีมาตรการสุขอนามัยพืช จะต้องยื่นเอกสาร SP-6 ซึ่งเป็นเอกสารใหม่สำหรับการส่งออกที่ออกให้สำหรับผลิตภัณฑ์ผักแปรรูปหรือผลิตภัณฑ์ภาคอุตสาหกรรม ที่ไม่อยู่ในรูปแบบที่จะเป็นพาหะของศัตรูพืชได้ ประเภทของเอกสารกักกันพืช มีดังนี้
1. เอกสารหลัก (Main documents): Information letter of transit (KT-1); Approval letter for plant quarantine actions (KT-2); Approval for cargo unloading from conveyance (KT-3); Fumigation certificate (KT-4) Fumigation certificate (in Bahasa Indonesia, KT-5); Certificate of disinfestation/disinfection (KT-6); Certificate of disinfestation/disinfection (in Bahasa Indonesia, KT-7); Detention letter (KT-8); Plant quarantine release certificate (KT-9); Phytosanitary certificate (KT-10); Phytosanitary certificate for re-export (KT-11); Phytosanitary certificate for inter-area (KT-12); Refusal letter (KT-13); Destruction Report (KT-14)
2. เอกสารสนับสนุน (Supporting documents): Letter of assignment (DP-1); Documentary inspections report (DP-2); Sampling report (DP-3); Handover of pathway report (DP-4); Visual examination/identity check report (DP-5); Isolation and observation report (DP-6); Treatment/treatment supervision report (DP-7); Detention Report (DP-8); Refusal Report (DP-9) ;Letter of assignment for destruction (DP-10); Conveyance inspection report (DP-11); Unloading from conveyance supervision report (DP-12); Treatment of conveyance report (DP-13); Plant quarantine sticker (DP-14); Plant quarantine seal (DP-15); Notification of non-compliance (DP-16); Monitoring for movement of pathway (DP-17).
3. จดหมายแจ้งเตือน (Notification letters): Report for entry/exit/transit of pathway (SP-1); Conveyance arrival report (SP-2); Notification letter for completing document requirements (SP-3); Notification letter for treatment (SP-4); Notification for no phytosanitary measures required (in Bahasa Indonesia, SP-5); Notification for no phytosanitary measures required (SP-6)
วันที่มีผลบังคับใช้ : 12 เม.ย. 64
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/115
13 เมษายน 2564
มาตรการปกติ
สินค้าอาหารเสริมเพื่อสุขภาพ
สาระสำคัญ : ประกาศรายชื่อสารที่ถูกห้ามใช้ในการผลิตและการค้าผลิตภัณฑ์อาหารเสริมเพื่อสุขภาพ กำหนดรายละเอียด ดังนี้
- มาตรา 1 ขอบเขตและวิธีการใช้งาน
- มาตรา 2 รายชื่อสารที่ถูกห้ามใช้ในการผลิตและการค้าผลิตภัณฑ์อาหารเสริมเพื่อสุขภาพ
- มาตรา 3 การใช้บทบัญญัติ
- มาตรา 4 การกำหนดหน้าที่ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ประกาศฉบับนี้มีผลบังคับใช้กับองค์กรและเอกชนของเวียดนาม องค์กรระหว่างประเทศและเอกชนที่เวียดนามมีส่วนร่วมในการผลิตและการค้าผลิตภัณฑ์อาหารเสริมเพื่อสุขภาพ องค์กรและเอกชนที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์อาหารเสริมเพื่อสุขภาพในเวียดนาม
วันที่มีผลบังคับใช้ : 30 ก.ค. 64
ประเทศคู่ค้า




มาเลเซีย G/SPS/N/MYS/49
22 มีนาคม 2564
มาตรการปกติ
สินค้าอาหาร
สาระสำคัญ : แก้ไขตารางที่ 25 ของกฎระเบียบอาหาร 1985 เกี่ยวกับการปรับปรุงสัดส่วนของสารอะลูมิเนียม สารหนู และสารคลอโรฟอร์มสูงสุดที่อนุญาตให้มีได้ในอาหาร
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/493
10 มีนาคม 2564
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกมีชีวิต เนื้อและเครื่องในสัตว์ปีก (แบบสด แช่เย็น และแช่แข็ง) ไข่ และไข่ฟัก
สาระสำคัญ : ประกาศมาตรการฉุกเฉินเกี่ยวกับการระงับการนำเข้าชั่วคราวสำหรับสัตว์ปีกเลี้ยงและสัตว์ปีกป่า รวมถึงผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก ได้แก่ เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อจากสหราชอาณาจักรตามคำสั่งกระทรวงเกษตร ฉบับที่ 18 ประจำปี 2021 ลงวันที่ 5 มี.ค. 64
วันที่มีผลบังคับใช้ : 5 มี.ค. 64
สหราชอาณาจักร




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/115/Add.1
09 มีนาคม 2564
มาตรการปกติ
สินค้าวัตถุเจือปนอาหาร : สารปรุงแต่งกลิ่นรส
สาระสำคัญ : ประกาศกฎระเบียบ Food and Drug Authority No. 13 Year of 2020 เกี่ยวกับวัตถุปรุงแต่งกลิ่นรส มีรายละเอียดสำคัญ เช่น การจัดประเภทของวัตถุปรุงแต่งกลิ่นรส ค่า MLs ของวัตถุปรุงแต่งกลิ่นรส รายชื่อสารเสริมรส (Flavouring adjunct) รายชื่อวัตถุปรุงแต่งกลิ่นรส รายชื่อแหล่งที่มาของวัตถุดิบให้กลิ่นจากธรรมชาติและ/หรือแหล่งที่มาของการเตรียมวัตถุปรุงแต่งกลิ่นรส รวมถึงการติดฉลากและข้อกำหนดการขออนุญาตการใช้งานวัตถุปรุงแต่งกลิ่นรส เป็นต้น
- บทบัญญัติใหม่ที่เพิ่มขึ้น ประกอบด้วย รายชื่อตัวทำละลายที่ใช้เป็นสารเสริมรสและรายชื่อแหล่งที่มาของวัตถุดิบให้กลิ่นจากธรรมชาติและ/หรือแหล่งที่มาของการเตรียมวัตถุปรุงแต่งกลิ่นรส
- วัตถุปรุงแต่งกลิ่นรสและอาหารแปรรูปที่มีส่วนผสมของวัตถุปรุงแต่งกลิ่นรสที่ได้รับอนุญาตให้ใช้ในท้องตลาดจะต้องเป็นไปตามกฎระเบียบฉบับนี้ภายในระยะเวลา 24 เดือน หลังจากวันประกาศบังคับใช้กฎระเบียบ
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/492
05 มีนาคม 2564
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีก และผลิตภัณฑ์สัตว์ปีก
สาระสำคัญ : จัดทำคำสั่งเกี่ยวกับมาตรการฉุกเฉินสำหรับการนำเข้าสัตว์ปีก และผลิตภัณฑ์สัตว์ปีกจากรัสเซียดังนี้
1. ห้ามการนำเข้าสัตว์ปีก และผลิตภัณฑ์สัตว์ปีกทั้งจากการเลี้ยงและจากธรรมชาติ โดยรวมไปถึงเนื้อสัตวืปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อสัตว์ปีก
2. หยุดการดำเนินการ และการออกใบรับรอง SPS สำหรับการนำเข้านำเข้าสินค้าตามที่ระบุข้างต้น
3. ห้ามการนำเข้าสินค้าและทำการยึดสินค้าตามที่ระบุข้างต้น ยกเว้นสินค้ากลุ่มดังกล่าวที่ผ่านความร้อน โดยสินค้าในกลุ่มดังกล่าวจะนำมาผ่านการตรวจสอบความเสี่ยงโดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
4. สินค้านำเข้าที่อยู่ในการขนส่งก่อนการออกคำสั่งดังกล่าวจะได้รับการอนุญาติเมื่อมีหลักฐานยืนยันว่าปลอดจากโรค HPAI 21 วันก่อนวันผลิต
5. การนำเข้าผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์ปีกจะถูกควบคุมในเงื่อนไขกำหนดโดยมาตรา 10.4.19 10.4.20 และ 10.4.26 ของ OIE Terrestrial Animal Health Code 2019
วันที่มีผลบังคับใช้ : ทันที
รัสเซีย




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/491
19 กุมภาพันธ ์ 2564
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้า สัตว์ปีกมีชีวิต ลููกไก่ และน้ำเชื้อสัตว์ปีก
สาระสำคัญ : ประกาศระงับการนำเข้าชั่วคราวสัตว์ปีกเลี้ยงและสัตว์ปีกป่าและผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก ได้แก่ เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ และน้ำเชื้อสัตว์ปีกจากสาธารณรัฐเช็ก
รายละเอียดเพิ่มเติม

https://members.wto.org/crnattachments/2021/SPS/PHL/21_1257_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
สาธารณรัฐเช็ก




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/490
01 กุมภาพันธ ์ 2564
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้า สัตว์ปีกเลี้ยงและสัตว์ปีกป่า รวมถึงผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก ได้แก่ เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ เป็นต้น
สาระสำคัญ : ประกาศมาตรการฉุกเฉินเกี่ยวกับการระงับการนำเข้าชั่วคราวสำหรับสัตว์ปีกเลี้ยงและสัตว์ปีกป่า รวมถึงผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก ได้แก่ เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อจากเมือง Kerekegyhaza, Bask-Kiskun ของฮังการี ตามคำสั่งกระทรวงเกษตร ฉบับที่ 10 ประจำปี ค.ศ. 2021 ลงวันที่ 29 ม.ค. 64 โดยมีรายละเอียดสำคัญ เช่น
1. ห้ามนำเข้าสัตว์ปีกเลี้ยงและสัตว์ปีกป่า รวมถึงผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก ได้แก่ เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ
2. ระงับกระบวนการยื่นคำขอและการออกเอกสารด้านสุขอนามัยและสุขอนามัยพืชสำหรับการตรวจปล่อยสินค้านำเข้า (SPS import clearance) ของสินค้าข้างต้นโดยทันที
3. ระงับและตรวจยึดสินค้าดังกล่าวข้างต้นทุกการจัดส่งที่นำเข้า (ยกเว้น ผลิตภัณฑ์ที่ผ่านการฆ่าเชื้อด้วยความร้อน) โดยเจ้าหน้าที่ผู้มีอำนาจ ณ ด่านนำเข้าทุกด่าน เป็นต้น
รายละเอียดเพิ่มเติม

https://members.wto.org/crnattachments/2021/SPS/PHL/21_0786_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 29 ม.ค. 64
Kerekegyhaza, Bask-Kiskun ฮังการี




มาเลเซีย G/SPS/N/MYS/48
25 มกราคม 2564
มาตรการปกติ
สินค้า เมล็ดพืชและผลิตภัณฑ์จากเมล็ดพืช (Grain and grain products)
สาระสำคัญ : แก้ไขและจัดทำข้อกำหนดการนำเข้าฉบับใหม่สำหรับเมล็ดพืชและผลิตภัณฑ์จากเมล็ดพืช โดยให้สอดคล้องกับกฎหมายที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเกี่ยวกับการกักกันและการให้บริการตรวจสอบ ปี ค.ศ. 2011 (Quarantine and Inspection Services Act 2011) โดยกำหนดให้การนำเข้าเมล็ดพืชและผลิตภัณฑ์จากเมล็ดพืชจะต้องแสดงใบอนุญาตนำเข้า (Import Permit) และสินค้าดังกล่าวจะต้องแนบใบรับรองสุขอนามัยพืช (Phytosanitary Certificate)
วันสุดท้ายที่แสดงความเห็น/คัดค้าน : 26 มี.ค. 64
รายละเอียดเพิ่มเติม

https://members.wto.org/crnattachments/2021/SPS/MYS/21_0639_00_x.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 1 เม.ย. 64
ประเทศคู่ค้า




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/139
22 มกราคม 2564
มาตรการปกติ
สินค้า สัตว์น้ำ (ประกอบด้วย ปลา ครัสเตเชียน มอลลัส ฯลฯ)
สาระสำคัญ : การแก้ไขครั้งสุดท้ายของร่างพระราชบัญญัติกระทรวงกิจการทางทะเลและประมง (Ministry of Marine Affairs and Fisheries) ของอินโดนีเซีย เกี่ยวกับการกำหนดประเภทของโรคกักกันสำหรับปลา (Quarantine Diseases of Fish : QDF) การจัดประเภท และพาหะ ดังตารางในภาคผนวก ดังนั้น การนำเข้าสินค้าสัตว์น้ำมายังอินโดนีเซียจะต้องปลอดจาก QDF ที่กำหนด
สืบเนื่องจากการปรับปรุงข้อมูลโรคปลาโดยอ้างอิงจาก OIE พบว่า สถานการณ์โรคปลาในระดับภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก จาก Network of Aquaculture Centres in Asia-Pacific (NACA) และโรคปลาที่พบจากการประเมินความเสี่ยงของกรมประมงอินโดนีเซีย เป็นเหตุให้อินโดนีเซียตัดสินใจแก้ไข พ.ร.บ. กระทรวงกิจการทางทะเลและประมง ฉบับที่ 91 ปี ค.ศ. 2018 เกี่ยวกับการกำหนดประเภทของโรคกักกันสำหรับปลา การจัดประเภท และพาหะ โดยรายละเอียดที่แก้ไขอยู่บนพื้นฐานการศึกษา วิจารณ์ และปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ การใช้งานกฎระเบียบฉบับนี้ :
- โรคปลาทุกชนิดที่ยังไม่มีการปรากฎ และ/หรือ มีการปรากฎในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งในอินโดนีเซีย ซึ่งมีแนวโน้มที่จะแพร่กระจายได้อย่างรวดเร็วหรือในระยะเวลาอันสั้น และก่อให้เกิดความเสียหายแก่ภาคเศรษฐกิจหรือเป็นอันตรายต่อสุขภาพของประชาชน และถูกกำหนดโดยหน่วยงานภาครัฐว่าต้องปกป้องจากการนำเข้ามาสู่ราชอาณาจักร
- โรคกักกันของปลา Class I หมายถึง โรคกักกันทุกชนิดของปลาที่ไม่สามารถเป็นอิสระจากพาหะได้ เนื่องจากยังไม่มีเทคโนโลยีในการจัดการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- โรคกักกันของปลา Class II หมายถึง ศัตรูกักกันและโรคกักกันทุกชนิดของปลาที่สามารถเป็นอิสระจากพาหะได้ เนื่องจากมีเทคโนโลยีในการจัดการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- พาหะของโรคกักกันของปลา หมายถึง ปลา ชิ้นส่วนที่มีแหล่งกำเนิดจากปลา ผลิตภัณฑ์ที่แหล่งกำเนิดจากปลา อาหารสำหรับปลา ชิ้นส่วนของสิ่งดังกล่าว และ/หรือพาหะอื่นๆ (เช่น ballast water PRG ฯลฯ) ที่สามารถให้ที่พัก/นำพา QDF
- ปลา หมายถึง พืชและสัตว์ที่อาศัยอยู่ในน้ำ ที่มีวงจรชีวิตทั้งหมดหรือบางส่วนในนำ้ ไม่ว่าจะมีชีวิตอยู่หรือตายแล้ว รวมถึงชิ้นส่วนของสิ่งดังกล่าว
วันสุดท้ายที่แสดงความเห็น/คัดค้าน : 23 มี.ค. 64
วันที่มีผลบังคับใช้ : เม.ย. 64
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/489
21 มกราคม 2564
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้า สัตว์ปีกมีชีวิตและผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก เช่น เนื้อและเครื่องในสัตว์ปีก (แบบสด แช่เย็น และแช่แข็ง) ไข่ ไข่ฟัก
สาระสำคัญ : ประกาศมาตรการฉุกเฉินเกี่ยวกับการระงับการนำเข้าชั่วคราวสำหรับสัตว์ปีกเพื่อการค้าและสัตว์ปีกป่า ผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีกประกอบด้วยเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่และน้ำเชื้อที่มีแหล่งกำเนิดมาจาก Knockananna, Co. เมือง Wicklow ประเทศไอร์แลนด์ ตาม Agriculture Memorandum Order No. 7 Series of 2021 ลงวันที่ 15 ม.ค. 64 มีรายละเอียด ดังนี้
1. ระงับการนำเข้าสัตว์ปีกเพื่อการค้าและสัตว์ปีกป่า ผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีกประกอบด้วยเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่และน้ำเชื้อ
2. ระงับกระบวนการ การประเมินผลของการยื่นคำขอและการออก SPS import clearance สำหรับสินค้าดังระบุในข้อ 1
3. ระงับและตรวจยึดทุกสินค้าดังรายการที่ระบุในข้อ 1 (ยกเว้น ผลิตภัณฑ์ที่ผ่านการฆ่าเชื้อด้วยความร้อน) ที่นำเข้า โดยเจ้าหน้าที่กักกัน ณ ด่านนำเข้าทุกแห่ง
4. การนำเข้าผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์ปีกดำเนินการตามเงื่อนไขที่ระบุในมาตรา 10.4.19, 10.4.20 และ 10.4.26 ของ OIE Terrestrial Animal Health Code (2019)
วันสุดท้ายที่แสดงความเห็น/คัดค้าน : -
รายละเอียดเพิ่มเติม

https://members.wto.org/crnattachments/2021/SPS/PHL/21_0544_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 15 ม.ค. 64
Knockananna, Co. เมือง Wicklow ไอร์แลนด์




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/486
15 มกราคม 2564
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้า สัตว์ปีกมีชีวิตและผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก เช่น เนื้อและเครื่องในสัตว์ปีก (แบบสด แช่เย็น และแช่แข็ง) ไข่ ไข่ฟัก
สาระสำคัญ : ประกาศมาตรการฉุกเฉินเกี่ยวกับการระงับการนำเข้าชั่วคราวสำหรับสัตว์ปีกเพื่อการค้าและสัตว์ปีกป่า ผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีกประกอบด้วยเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่และน้ำเชื้อที่มีแหล่งกำเนิดมาจากเมือง Corsica, ?le-de-France, Aquitaine, Pays de la Loire and Midi-Pyr?n?es ประเทศฝรั่งเศส ตาม Agriculture Memorandum Order No. 2 Series of 2021 ลงวันที่ 11 ม.ค. 64 มีรายละเอียด ดังนี้
1. ระงับการนำเข้าสัตว์ปีกเพื่อการค้าและสัตว์ปีกป่า ผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีกประกอบด้วยเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่และน้ำเชื้อ
2. ระงับกระบวนการ การประเมินผลของการยื่นคำขอและการออก SPS import clearance สำหรับสินค้าดังระบุในข้อ 1
3. ทุกๆ สินค้าเนื้อสัตว์ปีกนำเข้าที่มี SPS import clearance ที่ออกก่อนหน้าหรือ ณ วันที่ 21 ธ.ค. 63 จะได้รับอนุญาตในกรณีเป็นเนื้อสัตว์ปีกแช่แข็งที่ผ่านการเชือด/กระบวนการ 21 วันก่อนการแพร่ระบาดของโรค HPAI ครั้งแรก (ก่อนหน้าหรือ ณ วันที่ 17 ต.ค. 63) โดยทุกสินค้าจะต้องผ่านตามกฎเกณฑ์และกฎระเบียบกักกันสัตว์
4. ทุกสินค้าที่มีการนำผ่าน (transit) ภายหลังการประกาศคำสั่งอย่างเป็นทางการให้แก่หน่วยงานผู้มีอำนาจของฝรั่งเศสทราบ จะได้รับอนุญาตโดยพิจารณาตามวันที่ผลิตและผลิตภัณฑ์ต้องไม่ได้มาจากพื้นที่ ดังต่อไปนี้ (1) Corsica Region - Haute-Corse, Corse-Du-Sud; (2) ?le-de-France Region - Yvelines; (3) Aquitaine Region - Landes, Deux-S?vres; (4) Pays de la Loire Region - Vend?e; (5) Midi-Pyr?n?es - Hautes-Pyr?n?es
5. ทุกๆ สินค้าที่ได้รับ ณ ด่านนำเข้าของประเทศต้นทางภายหลังจากวันประกาศคำสั่งอย่างเป็นทางการให้แก่หน่วยงานผู้มีอำนาจของฝรั่งเศสทราบ ขอเสนอให้ไม่ทำการขนส่ง
6. สินค้าที่ไม่เป็นไปตามเงื่อนไขข้างต้นในข้อ 3 - 5 ต้องปฏิบัติตาม DA AO 9 s. 2010 Section VII.D
7. การนำเข้าผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์ปีกดำเนินการตามเงื่อนไขที่ระบุในมาตรา 10.4.19, 10.4.20 และ 10.4.26 ของ OIE Terrestrial Animal Health Code (2019)
รายละเอียดเพิ่มเติม

https://members.wto.org/crnattachments/2021/SPS/PHL/21_0449_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 11 ม.ค. 64
เมือง Corsica, Ile-de-France, Aquitaine, Pays dela Loire และ Midi-Pyrenees ฝรั่งเศส




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/487
15 มกราคม 2564
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้า สัตว์ปีกมีชีวิตและผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก เช่น เนื้อและเครื่องในสัตว์ปีก (แบบสด แช่เย็น และแช่แข็ง) ไข่ ไข่ฟัก
สาระสำคัญ : ประกาศมาตรการฉุกเฉินเกี่ยวกับการระงับการนำเข้าชั่วคราวสำหรับสัตว์ปีกเพื่อการค้าและสัตว์ปีกป่า ผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีกประกอบด้วยเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่และน้ำเชื้อที่มีแหล่งกำเนิดมาจากเนเธอร์แลนด์ ตาม Agriculture Memorandum Order No. 3 Series of 2021 ลงวันที่ 11 ม.ค. 64 มีรายละเอียด ดังนี้
1. ระงับการนำเข้าสัตว์ปีกเพื่อการค้าและสัตว์ปีกป่า ผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีกประกอบด้วยเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่และน้ำเชื้อ
2. ระงับกระบวนการ การประเมินผลของการยื่นคำขอและการออก SPS import clearance สำหรับสินค้าดังระบุในข้อ 1
3. ทุกๆ สินค้าเนื้อสัตว์ปีกนำเข้าที่มี SPS import clearance ที่ออกก่อนหน้าหรือ ณ วันที่ 18 ธ.ค. 63 จะได้รับอนุญาตในกรณีเป็นเนื้อสัตว์ปีกแช่แข็งที่ผ่านการเชือด/กระบวนการ 21 วันก่อนการแพร่ระบาดของโรค HPAI ครั้งแรก (ก่อนหน้าหรือ ณ วันที่ 8 ต.ค. 63) โดยทุกสินค้าจะต้องผ่านตามกฎเกณฑ์และกฎระเบียบกักกันสัตว์
4. ทุกสินค้าที่มีการนำผ่าน (transit) ภายหลังการประกาศคำสั่งอย่างเป็นทางการให้แก่หน่วยงานผู้มีอำนาจของเนเธอร์แลนด์ทราบ จะได้รับอนุญาตโดยพิจารณาตามวันที่ผลิตและผลิตภัณฑ์ต้องไม่ได้มาจากพื้นที่ ดังต่อไปนี้ (1) Gelderland - Altfrost, Puiflijk, Terwolde; (2) Groningen - Lutjegast; (3) Utrecht - Hekendorp; (4) Friesland - Witmarsum, Sint Annaparochie, Buitenpost; (5) Zuid-Holland - Maasland
5. ทุกๆ สินค้าที่ได้รับ ณ ด่านนำเข้าของประเทศต้นทางภายหลังจากวันประกาศคำสั่งอย่างเป็นทางการให้แก่หน่วยงานผู้มีอำนาจของเนเธอร์แลนด์ทราบ ขอเสนอให้ไม่ทำการขนส่ง
6. สินค้าที่ไม่เป็นไปตามเงื่อนไขข้างต้นในข้อ 3 - 5 ต้องปฏิบัติตาม DA AO 9 s. 2010 Section VII.D
7. การนำเข้าผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์ปีกดำเนินการตามเงื่อนไขที่ระบุในมาตรา 10.4.19, 10.4.20 และ 10.4.26 ของ OIE Terrestrial Animal Health Code (2019)
รายละเอียดเพิ่มเติม

https://members.wto.org/crnattachments/2021/SPS/PHL/21_0450_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 11 ม.ค. 64
เนเธอร์แลนด์




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/488
15 มกราคม 2564
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้า สัตว์ปีกมีชีวิตและผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก เช่น เนื้อและเครื่องในสัตว์ปีก (แบบสด แช่เย็น และแช่แข็ง) ไข่ ไข่ฟัก
สาระสำคัญ : ประกาศมาตรการฉุกเฉินเกี่ยวกับการระงับการนำเข้าชั่วคราวสำหรับสัตว์ปีกเพื่อการค้าและสัตว์ปีกป่า ผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีกประกอบด้วยเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่และน้ำเชื้อที่มีแหล่งกำเนิดมาจากเกาหลีใต้ ตาม Agriculture Memorandum Order No. 4 Series of 2021 ลงวันที่ 11 ม.ค. 64 มีรายละเอียด ดังนี้
1. ระงับการนำเข้าสัตว์ปีกเพื่อการค้าและสัตว์ปีกป่า ผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีกประกอบด้วยเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่และน้ำเชื้อ
2. ระงับกระบวนการ การประเมินผลของการยื่นคำขอและการออก SPS import clearance สำหรับสินค้าดังระบุในข้อ 1
3. ระงับและตรวจยึดทุกสินค้าดังรายการที่ระบุในข้อ 1 (ยกเว้น ผลิตภัณฑ์ที่ผ่านการฆ่าเชื้อด้วยความร้อน) ที่นำเข้า โดยเจ้าหน้าที่กักกัน ณ ด่านนำเข้าทุกแห่ง
4. การนำเข้าผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์ปีกดำเนินการตามเงื่อนไขที่ระบุในมาตรา 10.4.19, 10.4.20 และ 10.4.26 ของ OIE Terrestrial Animal Health Code (2019)
รายละเอียดเพิ่มเติม

https://members.wto.org/crnattachments/2021/SPS/PHL/21_0451_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 11 ม.ค. 64
เกาหลีใต้




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/137/Corr.1
13 มกราคม 2564
มาตรการปกติ
สินค้า อาหารแปรรูป
สาระสำคัญ : แก้ไขข้อความในประกาศแจ้งเวียนหมายเลข G/SPS/N/IDN/137 ลงวันที่ 15 ธ.ค. 63 ดังนี้
5. Title of the notified document: กฎระเบียบของ Indonesian National Food and Drug Agency ฉบับที่ 8 ปี ค.ศ. 2018 เรื่อง ปริมาณสารเคมีปนเปื้อนสูงสุดในสินค้าอาหารแปรรูป (Maximum Limits of Chemical Contamination in Processed Food)
https://members.wto.org/crnattachments/2021/SPS/IDN/21_0394_00_x.pdf
6. Description of content: สินค้าอาหารแปรรูปใดๆ ที่ผลิต นำเข้า และ/หรือจำหน่ายในอินโดนีเซียต้องปฏิบัติตามข้อกำหนดในกฎระเบียบของ Indonesian National Food and Drug Agency ฉบับที่ 8 ปี ค.ศ. 2018 เรื่อง ปริมาณสารเคมีปนเปื้อนสูงสุดในสินค้าอาหารแปรรูป โดยมีสาระสำคัญ ดังนี้
- การปนเปื้อนสารเคมีที่ระบุในกฎระเบียบฉบับนี้ ประกอบด้วย:
a) การปนเปื้อน Mycotoxin (Aflatoxins, Deoxynivalenol (DON), Ochratoxin A (OTA), Fumonisin และ Patulin);
b) การปนเปื้อน Dioxin;
c) การปนเปื้อน 3-Monochloropropan-1,2-diol (3MCPD); และ
d) การปนเปื้อน Polycyclic aromatic hydrocarbons (PAHs)
- ค่า MLs ของการปนเปื้อนสารเคมีดังกล่าวถูกระบุในภาคผนวก 1 2 และ 3 ของกฎระเบียบฉบับนี้
- การตรวจสอบตามข้อกำหนดเกี่ยวกับ ค่า ML ของการปนเปื้อนสารเคมีในอาหารแปรรูปและอาหารแปรรูปที่ผลิตในระดับอุตสาหกรรมครัวเรือน (Home indructry) ประกอบด้วยการตรวจสอบก่อนการจำหน่ายสินค้าและในระหว่างที่สินค้าวางจำหน่าย
- เมื่อกฎระเบียบฉบับนี้มีผลบังคับใช้ กฎระเบียบของ Indonesian National Food and Drug Agency หมายเลข HK.00.06.1.52.4011 ปี ค.ศ. 2009 เกี่ยวกับการกำหนดค่า MLs ของจุลินทรีย์และการปนเปื้อนสารเคมีในอาหารจะสิ้นสุดการบังคับใช้
วันที่มีผลบังคับใช้ : 5 มิ.ย. 61
ประเทศคู่ค้า




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/138/Corr.1
13 มกราคม 2564
มาตรการปกติ
สินค้า อาหารแปรรูป
สาระสำคัญ : แก้ไขข้อความในประกาศแจ้งเวียนหมายเลข G/SPS/N/IDN/138 ลงวันที่ 15 ธ.ค. 63 ดังนี้
5. Title of the notified document: กฎระเบียบของ Indonesian National Food and Drug Agency ฉบับที่ 13 ปี ค.ศ. 2019 เรื่อง ปริมาณจุลินทรีย์ปนเปื้อนสูงสุดในสินค้าอาหารแปรรูป (Maximum Limits of Microbial Contamination in Processed Food)
https://members.wto.org/crnattachments/2021/SPS/IDN/21_0395_00_x.pdf
6. Description of content: สินค้าอาหารแปรรูปใดๆ ที่ผลิต นำเข้า และ/หรือจำหน่ายในอินโดนีเซียต้องปฏิบัติตามข้อกำหนดในกฎระเบียบของ Indonesian National Food and Drug Agency ฉบับที่ 13 ปี ค.ศ. 2019 เรื่อง ปริมาณจุลินทรีย์ปนเปื้อนสูงสุดในสินค้าอาหารแปรรูป
กฎระเบียบฉบับนี้ไม่มีผลบังคับใช้กับอาหารปลอดเชื้อเพื่อการค้า โดยมีสาระสำคัญ ดังนี้
- เกณฑ์การจำแนกจุลินทรีในอาหารแปรรูป ประกอบด้วย:
a) ประเภทของอาหารแปรรูป;
b) ประเภทพารามิเตอร์ของการทดสอบจุลินทรีย์;
c) ปริมาณจุลินทรีย์;
d) การวางแผนการสุ่มตัวอย่าง; และ
e) วิธีการวิเคราะห์
- เกณฑ์การจำแนกจุลินทรีย์ถูกระบุในภาคผนวกของกฎระเบียบฉบับนี้
- เมื่อกฎระเบียบฉบับนี้มีผลบังคับใช้ กฎระเบียบของ Indonesian National Food and Drug Agency ฉบับที่ 16 ปี ค.ศ. 2019 เกี่ยวกับเกณฑ์การจำแนกจุลินทรีย์ในสินค้าอาหารแปรรูปจะสิ้นสุดการบังคับใช้
วันที่มีผลบังคับใช้ : 5 ก.ค. 62
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/484
05 มกราคม 2564
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้า สัตว์ปีกมีชีวิต เนื้อและเครื่องในสัตว์ปีก (แบบสด แช่เย็น และแช่แข็ง) ไข่ และไข่ฟัก
สาระสำคัญ : ประกาศมาตรการฉุกเฉินเกี่ยวกับการระงับการนำเข้าชั่วคราวสำหรับสัตว์ปีกเลี้ยงและสัตว์ปีกป่า รวมถึงผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก ได้แก่ เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อจากสหราชอาณาจักร ตามคำสั่งกระทรวงเกษตร ฉบับที่ 76 ประจำปี ค.ศ. 2020 ลงวันที่ 14 ธ.ค. 63 รายละเอียดสำคัญ ดังนี้
1. ห้ามนำเข้าสัตว์ปีกเลี้ยงและสัตว์ปีกป่า รวมถึงผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก ได้แก่ เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ
2. ระงับกระบวนการประเมินเอกสารคำขอและการออกเอกสารด้านสุขอนามัยและสุขอนามัยพืชสำหรับการตรวจปล่อยสินค้านำเข้า (SPS import clearance) ของสินค้าข้างต้นโดยทันที
3. สินค้าเนื้อสัตว์ปีกนำเข้าทุกการจัดส่ง (Shipment) ที่แนบเอกสารด้าน SPS สำหรับการนำเข้าออก ณ วันที่ 4 ธ.ค. 63 หรือวันก่อนหน้า จะได้รับอนุญาต โดยจะต้องแสดงข้อมูลว่าเนื้อสัตว์ปีกแช่แข็งผ่านกระบวนการเชือดเป็นเวลา 21 วัน ก่อนการแพร่่ระบาดของโรค HPAI (ณ วันที่ 3 ต.ค. 63 หรือวันก่อนหน้า) โดยสินค้าทั้งหมดจะต้องผ่านกระบวนการกักกันสัตว์ตามกฎเกณฑ์และกฎระเบียบที่กำหนดไว้
4. ระงับและตรวจยึดสินค้าดังกล่าวข้างต้นทุกการจัดส่งที่นำเข้า (ยกเว้น ผลิตภัณฑ์ที่ผ่านการฆ่าเชื้อด้วยความร้อน) โดยเจ้าหน้าที่ผู้มีอำนาจ ณ ด่านนำเข้าทุกด่าน หากไม่เป็นไปตามบทบัญญัติในข้อ 3
5. การนำเข้าผลิตภัณฑ์จากเนื้อสัตว์ปีกจะต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขที่ระบุในมาตรา 10.4.19 10.4.20 และ 10.4.26 ของ OIE Terrestrial Animal Health Code (2019)
รายละเอียดเพิ่มเติม

https://members.wto.org/crnattachments/2021/SPS/PHL/21_0095_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 14 ธ.ค. 63
สหราชอาณาจักร




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/485
05 มกราคม 2564
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้า สัตว์ปีกมีชีวิต เนื้อและเครื่องในสัตว์ปีก (แบบสด แช่เย็น และแช่แข็ง) ไข่ และไข่ฟัก
สาระสำคัญ : ประกาศมาตรการฉุกเฉินเกี่ยวกับการระงับการนำเข้าชั่วคราวสำหรับสัตว์ปีกเลี้ยงและสัตว์ปีกป่า รวมถึงผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก ได้แก่ เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อจากโปแลนด์ ตามคำสั่งกระทรวงเกษตร ฉบับที่ 78 ประจำปี ค.ศ. 2020 ลงวันที่ 21 ธ.ค. 63 รายละเอียดสำคัญ ดังนี้
1. ห้ามการนำเข้าสัตว์ปีกเลี้ยงและสัตว์ปีกป่า รวมถึงผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก ได้แก่ เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ
2. ระงับกระบวนการการประเมินเอกสารคำขอและการออกเอกสารด้านสุขอนามัยและสุขอนามัยพืชสำหรับการตรวจปล่อยสินค้านำเข้า (SPS import clearance) ของสินค้าข้างต้นโดยทันที
3. สินค้าเนื้อสัตว์ปีกนำเข้าทุกการจัดส่ง (Shipment) ที่แนบเอกสารด้าน SPS สำหรับการนำเข้าออก ณ วันที่ 8 ธ.ค. 63 หรือวันก่อนหน้า จะได้รับอนุญาต โดยจะต้องแสดงข้อมูลว่าเนื้อสัตว์ปีกแช่แข็งผ่านกระบวนการเชือดเป็นเวลา 21 วัน ก่อนการแพร่่ระบาดของโรค HPAI (ณ วันที่ 10 พ.ย. 63 หรือวันก่อนหน้า) โดยสินค้าทั้งหมดจะต้องผ่านกระบวนการกักกันสัตว์ตามกฎเกณฑ์และกฎระเบียบที่กำหนดไว้
4. ระงับและตรวจยึดสินค้าดังกล่าวข้างต้นทุกการจัดส่งที่นำเข้า (ยกเว้น ผลิตภัณฑ์ที่ผ่านการฆ่าเชื้อด้วยความร้อน) โดยเจ้าหน้าที่ผู้มีอำนาจ ณ ด่านนำเข้าทุกด่าน หากไม่เป็นไปตามบทบัญญัติในข้อ 3
5. การนำเข้าผลิตภัณฑ์จากเนื้อสัตว์ปีกจะต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขที่ระบุในมาตรา 10.4.19 10.4.20 และ 10.4.26 ของ OIE Terrestrial Animal Health Code (2019)
รายละเอียดเพิ่มเติม

https://members.wto.org/crnattachments/2021/SPS/PHL/21_0130_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 21 ธ.ค. 63
โปแลนด์




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/482
05 มกราคม 2564
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้า สัตว์ปีกมีชีวิต เนื้อและเครื่องในสัตว์ปีก (แบบสด แช่เย็น และแช่แข็ง) ไข่ และไข่ฟัก
สาระสำคัญ : ประกาศมาตรการฉุกเฉินเกี่ยวกับการระงับการนำเข้าชั่วคราวสำหรับสัตว์ปีกเลี้ยงและสัตว์ปีกป่า รวมถึงผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก ได้แก่ เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อจาก Girin-ri, Soseong-myeon, Jeongeup-si เมือง Jeollabuk-do ของเกาหลีใต้ ตามคำสั่งกระทรวงเกษตร ฉบับที่ 74 ประจำปี ค.ศ. 2020 ลงวันที่ 14 ธ.ค. 63 รายละเอียดสำคัญ ดังนี้
1. ห้ามนำเข้าสัตว์ปีกเลี้ยงและสัตว์ปีกป่า รวมถึงผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก ได้แก่ เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ
2. ระงับกระบวนการประเมินเอกสารคำขอและการออกเอกสารด้านสุขอนามัยและสุขอนามัยพืชสำหรับการตรวจปล่อยสินค้านำเข้า (SPS import clearance) ของสินค้าข้างต้นโดยทันที
3. ระงับและตรวจยึดสินค้าดังกล่าวข้างต้นทุกการจัดส่งที่นำเข้า (ยกเว้น ผลิตภัณฑ์ที่ผ่านการฆ่าเชื้อด้วยความร้อน) โดยเจ้าหน้าที่ผู้มีอำนาจ ณ ด่านนำเข้าทุกด่าน
4. การนำเข้าผลิตภัณฑ์จากเนื้อสัตว์ปีกจะต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขที่ระบุในมาตรา 10.4.19 10.4.20 และ 10.4.26 ของ OIE Terrestrial Animal Health Code (2019)
รายละเอียดเพิ่มเติม

https://members.wto.org/crnattachments/2021/SPS/PHL/21_0090_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 14 ธ.ค. 63
Girin-ri, Soseong-myeon, Jeongeup-si เมือง Jeollabuk-do เกาหลีใต้




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/483
05 มกราคม 2564
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้า สัตว์ปีกมีชีวิต เนื้อและเครื่องในสัตว์ปีก (แบบสด แช่เย็น และแช่แข็ง) ไข่ และไข่ฟัก
สาระสำคัญ : ประกาศมาตรการฉุกเฉินเกี่ยวกับการระงับการนำเข้าชั่วคราวสำหรับสัตว์ปีกเลี้ยงและสัตว์ปีกป่า รวมถึงผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก ได้แก่ เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อจากญี่ปุ่น ตามคำสั่งกระทรวงเกษตร ฉบับที่ 75 ประจำปี ค.ศ. 2020 ลงวันที่ 14 ธ.ค. 63 รายละเอียดสำคัญ ดังนี้
1. ห้ามนำเข้าสัตว์ปีกเลี้ยงและสัตว์ปีกป่า รวมถึงผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก ได้แก่ เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ
2. ระงับกระบวนการประเมินเอกสารคำขอและการออกเอกสารด้านสุขอนามัยและสุขอนามัยพืชสำหรับการตรวจปล่อยสินค้านำเข้า (SPS import clearance) ของสินค้าข้างต้นโดยทันที
3. ระงับและตรวจยึดสินค้าดังกล่าวข้างต้นทุกการจัดส่งที่นำเข้า (ยกเว้น ผลิตภัณฑ์ที่ผ่านการฆ่าเชื้อด้วยความร้อน) โดยเจ้าหน้าที่ผู้มีอำนาจ ณ ด่านนำเข้าทุกด่าน
4. การนำเข้าผลิตภัณฑ์จากเนื้อสัตว์ปีกจะต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขที่ระบุในมาตรา 10.4.19 10.4.20 และ 10.4.26 ของ OIE Terrestrial Animal Health Code (2019)
รายละเอียดเพิ่มเติม

https://members.wto.org/crnattachments/2021/SPS/PHL/21_0093_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 14 ธ.ค. 63
ญี่ปุ่น




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/481
04 มกราคม 2564
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้า สัตว์ปีกมีชีวิต เนื้อและเครื่องในสัตว์ปีก (แบบสด แช่เย็น และแช่แข็ง) ไข่ และไข่ฟัก
สาระสำคัญ : ประกาศมาตรการฉุกเฉินเกี่ยวกับการระงับการนำเข้าชั่วคราวสำหรับสัตว์ปีกเลี้ยงและสัตว์ปีกป่า รวมถึงผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก ได้แก่ เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อจาก Lucciana Haute-Corse ของฝรั่งเศส ตามคำสั่งกระทรวงเกษตร ฉบับที่ 70 ประจำปี ค.ศ. 2020 ลงวันที่ 11 ธ.ค. 63 รายละเอียดสำคัญ ดังนี้
1. ระงับการนำเข้าสัตว์ปีกเลี้ยงและสัตว์ปีกป่า รวมถึงผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก ได้แก่ เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ
2. ระงับกระบวนการประเมินเอกสารคำขอและการออกเอกสารด้านสุขอนามัยและสุขอนามัยพืชสำหรับการตรวจปล่อยสินค้านำเข้า (SPS import clearance) ของสินค้าข้างต้นโดยทันที
3. สินค้าเนื้อสัตว์ปีกนำเข้าทุกการจัดส่ง (Shipment) ที่แนบเอกสารด้าน SPS สำหรับการนำเข้าสินค้าที่ออกก่อนหรือออก ณ วันที่ 23 พ.ย. 63 จะได้รับอนุญาต โดยจะต้องแสดงข้อมูลว่าเนื้อสัตว์ปีกแช่แข็งผ่านกระบวนการเชือดเป็นเวลา 21 วัน ก่อนการแพร่่ระบาดของโรค HPAI (ณ วันที่ 17 ต.ค. 63 หรือวันก่อนหน้า) โดยสินค้าทั้งหมดจะต้องผ่านกระบวนการกักกันสัตว์ตามกฎเกณฑ์และกฎระเบียบที่กำหนดไว้
4. ระงับและตรวจยึดสินค้าดังกล่าวข้างต้นทุกการจัดส่งที่นำเข้า (ยกเว้น ผลิตภัณฑ์ที่ผ่านการฆ่าเชื้อด้วยความร้อน) โดยเจ้าหน้าที่ผู้มีอำนาจ ณ ด่านนำเข้าทุกด่าน หากไม่เป็นไปตามบทบัญญัติในข้อ 3
5. การนำเข้าผลิตภัณฑ์จากเนื้อสัตว์ปีกจะต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขที่ระบุในมาตรา 10.4.19 10.4.20 และ 10.4.26 ของ OIE Terrestrial Animal Health Code (2019)
รายละเอียดเพิ่มเติม

https://members.wto.org/crnattachments/2020/SPS/PHL/20_7886_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 11 ธ.ค. 63
Lucciana, Haute-Corse ฝรั่งเศส




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/478
22 ธันวาคม 2563
มาตรการปกติ
สินค้า นกเลี้ยงและนกป่า รวมถึงผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก ได้แก่ เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ประกาศมาตรการฉุกเฉินเกี่ยวกับการระงับการนำเข้านกเลี้ยงและนกป่า รวมถึงผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก ได้แก่ เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อจากเมือง Ystad เมือง Loderup และเมือง Skane Lan ของสวีเดน ลงวันที่ 11 ธ.ค. 63 รายละเอียดสำคัญ ดังนี้
1. ห้ามการนำเข้านกเลี้ยงและนกป่า รวมถึงผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก ได้แก่ เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ
2. ระงับกระบวนการการประเมินเอกสารคำขอและการออกเอกสารด้านสุขอนามัยและสุขอนามัยพืชสำหรับการนำเข้า (SPS import clearance) สินค้าข้างต้น
3. ระงับและตรวจยึดสินค้าดังกล่าวข้างต้นทุกการจัดส่ง (ยกเว้น ผลิตภัณฑ์ที่ผ่านการฆ่าเชื้อด้วยความร้อน) ที่นำเข้าโดยเจ้าหน้าที่ผู้มีอำนาจ ณ ด่านนำเข้าทุกด่าน
4. การนำเข้าผลิตภัณฑ์จากเนื้อสัตว์ปีกจะต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขที่ระบุในมาตรา 10.4.19 10.4.20 และ 10.4.26 ของ OIE Terrestrial Animal Health Code (2019)
รายละเอียดเพิ่มเติม

https://members.wto.org/crnattachments/2020/SPS/PHL/20_7884_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 11 ธ.ค. 63
เมือง Ystad, Loderup และ Skane Lan สวีเดน




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/479
22 ธันวาคม 2563
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้า นกเลี้ยงและนกป่า รวมถึงผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก ได้แก่ เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ประกาศมาตรการฉุกเฉินเกี่ยวกับการระงับการนำเข้านกเลี้ยงและนกป่า รวมถึงผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก ได้แก่ เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อจากเมือง Wolsztyn เมือง Wolsztynski และเมือง Wielkopolskie ของโปแลนด์ ลงวันที่ 14 ธ.ค. 63 รายละเอียดสำคัญ ดังนี้
1. ห้ามการนำเข้านกเลี้ยงและนกป่า รวมถึงผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก ได้แก่ เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ
2. ระงับกระบวนการการประเมินเอกสารคำขอและการออกเอกสารด้านสุขอนามัยและสุขอนามัยพืชสำหรับการนำเข้า (SPS import clearance) สินค้าข้างต้น
3. สินค้าเนื้อสัตว์ปีกนำเข้าทุกการจัดส่ง (Shipment) ที่แนบเอกสารด้าน SPS สำหรับการนำเข้าออก ณ วันที่ 26 พ.ย. 63 หรือวันก่อนหน้า จะได้รับอนุญาต โดยจะต้องแสดงข้อมูลว่าเนื้อสัตว์ปีกแช่แข็งผ่านกระบวนการเชือดเป็นเวลา 21 วัน ก่อนการแพร่่ระบาดของโรค HPAI (ณ วันที่ 2 พ.ย. 63 หรือวันก่อนหน้า) โดยสินค้าทั้งหมดจะต้องผ่านกระบวนการกักกันสัตว์ตามกฎเกณฑ์และกฎระเบียบที่กำหนดไว้
4. ระงับและตรวจยึดสินค้าดังกล่าวข้างต้นทุกการจัดส่ง (ยกเว้น ผลิตภัณฑ์ที่ผ่านการฆ่าเชื้อด้วยความร้อน) ที่นำเข้าโดยเจ้าหน้าที่ผู้มีอำนาจ ณ ด่านนำเข้าทุกด่าน หากไม่ปฏิบัติตามบทบัญญัติในข้อ 3
5. การนำเข้าผลิตภัณฑ์จากเนื้อสัตว์ปีกจะต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขที่ระบุในมาตรา 10.4.19 10.4.20 และ 10.4.26 ของ OIE Terrestrial Animal Health Code (2019)
รายละเอียดเพิ่มเติม

https://members.wto.org/crnattachments/2020/SPS/PHL/20_7887_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 14 ธ.ค. 63
เมือง Wolsztyn, Wolsztynski และ Wielkopolskie โปแลนด์




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/480
22 ธันวาคม 2563
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้า นกเลี้ยงและนกป่า รวมถึงผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก ได้แก่ เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ประกาศมาตรการฉุกเฉินเกี่ยวกับการระงับการนำเข้านกเลี้ยงและนกป่า รวมถึงผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก ได้แก่ เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อจากเมือง Menen และเมือง West Vlaanderen ของเบลเยียม ลงวันที่ 14 ธ.ค. 63 รายละเอียดสำคัญ ดังนี้
1. ห้ามการนำเข้านกเลี้ยงและนกป่า รวมถึงผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก ได้แก่ เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ
2. ระงับกระบวนการการประเมินเอกสารคำขอและการออกเอกสารด้านสุขอนามัยและสุขอนามัยพืชสำหรับการนำเข้า (SPS import clearance) สินค้าข้างต้น
3. สินค้าเนื้อสัตว์ปีกนำเข้าทุกการจัดส่ง (Shipment) ที่แนบเอกสารด้าน SPS สำหรับการนำเข้าออก ณ วันที่ 8 ธ.ค. 63 หรือวันก่อนหน้า จะได้รับอนุญาต โดยจะต้องแสดงข้อมูลว่าเนื้อสัตว์ปีกแช่แข็งผ่านกระบวนการเชือดเป็นเวลา 21 วัน ก่อนการแพร่่ระบาดของโรค HPAI (ณ วันที่ 29 ต.ค. 63 หรือวันก่อนหน้า) โดยสินค้าทั้งหมดจะต้องผ่านกระบวนการกักกันสัตว์ตามกฎเกณฑ์และกฎระเบียบที่กำหนดไว้
4. ระงับและตรวจยึดสินค้าดังกล่าวข้างต้นทุกการจัดส่ง (ยกเว้น ผลิตภัณฑ์ที่ผ่านการฆ่าเชื้อด้วยความร้อน) ที่นำเข้าโดยเจ้าหน้าที่ผู้มีอำนาจ ณ ด่านนำเข้าทุกด่าน หากไม่ปฏิบัติตามบทบัญญัติในข้อ 3
5. การนำเข้าผลิตภัณฑ์จากเนื้อสัตว์ปีกจะต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขที่ระบุในมาตรา 10.4.19 10.4.20 และ 10.4.26 ของ OIE Terrestrial Animal Health Code (2019)
รายละเอียดเพิ่มเติม

https://members.wto.org/crnattachments/2020/SPS/PHL/20_7888_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 14 ธ.ค. 63
เมือง Menen และ West Vlaanderen เบลเยียม




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/467/Add.3
22 ธันวาคม 2563
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้า เนื้อสัตว์ปีก
สาระสำคัญ : ยกเลิกมาตรการฉุกเฉินเกี่ยวกับการระงับการนำเข้าชั่วคราวสำหรับเนื้อสัตว์ปีกจากบราซิล
รายละเอียดเพิ่มเติม

https://members.wto.org/crnattachments/2020/SPS/PHL/20_7889_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : ทันที (ลงวันที่ 14 ธ.ค. 63)
บราซิล




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/137
15 ธันวาคม 2563
มาตรการปกติ
สินค้า อาหารแปรรูป
สาระสำคัญ : สำนักงานอาหารและยาของอินโดนีเซียได้แก้ไขข้อกำหนดเกี่ยวกับการปนเปื้อนของเชื้อจุลินทรีย์ตามที่ระบุในภาคผนวก 1 ภายใต้กฎระเบียบของสำนักงานอาหารและยาฉบับที่ 8 ปี 2561 ว่าด้วยเรื่องปริมาณจุลินทรีย์สูงสุดในอาหาร โดยร่างกฎระเบียบฯ ดังกล่าวได้ระบุเงื่อนไขดังต่อไปนี้
(1) ชนิดของอาหาร
(2) ชนิดของเชื้อจุลินทรีย์ (s) และการจำกัดปริมาณเชื้อจุลินทรีย์ (m, M) และ
(3) วิธีการควบคุมด้วยแนวทางการสุ่มตัวอย่างเพื่อทดสอบที่ห้องปฏิบัติการโดยกำหนดจำนวนตัวอย่างที่จะดำเนินการ (n) ขนาดของหน่วยการวิเคราะห์ตามความเหมาะสมและการยอมรับคุณภาพของสินค้าในล๊อตสินค้า (c)
ทั้งนี้ ข้อกำหนดดังกล่าวจะนำมาใข้แทนที่ข้อกำหนดเดิม
วันที่มีผลบังคับใช้ : 5 มิ.ย. 61
ประเทศคู่ค้า




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/138
15 ธันวาคม 2563
มาตรการปกติ
สินค้า ผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูป
สาระสำคัญ : สำนักงานอาหารและยาของอินโดนีเซียได้แก้ไขข้อกำหนดเกี่ยวกับการปนเปื้อนของเชื้อจุลินทรีย์ตามที่ระบุในภาคผนวก 1 ภายใต้กฎระเบียบของสำนักงานอาหารและยาฉบับที่ 13 ปี 2562ว่าด้วยเรื่องปริมาณจุลินทรีย์สูงสุดในอาหาร โดยร่างกฎระเบียบฯ ดังกล่าวได้ระบุเงื่อนไขดังต่อไปนี้
(1) ชนิดของอาหาร
(2) ชนิดของเชื้อจุลินทรีย์ (s) และการจำกัดปริมาณเชื้อจุลินทรีย์ (m, M) และ
(3) วิธีการควบคุมด้วยแนวทางการสุ่มตัวอย่างเพื่อทดสอบที่ห้องปฏิบัติการโดยกำหนดจำนวนตัวอย่างที่จะดำเนินการ (n) ขนาดของหน่วยการวิเคราะห์ตามความเหมาะสมและการยอมรับคุณภาพของสินค้าในล๊อตสินค้า (c)
ทั้งนี้ ข้อกำหนดดังกล่าวจะนำมาใข้แทนที่ข้อกำหนดเดิม
วันที่มีผลบังคับใช้ : 5 ก.ค. 62
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/452/Add.1
07 ธันวาคม 2563
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้า นกเลี้ยงและนกป่า รวมถึงผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก ได้แก่ เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ยกเลิกมาตรการฉุกเฉินเกี่ยวกับการระงับการนำเข้าชั่วคราวสำหรับนกเลี้ยงและนกป่า รวมถึงผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก ได้แก่ เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ จากฮังการี
รายละเอียดเพิ่มเติม

https://members.wto.org/crnattachments/2020/SPS/PHL/20_7474_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : ทันที (ลงวันที่ 1 ธ.ค. 63)
ฮังการี




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/475
04 ธันวาคม 2563
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้า นกเลี้ยงและนกป่า รวมถึงผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก ได้แก่ เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ประกาศมาตรการฉุกเฉินเกี่ยวกับการระงับการนำเข้าชั่วคราวสำหรับนกเลี้ยงและนกป่า รวมถึงผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก ได้แก่ เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อจากเมือง Tustrup และเมือง Randers ของเดนมาร์ก ลงวันที่ 26 พ.ย. 63 รายละเอียดสำคัญ ดังนี้
1. ห้ามการนำเข้านกเลี้ยงและนกป่า รวมถึงผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก ได้แก่ เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ
2. ระงับกระบวนการการประเมินเอกสารคำขอและการออกเอกสารด้านสุขอนามัยและสุขอนามัยพืชสำหรับการนำเข้า (SPS import clearance) ของสินค้าข้างต้น
3. สินค้าเนื้อสัตว์ปีกนำเข้าทุกการจัดส่ง (Shipment) ที่แนบเอกสารด้าน SPS สำหรับการนำเข้าออก ณ วันที่ 19 พ.ย. 63 หรือวันก่อนหน้า จะได้รับอนุญาต โดยจะต้องแสดงข้อมูลว่าเนื้อสัตว์ปีกแช่แข็งผ่านกระบวนการเชือดเป็นเวลา 21 วัน ก่อนการแพร่่ระบาดของโรค HPAI (ณ วันที่ 25 ต.ค. 63 หรือวันก่อนหน้า) โดยสินค้าทั้งหมดจะต้องผ่านกระบวนการกักกันสัตว์ตามกฎเกณฑ์และกฎระเบียบที่กำหนดไว้
4. ระงับและตรวจยึดสินค้าดังกล่าวข้างต้นทุกการจัดส่ง (ยกเว้น ผลิตภัณฑ์ที่ผ่านการฆ่าเชื้อด้วยความร้อน) ที่นำเข้าโดยเจ้าหน้าที่ผู้มีอำนาจ ณ ด่านนำเข้าทุกด่าน หากไม่ปฏิบัติตามบทบัญญัติในข้อ 3
5. การนำเข้าผลิตภัณฑ์จากเนื้อสัตว์ปีกจะต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขที่ระบุในมาตรา 10.4.19 10.4.20 และ 10.4.26 ของ OIE Terrestrial Animal Health Code (2019)
รายละเอียดเพิ่มเติม

https://members.wto.org/crnattachments/2020/SPS/PHL/20_7435_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 26 พ.ย. 63
เมือง Tustrup และ Randers เดนมาร์ก




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/476
04 ธันวาคม 2563
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้า นกเลี้ยงและนกป่า รวมถึงผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก ได้แก่ เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ประกาศมาตรการฉุกเฉินเกี่ยวกับการระงับการนำเข้านกเลี้ยงและนกป่า รวมถึงผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก ได้แก่ เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อจากเมือง Gelderland และเมือง Groningen ของเนเธอร์แลนด์ ลงวันที่ 26 พ.ย. 63 รายละเอียดสำคัญ ดังนี้
1. ห้ามการนำเข้านกเลี้ยงและนกป่า รวมถึงผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก ได้แก่ เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ
2. ระงับกระบวนการการประเมินเอกสารคำขอและการออกเอกสารด้านสุขอนามัยและสุขอนามัยพืชสำหรับการนำเข้า (SPS import clearance) ของสินค้าข้างต้น
3. สินค้าเนื้อสัตว์ปีกนำเข้าทุกการจัดส่ง (Shipment) ที่แนบเอกสารด้าน SPS สำหรับการนำเข้าออก ณ วันที่ 17 พ.ย. 63 หรือวันก่อนหน้า จะได้รับอนุญาต โดยจะต้องแสดงข้อมูลว่าเนื้อสัตว์ปีกแช่แข็งผ่านกระบวนการเชือดเป็นเวลา 21 วัน ก่อนการแพร่่ระบาดของโรค HPAI (ณ วันที่ 8 ต.ค. 63 หรือวันก่อนหน้า) โดยสินค้าทั้งหมดจะต้องผ่านกระบวนการกักกันสัตว์ตามกฎเกณฑ์และกฎระเบียบที่กำหนดไว้
4. ระงับและตรวจยึดสินค้าดังกล่าวข้างต้นทุกการจัดส่ง (ยกเว้น ผลิตภัณฑ์ที่ผ่านการฆ่าเชื้อด้วยความร้อน) ที่นำเข้าโดยเจ้าหน้าที่ผู้มีอำนาจ ณ ด่านนำเข้าทุกด่าน หากไม่ปฏิบัติตามบทบัญญัติในข้อ 3
5. การนำเข้าผลิตภัณฑ์จากเนื้อสัตว์ปีกจะต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขที่ระบุในมาตรา 10.4.19 10.4.20 และ 10.4.26 ของ OIE Terrestrial Animal Health Code (2019)
รายละเอียดเพิ่มเติม

https://members.wto.org/crnattachments/2020/SPS/PHL/20_7436_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 26 พ.ย. 63
เมือง Gelderland และเมือง Groningen เนเธอร์แลนด์




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/477
04 ธันวาคม 2563
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้า นกเลี้ยงและนกป่า รวมถึงผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก ได้แก่ เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ประกาศมาตรการฉุกเฉินเกี่ยวกับการระงับการนำเข้านกเลี้ยงและนกป่า รวมถึงผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก ได้แก่ เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อจากเมือง Lucciana และเมือง Haute-Corse ของฝรั่งเศส ลงวันที่ 26 พ.ย. 63 รายละเอียดสำคัญ ดังนี้
1. ห้ามการนำเข้านกเลี้ยงและนกป่า รวมถึงผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก ได้แก่ เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ
2. ระงับกระบวนการการประเมินเอกสารคำขอและการออกเอกสารด้านสุขอนามัยและสุขอนามัยพืชสำหรับการนำเข้า (SPS import clearance) สินค้าข้างต้น
3. สินค้าเนื้อสัตว์ปีกนำเข้าทุกการจัดส่ง (Shipment) ที่แนบเอกสารด้าน SPS สำหรับการนำเข้าออก ณ วันที่ 19 พ.ย. 63 หรือวันก่อนหน้า จะได้รับอนุญาต โดยจะต้องแสดงข้อมูลว่าเนื้อสัตว์ปีกแช่แข็งผ่านกระบวนการเชือดเป็นเวลา 21 วัน ก่อนการแพร่่ระบาดของโรค HPAI (ณ วันที่ 17 ต.ค. 63 หรือวันก่อนหน้า) โดยสินค้าทั้งหมดจะต้องผ่านกระบวนการกักกันสัตว์ตามกฎเกณฑ์และกฎระเบียบที่กำหนดไว้
4. ระงับและตรวจยึดสินค้าดังกล่าวข้างต้นทุกการจัดส่ง (ยกเว้น ผลิตภัณฑ์ที่ผ่านการฆ่าเชื้อด้วยความร้อน) ที่นำเข้าโดยเจ้าหน้าที่ผู้มีอำนาจ ณ ด่านนำเข้าทุกด่าน หากไม่ปฏิบัติตามบทบัญญัติในข้อ 3
5. การนำเข้าผลิตภัณฑ์จากเนื้อสัตว์ปีกจะต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขที่ระบุในมาตรา 10.4.19 10.4.20 และ 10.4.26 ของ OIE Terrestrial Animal Health Code (2019)
รายละเอียดเพิ่มเติม

https://members.wto.org/crnattachments/2020/SPS/PHL/20_7437_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 26 พ.ย. 63
เมือง Lucciana และ Haute-Corse ฝรั่งเศส




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/474
24 พฤศจิกายน 2563
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้า สัตว์ปีกมีชีวิต (HS 0105) ได้แก่ ไก่สายพันธุ์ Gallus domesticus เป็ด ห่าน ไก่งวง และไก่ต๊อก เนื้อสัตว์ปีกและส่วนที่กินได้ (HS 0207) ไข่สัตว์ปีกทั้งแบบสดหรือแบบการถนอมอาหารหรือความร้อน (HS 0407) ไข่เชื้อสำหรับการฟัก (HS04071) ไข่สดอื่นๆ (HS 04072) และสินค้าใน HS 040790 และ HS05119
สาระสำคัญ : กระทรวงเกษตรของฟิลิปปินส์ได้ออกประกาศฉบับที่ 63 ปี 2020 เรื่อง การระงับการนำเข้าชั่วคราวสำหรับสัตว์ปีกพื้นบ้านและสัตว์ปีกป่าและผลิตภัณฑ์ของสัตว์ปีกดังกล่าว รวมเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ น้ำเชื้อที่มีแหล่งกำเนิดจากเมือง Frodsham ประเทศอังกฤษ เนื่องจากพบการระบาดของโรคไข้หวัดนกสายพันธุ์รุนแรงซีโรไทป์ H5N8 ในไก่เนื้อ รายงานโดยหัวหน้าด้านสัตวแพทย์ กระทรวงสาธารณสุขของญี่ปุ่นต่อ OIE เมื่อวันที่ 2 พ.ย. 63 ประกาศนี้ลงนามเมื่อวันที่ 18 พ.ย. 63 โดยกำหนดเงื่อนไข ดังนี้
(1) ห้ามนำเข้าสัตว์ปีกป่าและสัตว์ปีกพื้นบ้านและผลิตภัณฑ์สัตว์ปีก รวมทั้งเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่และน้ำเชื้อ
(2) ระงับทันทีต่อกระบวนการแปรรูป การประเมิน และการออกใบอนุญาตการนำเข้าด้าน SPS เพื่อตรวจปล่อยสินค้าดังกล่าว
(3) สินค้าสัตว์ปีกทุกชนิดที่จะนำเข้าทุกชนิดจะต้องมีใบอนุญาตนำเข้าด้าน SPS ที่ออกณ วันที่ หรือก่อนวันที่ 9 พ.ย. 63 โดยจะอนุญาตให้กับสินค้าสัตว์ปีกแช่แข็งที่ผ่านการชำแหละ/แปรรูป 21 วันก่อนจะเริ่มระบาดของโรคไข้หวัดนก ( ณ วันที่ หรือก่อนวันที่ 3 ต.ค. 63) โดยทุก shipment จะต้องดำเนินการตามกฎด้านกักกันด้านสัตวแพทย์
(4) เจ้าหน้าที่ด่าน/ผู้ตรวจสอบทุกท่าเรือสามารถระงับและอายัติสินค้าทุก shipment (ยกเว้นที่ผ่านการฆ่าเชื้อด้วยความร้อน) ที่จะนำเข้ามาในประเทศได้หากไปสอดคล้องตามที่ระบุในข้อ 3
(5) การนำเข้าผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีกจะต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขของ OIE มาตราที่ 10.4.19 10.4.20 และ 10.4.26 ของ OIE Terrestrial Animal Health Code 2019
รายละเอียดเพิ่มเติม

https://members.wto.org/crnattachments/2020/SPS/PHL/20_7266_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 18 พ.ย. 63
สหราชอาณาจักร




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/473
24 พฤศจิกายน 2563
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้า สัตว์ปีกมีชีวิต (HS 0105) ได้แก่ ไก่สายพันธุ์ Gallus domesticus เป็ด ห่าน ไก่งวง และไก่ต๊อก เนื้อสัตว์ปีกและส่วนที่กินได้ (HS 0207) ไข่สัตว์ปีกทั้งแบบสดหรือแบบการถนอมอาหารหรือความร้อน (HS 0407) ไข่เชื้อสำหรับการฟัก (HS04071) ไข่สดอื่นๆ (HS 04072) และสินค้าใน HS 040790 และ HS05119
สาระสำคัญ : กระทรวงเกษตรของฟิลิปปินส์ได้ออกประกาศฉบับที่ 62 ปี 2020 เรื่อง การระงับการนำเข้าชั่วคราวสำหรับสัตว์ปีกพื้นบ้านและสัตว์ปีกป่าและผลิตภัณฑ์ของสัตว์ปีกดังกล่าว รวมเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ น้ำเชื้อที่มีแหล่งกำเนิดจากเมือง Mitoyo, Kagawa ประเทศญี่ปุ่น เนื่องจากพบการระบาดของโรคไข้หวัดนกสายพันธุ์รุนแรงซีโรไทป์ H5N8 ในไก่เนื้อ รายงานโดยหัวหน้าด้านสัตวแพทย์ กระทรวงสาธารณสุขของญี่ปุ่นต่อ OIE เมื่อวันที่ 4 พ.ย. 63
รายละเอียดเพิ่มเติม

https://members.wto.org/crnattachments/2020/SPS/PHL/20_7265_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 18 พ.ย. 63
ญี่ปุ่น




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/136
12 พฤศจิกายน 2563
มาตรการปกติ
สินค้า รังนก
สาระสำคัญ : จัดทำกฎระเบียบเกี่ยวกับมาตรการกักกันสัตว์เพื่อป้องกันการนำเข้าหรือส่งออกรังนกนางแอ่นไปยังและจากอินโดนีเซีย โดยมีประเด็นสำคัญ ดังนี้
1. ห้ามไม่ให้รังนกนางแอ่นสดที่ไม่สะอาดนำเข้าหรือส่งออกจากอินโดนีเซีย
2. จัดทำค่า MLs เพื่อใช้เป็นมาตรฐานสำหรับการปนเปื้อนจุลินทรีย์ สารเคมี และสิ่งปนเปื้อนทางกายภาพ รวมถึงค่าความชื้นสำหรับรังนกนำเข้า
วันที่มีผลบังคับใช้ : 1 ต.ค. 63
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/466/Add.1
11 พฤศจิกายน 2563
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้า สัตว์ปีกเพื่อการค้าและสัตว์ปีกป่า และผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีกดังกล่าว
สาระสำคัญ : ประกาศข้อบังคับ ลงวันที่ 6 พ.ย. 63 แก้ไขประกาศ DA Memorandum Order No. 40 series of 2020 เกี่ยวกับมาตรการฉุกเฉินระงับการนำเข้าชั่วคราวสำหรับสัตว์ปีกเพื่อการค้าและสัตว์ปีกป่า รวมถึงผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีกดังกล่าว รวมถึงเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อจากออสเตรเลีย โดยมีสาระสำคัญ ดังนี้
1. อนุญาตให้มีการนำเข้าสินค้าดังระบุข้างต้น โดยจะต้องมาจากแหล่งผลิตในพื้นที่นอกเมือง Lethebride รัฐวิกทอเรีย ออสเตรเลีย
2. กำหนดให้ระบุการรับรองเพิ่มเติมในใบรับรองสุขภาพสัตว์สำหรับการส่งออกเนื้อสัตว์ปีกจากออสเตรเลียตามมาตรา 10.4.1.9 ของ OIE Terrestrial Code (2019) ดังนี้
- สัตว์ปีกได้ถูกเก็บรักษาในประเทศ โซน หรือคอมพาร์ทเมนต์ ที่ปลอดจากการติดเชื้อ HPAI ในสัตว์ปีก เนื่องจากสัตว์ดังกล่าวฟักอยู่ในไข่หรือออกจากไข่ภายหลังจากระยะเวลาอย่างน้อย 21 วัน
- สัตว์ปีกถูกเชือดในโรงเชือดที่ได้รับอนุญาตในประเทศ โซน หรือคอมพาร์ทเมนต์ ที่ปลอดจากการติดเชื้อ HPAI ในสัตว์ปีกและผ่านกระบวนการตรวจสอบก่อนและหลังการเชือดตามบทที่ 6.3 และพบว่าปราศจากอาการของโรคไข้หวัดนก
รายละเอียดเพิ่มเติม

https://members.wto.org/crnattachments/2020/SPS/PHL/20_6937_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ออสเตรเลีย




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/472
11 พฤศจิกายน 2563
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้า สัตว์ปีกมีชีวิต (ICS 0105), เนื้อและเครื่องในแบบสด แช่เย็น หรือแช่แข็ง (ICS 0207), ไข่จากสัตว์ปีกในรูปแบบฟอง แปรรูป หรือผ่านการปรุงสุก (ICS 0407 และ ICS 040790)
สาระสำคัญ : ประกาศมาตรการฉุกเฉินเกี่ยวกับการระงับการนำเข้าชั่วคราวสำหรับสัตว์ปีกเพื่อการค้าและสัตว์ปีกป่า รวมถึงผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีกดังกล่าว รวมถึงเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อจาก Altforst จังหวัด Gelderland เนเธอร์แลนด์ โดยมีสาระสำคัญ ดังนี้
1. ระงับการนำเข้าสัตว์ปีกเพื่อการค้าและสัตว์ปีกป่า และผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีกดังกล่าว รวมถึงเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ
2. ระงับกระบวนการดำเนินงาน การตรวจประเมินคำขอ และการออกใบอนุญาตนำเข้าสินค้าดังกล่าวโดยทันที
3. สินค้าเนื้อสัตว์ปีกทุกๆ shipment ที่นำเข้ามาโดยแนบใบอนุญาตนำเข้าที่ออกก่อนหน้าหรือออก ณ วันที่ 30 ต.ค. 63 จะได้รับอนุญาตให้นำเข้าได้ หากสามารถแสดงข้อมูลว่าผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์แช่แข็งนั้นๆ ได้รับการชำแหละก่อนการระบาดของโรค HPAI เป็นระยะเวลา 21 วัน (ก่อนหน้าหรือในวันที่ 8 ต.ค. 63) โดยสินค้าทุก shipment จะต้องถูกดำเนินการตามข้อบังคับการกักกันสัตว์และกฎระเบียบที่กำหนด
4. ระงับและตรวจยึดสินค้าทั้งหมดดังที่ระบุข้างต้น (ยกเว้นผลิตภัณฑ์ที่ผ่านการฆ่าเชื้อด้วยความร้อน) ที่จะนำเข้ามายังราชอาณาจักรโดยเจ้าหน้าที่กักกันสัตว์ ณ ด่านเข้าเมืองต่างๆ หากไม่ปฏิบัติตามที่บัญญัติในข้อ 3
5. การนำเข้าผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์ปีกจะต้องดำเนินการตามเงื่อนไขในมาตรา 10.4.19, 10.4.20 และ 10.4.26 ที่บัญญัติไว้ใน OIE Code (2019)
รายละเอียดเพิ่มเติม

https://members.wto.org/crnattachments/2020/SPS/PHL/20_6935_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 30 ต.ค. 63
Altforst จังหวัด Gelderland เนเธอร์แลนด์




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/451/Add.1
29 ตุลาคม 2563
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้า สัตว์ปีกเพื่อการค้าและสัตว์ปีกป่าและผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก รวมถึงเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ประกาศมาตรการฉุกเฉิน Order No. 56 Series of 2020 เกี่ยวกับการยกเลิกการระงับการนำเข้าสัตวฺปีกเพื่อการค้าและสัตว์ปีกป่าและผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก รวมถึงเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อที่มีแหล่งกำเนิดจากโปแลนด์
รายละเอียดเพิ่มเติม

https://members.wto.org/crnattachments/2020/SPS/PHL/20_6615_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
โปแลนด์




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/426/Add.1
28 ตุลาคม 2563
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้า สุกรเพื่อการค้าและสุกรป่าและผลิตภัณฑ์จากสุกร รวมถึงเนื้อสุกรและน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ประกาศมาตรการฉุกเฉิน Order No. 55 Series of 2020 เกี่ยวกับการยกเลิกการระงับการนำเข้าสุกรเพื่อการค้าและสุกรป่าและผลิตภัณฑ์จากสุกร รวมถึงเนื้อสุกรและน้ำเชื้อที่มีแหล่งกำเนิดจากเบลเยียม
รายละเอียดเพิ่มเติม

https://members.wto.org/crnattachments/2020/SPS/PHL/20_6557_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
เบลเยียม




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/114
27 ตุลาคม 2563
มาตรการปกติ
สินค้า เนื้อสัตว์แช่เย็น
สาระสำคัญ : จัดทำมาตรฐานข้อกำหนดทางเทคนิคเกี่ยวกับเนื้อสัตว์ปีกแช่เย็น (ประกอบด้วยเนื้อไก่และเนื้อเป็นแช่เย็นเท่านั้น) เพื่อใช้เป็นอาหาร ประกอบด้วยชนิดเนื้อถอดกระดูก (boneless) และเนื้อติดกระดูก (meat with bones)
วันสุดท้ายที่แสดงความเห็น/คัดค้าน : 26 ธ.ค. 63
วันที่มีผลบังคับใช้ : ม.ค. 64
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/471
19 ตุลาคม 2563
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้า เนื้อสุกรและผลิตภัณฑ์จากเนื้อสุกรของสุกรเพื่อการค้าและสุกรป่า
สาระสำคัญ : ประกาศมาตรการฉุกเฉิน FDA Order No. 2020-1283 ลงวันที่ 7 ต.ค. 63 เกี่ยวกับการขยายระยะเวลาการระงับการนำเข้าชั่วคราวสำหรับเนื้อสุกรและผลิตภัณฑ์จากเนื้อสุกรของสุกรเพื่อการค้าและสุกรป่าจากอินโดนีเซีย กรีซ เมียนมา เซอร์เบีย สโลวัก เกาหลีใต้ และเยอรมนี เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคอหิวาต์แอฟริกาในสุกร
รายละเอียดเพิ่มเติม

https://members.wto.org/crnattachments/2020/SPS/PHL/20_6213_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 7 ต.ค. 63
อินโดนีเซีย กรีซ เมียนมาร์ เซอร์เบีย สโลวัก เกาหลีใต้ และเยอรมนี




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/464/Add.1
05 ตุลาคม 2563
มาตรการปกติ
สินค้า ข้าว
สาระสำคัญ : ขยายระยะเวลารับข้อคิดเห็นเกี่ยวกับมาตรการความปลอดภัยอาหารสำหรับข้าว
วันสุดท้ายที่แสดงความเห็น/คัดค้าน : 20 ต.ค. 63
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/470
05 ตุลาคม 2563
มาตรการปกติ
สินค้า แมวและสุนัข
สาระสำคัญ : จัดทำ Circular No. 43 Series of 2020 เกี่ยวกับแนวปฏิบัติการจัดจำแนก เรื่อง ข้อกำหนดด้านเอกสารและประเด็นสำคัญอื่นๆ ในการยื่นเอกสาร SPSIC เพื่อการนำเข้าสุนัขและแมวตาม Section III.A.2 ของ DA Administrative Order (AO) No. 9 s. 2010 โดย Circular ลงวันที่ 24 ก.ย. 63
รายละเอียดเพิ่มเติม

https://members.wto.org/crnattachments/2020/SPS/PHL/20_5908_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 28 ก.ย. 63
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/469
21 กันยายน 2563
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้า ม้าเลี้ยงและม้าป่า รวมทั้งน้ำเชื้อ เซลล์ไข่ และตัวอ่อน
สาระสำคัญ : ประกาศห้ามนำเข้าม้าเลี้ยงและม้าป่า รวมทั้งน้ำเชื้อ เซลล์ไข่ หรือตัวอ่อนจากมาเลเซีย โดยมีผลต่อการประเมินสำหรับการยื่นขอและการออกเอกสาร SPS-IC สำหรับสินค้าดังกล่าว โดยสินค้าทั้งหมดที่เข้ามาในฟิลิปปินส์จะต้องหยุดและถูกยึดโดยเจ้าหน้าที่กักกัน ณ จุดนำเข้าทุกแห่ง
รายละเอียดเพิ่มเติม

https://members.wto.org/crnattachments/2020/SPS/PHL/20_5615_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 15 ก.ย. 63
มาเลเซีย




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/468
16 กันยายน 2563
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้า สุกรเลี้ยง สุกรป่า และผลิตภัณฑ์ รวมถึงผลิตภัณฑ์ข้างเคียง
สาระสำคัญ : ระงับการนำเข้าสุกรเลี้ยง สุกรป่า และผลิตภัณฑ์ รวมถึงผลิตภัณฑ์ข้างเคียงชั่วคราวจากเยอรมนี
วันที่มีผลบังคับใช้ : 14 ก.ย. 63
ประเทศคู่ค้า




สิงคโปร์ G/SPS/N/SGP/68
15 กันยายน 2563
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้า ม้า
สาระสำคัญ : ประกาศระงับการนำเข้าชั่วคราวม้าจากมาเลเซียมายังสิงคโปร์ เนื่องจากการระบาดโรคกาฬโรคแอฟริกาในม้า
วันที่มีผลบังคับใช้ : 7 ก.ย. 63
มาเลเซีย




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/467/Add.2
14 กันยายน 2563
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้า เนื้อสัตว์ปีก
สาระสำคัญ : ยกเลิกมาตรการระงับการนำเข้าชั่วคราวเนื้อสัตว์ปีกเลาะกระดูก (Mechanically Debond Meat: MDM) จากบราซิล
วันที่มีผลบังคับใช้ : 7 ก.ย. 63
บราซิล




มาเลเซีย G/SPS/N/MYS/47
04 กันยายน 2563
มาตรการปกติ
สินค้า ถั่วชนิด pea ข้าวโพดหวาน มะเขือเทศ แตงกวา เมลอน น้ำมันปาล์ม
สาระสำคัญ : มาเลเซีย G/SPS/N/MYS/47 แก้ไขตารางค่า MRLs (ตารางที่ 16) ของกฎระเบียบด้านความปลอดภัยอาหารปี 1985 โดย เพิ่มค่า MRLs ของสารกำจัดศัตรูพืชใหม่อีก 4 ชนิด ได้แก่ Metaflumizone, Metominostrobin, Oxathiapiprolin และ Saflufenacil และเพิ่มค่า MRLs อีก 1 ค่าสำหรับสารเดิม Dinotefuran
วันสุดท้ายที่แสดงความเห็น/คัดค้าน : 3 พ.ย. 63
รายละเอียดเพิ่มเติม

https://members.wto.org/crnattachments/2020/SPS/MYS/20_5267_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 6 เดือนหลังประกาศลงในราชกิจจานุเบกษา
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/467/Add.1
02 กันยายน 2563
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้า ผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์ปีก
สาระสำคัญ : แก้้ไขในรายละเอียดของประกาศมาตรการฉุกเฉินเกี่ยวกับการระงับการนำเข้าชั่วคราวสำหรับเนื้อสัตว์ปีกที่มีแหล่งกำเนิดจากบราซิล โดย BAI Memorandum Order No. 42 Series 2020 เรื่อง แนวปฏิบัติสำหรับการนำ DA Memorandum Order 39 series 2020 ลงวันที่ 17 ส.ค. 63 มาใช้ปฏิบัติ โดยมีรายละเอียด ดังนี้
1. สินค้านำเข้าทุกชนิดที่ผ่านการตรวจสอบ SPSIC ณ วันที่หรือก่อนวันที่ 14 ส.ค. 63 ที่แนบเอกสารตามข้อกำหนดจะได้รับอนุญาตให้ผ่านเข้าฟิลิปปินส์ได้ รวมถึงผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์ด้วย
2. สินค้าทุกชนิดที่อยู่ในสถานะ "In Transit" ได้รับอนุญาต
3. วันที่ผลิตของผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์ปีกเพื่อการส่งออกจะต้องระบุวันที่ 14 ส.ค. 63 หรือก่อนวันดังกล่าว
4. การตรวจสอบทุกรูปแบบที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการกักกันทางสัตวแพทย์ จะต้องมีการดำเนินการเป็นรายสินค้าที่จัดส่ง
รายละเอียดเพิ่มเติม

https://members.wto.org/crnattachments/2020/SPS/PHL/20_5122_00_e.pdf
https://members.wto.org/crnattachments/2020/SPS/PHL/20_5122_01_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : ทันที
บราซิล




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/467
21 สิงหาคม 2563
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้า เนื้้อสัตว์ปีก
สาระสำคัญ : ประกาศกรมวิชาการเกษตรคำสั่งที่ 39 ปี 2020 ระงับนำเข้าเนื้อสัตว์ปีกที่มีกำเนิดจากบราซิล เนื่องจากมีรายงานจำนวนมากพบการติดเชื้อ SARS-COV-2 ที่เป็นสาเหตุของเชื้อ COVID-19 บนพื้นผิวที่สำหรับสุ่มตัวอย่างเนื้อไก่ที่จะนำเข้าจากบราซิลไปยังจีน
รายละเอียดเพิ่มเติม

https://members.wto.org/crnattachments/2020/SPS/PHL/20_4992_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 14 ส.ค. 63
บราซิล




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/466
20 สิงหาคม 2563
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้า นกป่าและนกเลี้ยง และผลิตภัณฑ์จากนกดังกล่าว
สาระสำคัญ : ประกาศระงับการนำเข้าชั่วคราวสำหรับนกเลี้ยงและนกป่าและผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก รวมไปถึงเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ ที่นำเข้าจากออสเตรเลีย
- โดยสินค้าสัตว์ปีกที่ได้รับการตรวจผ่านศุลกากรเมื่อวันที่ 6 ส.ค. 63 หรือก่อนหน้านั้น ได้รับอนุญาตสำหรับเนื้อสัตว์ปีกชนิดแช่แข็งที่่ผ่านกระบวนการชำแหละและแปรรูป 21 วัน ก่อนการแพร่ระบาดของโรคไข้หวัดนกชนิดก่อโรครุนแรง (High Pathogenic Avian Influenza: HPAI) เมื่อวันที่ 3 ก.ค. 63
- สินค้าทุกประเภทจะต้องผ่านการตรวจสอบตามกฎเกณฑ์การกักกันสัตว์และถูกยึด (ยกเว้นสินค้าที่ผานกระบวนการฆ่าเชื้อด้วยความร้อน) โดยเจ้าหน้าที่ผู้มีอำนาจ ณ ด่านนำเข้าสินค้า ทั้งนี้ กฎระเบียบนี้มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 14 ส.ค. 63
รายละเอียดเพิ่มเติม

https://members.wto.org/crnattachments/2020/SPS/PHL/20_4988_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 14 ส.ค. 63
ออสเตรเลีย




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/465
18 สิงหาคม 2563
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้า กระต่ายป่าและกระต่ายเลี้ยง
สาระสำคัญ : ประกาศระงับการนำเข้าชั่วคราวสำหรับการนำเข้ากระต่ายป่าและกระต่ายเลี้ยงที่นำเข้ามาจากสหรัฐอเมริกา รวมถึงเนื้อ น้ำเชื้อ และหนัง โดยสินค้าที่มีการขนส่งแล้วจะถูกยึดไว้ ณ ด่านนำเข้าโดยเจ้าหน้าที่ผู้มีอำนาจ โดยมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 15 ก.ค. 63 เนื่องจาก OIE มีรายงานการแพร่ระบาดของโรค Rabbit Hermorrhagic Disease โดยมีรายงานครั้งแรกเมื่อวันที่ 8 ก.ค. 63 โดยมีผลกระทบต่อกระต่ายเลี้ยงและกระต่ายป่า
รายละเอียดเพิ่มเติม

https://members.wto.org/crnattachments/2020/SPS/PHL/20_4957_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 15 ก.ค. 63
สหรัฐอเมริกา




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/462/Add.1
12 สิงหาคม 2563
มาตรการปกติ
สินค้า สินค้าเนื้อสัตวฺ์
สาระสำคัญ : คำสั่งกรมวิชาการเกษตร ที่ 24 ปี 2020 ประกาศแนวทางปฏิบัติ (เพิ่มเติม) สำหรับขั้นตอนการพิธีการด้านสุขอนามัยสำหรับการอนุมัตินำเข้าเนื้อสัตว์ ( SPS Import Clearance)
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/135
12 สิงหาคม 2563
มาตรการปกติ
สินค้า สัตว์์นำ้ (รวมปลา ครัสตาเชียน มอลลัสก์ อื่นๆ) และผลิตภัณฑ์
สาระสำคัญ : กฎระเบียบรัฐมนตรีทางทะเลและประมงของอินโดนีเซีย ฉบับที่ 9/PERMEN-KP/2019 การติดตั้งสถานกักกันด้านประมง ซึ่งเป็นเงื่อนไขหนึ่งที่จำเป็นสำหรับการนำเข้าสัตว์นำ้และผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำมายังอินโดนีเซีย คำนิยาม ได้แก่
๑) สถานกักกันด้านประมง หมายถึง ( fish quarantine installation) สถานที่พร้อมอุปกรณ์และสิ่งอำนวยความสะดวกอื่นๆที่จะใช้ในปฏิบัติงานด้านกักกัน การควบคุมคุณภาพและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ประมง
๒) พาหะ (Carrier) หมายถึงปลาหรือสิ่งมีชีวิตทางประมงทั้งหมดที่ตลอดวัฎจักรหรือบางส่วนของวัฏจักรชีวิตอยูในน้ำทั้งมีชีวิตหรือตายแล้ว รวมทั้งบางส่วน
๓) ผลิตภัณฑ์ประมง (fishery products) หมายถึง ปลาที่จัดการหรือแปรรูป และ/หรือถูกทำให้อยู่ในรูปปลาสดหรือปลาแช่แข็งหรือผลิตภัณฑ์อื่นแปรรูป
โดยกฎระเบียบนี้ได้ระบุประเด็นต่อไปนี้
- ใช้กับสถานกักกันด้านประมง
- ข้อกำหนดงานบริหารและงานด้านเทคนิค
- ขั้นตอนการพิจารณาว่าเป็นสถานที่กักกันด้านประมง (รวมถึงการประเมินสถานกักกัน ระยะเวลาที่มีผลในการรับรองของสถานกักกันด้านประมงและการรับรอง
- ขั้นตอนการขยายใบรับรองด้านการกักกัน การควบคุม กลไกการดูแล การจัดการสถานที่กักกันตลอดจนกิจกรรมการตรวจสอบเกี่ยวกับการปฏิบัติที่ดีด้านการกักกัน การเฝ้าระวังโรคสัตว์นำ้ระบาดในสถานที่กักกัน และบทลงโทษหากไม่ปฏิบัติตาม
วันที่มีผลบังคับใช้ : 10 เม.ย. 62
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/464
06 สิงหาคม 2563
มาตรการปกติ
สินค้า ข้าว
สาระสำคัญ : Draft Memorandum Circular: Food Safety Measures for Rice. จัดทำร่างข้อบังคับความปลอดภัยอาหารเกี่ยวกับการกำหนดค่าสารปนเปื้อนและสารพิษ โดยกำหนดตาม Philippine National Standard (PNS), Codex, ASEAN database และกฎระเบียบเกี่ยวกับนาและข้าว ที่เป็นไปตามพ.ร.บ. ความปลอดภัยอาหาร 2013 และกฎระเบียบเสริม 2015
วันสุดท้ายที่แสดงความเห็น/คัดค้าน : 5 ต.ค. 63
รายละเอียดเพิ่มเติม

https://members.wto.org/crnattachments/2020/SPS/PHL/20_4745_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/133/Corr.1
30 เมษายน 2563
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์มีชีวิต
สาระสำคัญ : อินโดนีเซียออกมาตรการฉุกเฉินเกี่ยวกับการนำเข้าสัตว์มีชีวิต (สัตว์เลี้ยงและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม) จากประเทศที่มีการปรากฎของโควิด-19 โดยกำหนดให้แนบใบรับรองการปลอดจากโควิด-19 และใบรับรองจากห้องปฏิบัติการที่ระบุว่าสัตว์มีชีวิตดังกล่าวปลอดจากเชื้อโควิด-19 ทั้งนี้ ห้องปฏิบัติการที่ออกใบรับรองจะต้องผ่านการรับรองในประเทศผู้ส่งออกหรือประเทศต้นกำเนิดของสัตว์มีชีวิต
วันที่มีผลบังคับใช้ : 21 เม.ย. 63
ประเทศคู่ค้า




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/134
30 เมษายน 2563
มาตรการปกติ
สินค้าพืช และผลิตภัณฑ์จากพืช
สาระสำคัญ : อินโดนีเซียออกกฎระเบียบหมายเลข 5984/KR.020/K.3/04/2020 ลงวันที่ 28 เมษายน 2563 ว่าด้วยการตรวจสอบความถูกต้องของใบรับรองสุขอนามัยพืชแบบอิเล็กทรอนิกส์จากอินโดนีเซีย (Electronic/Digital/Scanned Phytosanitary Certificate) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่ออำนวยความสะดวกทางการค้าระหว่างประเทศในสถานการณ์การระบาดของโควิด-19 ซึ่งอินโดนีเซียยินดีที่จะรับใบรับรองสุขอนามัยพืชแบบอิเล็กทรอนิกส์จากทุกประเทศ โดยขอให้ประเทศที่ประสงค์จะจัดทำแจ้งอินโดนีเซียอย่างเป็นทางการเกี่ยวกับการใช้ใบรับรองสุขอนามัยพืชแบบอิเล็กทรอนิกส์สำหรับสินค้าที่จะส่งออกไปยังอินโดนีเซียรวมถึงการเข้าถึงเพื่อตรวจสอบความถูกต้องของใบรับรองเพื่อทำให้กระบวนการตรวจสอบเอกสารสำหรับการนำเข้าสินค้า ณ ด่านนำเข้าของอินโดนีเซียมีความรวดเร็วยิ่งขึ้น และเพื่อให้การดำเนินการเป็นไปอย่างเท่าเทียมกัน อินโดนีเซียขอให้ประเทศคู่ค้ารับใบรับรองสุขอนามัยพืชแบบอิเล็กทรอนิกส์จากอินโดนีเซียด้วย โดยได้จัดทำระบบสำหรับการตรวจสอบความถูกต้องของใบรับรองผ่านช่องทาง: https://ppkonline.karantina.pertanian.go.id/checkcert.
วันที่มีผลบังคับใช้ : 28 เม.ย. 63
ประเทศคู่ค้า




สิงคโปร์ G/SPS/N/SGP/66
30 เมษายน 2563
มาตรการปกติ
สินค้าไข่ไก่พร้อมเปลือกที่ผ่านกระบวนการพลาสเจอร์ไรส์
สาระสำคัญ : จัดทำเงื่อนไขด้านสุขภาพสัตว์เกี่ยวกับการนำเข้าไข่ไก่ทั้งเปลือกที่ผ่านกระบวนการพลาสเจอร์ไรซ์ โดยกำหนดเพื่ออำนวยความสะดวกในการค้าสินค้าดังกล่าว
วันที่มีผลบังคับใช้ : 29 มิ.ย. 63
ประเทศู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/495
26 เมษายน 2563
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกมีชีวิตและผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก (HS Code: 0105, 0207, 0407, 04071, 04072, 040790 และ 05119)
สาระสำคัญ : ประกาศมาตรการฉุกเฉินตามคำสั่งกระทรวงเกษตร หมายเลข 23 ประจำปี 2564 (Department of Agriculture Memorandum Order No. 23 Series of 2021) เมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2564 เรื่อง การระงับการนำเข้าชั่วคราวสำหรับสัตว์ปีกเลี้ยงและสัตว์ปีกป่า และผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีกเลี้ยงและสัตว์ปีกป่า ได้แก่ เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อสัตว์ปีก ที่มาจากเดนมาร์ก เนื่องจากมีรายงานพบการแพร่ระบาดของโรคไข้หวัดนกสายพันธุ์รุนแรง (HPAI) ซีโรไทป์ H5N8 ในเกาะ Bornholm
วันที่มีผลบังคับใช้ : 23 มี.ค. 64
เดนมาร์ก




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/496
26 เมษายน 2563
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสินค้าหมูป่าและสุกรพื้นบ้านและผลิตภัณฑ์ในรหัสพิกัดศุลกากรต่อไปนี้ 1501, 0103, 0203, 0209, 02101
สาระสำคัญ : ประกาศมาตรการฉุกเฉินตามคำสั่งกระทรวงเกษตร หมายเลข 20 ประจำปี 2564 (Department of Agriculture Memorandum Order No. 20 Series of 2021) เมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2564 เรื่อง การระงับการนำเข้าชั่วคราวสำหรับสุกรเลี้ยงและหมูป่า และผลิตภัณฑ์จากสุกรเลี้ยงและหมูป่า และผลิตภัณฑ์ผลพลอยได้ ได้แก่ เนื้อสุกร หนังสุกร และน้ำเชื้อสุกร ที่มาจากมาเลเซีย เนื่องจาก OIE มีรายงานพบการแพร่ระบาดของโรคอหิวาต์แอฟริกาในสุกร (ASF) ในอำเภอ Kota Marudu และ Beluran ของเมือง Sabah
วันที่มีผลบังคับใช้ : 23 มี.ค. 64
มาเลเซีย




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/487/Add.1
19 เมษายน 2563
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าเนื้อสัตว์ปีก
สาระสำคัญ : ประกาศอนุญาตให้นำเข้าเนื้อสัตว์ปีกเฉพาะเนื้อสัตว์ปีกเลาะกระดูกด้วยเครื่องจักร (Mechanically Deboned Poultry Meat) จากเนเธอร์แลนด์ตามเงื่อนไขที่กำหนด
วันที่มีผลบังคับใช้ : 6 เม.ย. 64
เนเธอร์แลนด์




สิงคโปร์ G/SPS/N/SGP/65
09 เมษายน 2563
มาตรการปกติ
สินค้าไข่ไก่เพื่อการบริโภค (Table eggs)
สาระสำคัญ : ทบทวนเงื่อนไขด้านการสัตวแพทย์สำหรับการนำเข้าไข่ไก่เพื่อการบริโภคบนพื้นฐานการประเมินความเสี่ยง ซึ่งอ้างอิงจากข้อแนะนำของ OIE โดยทบทวนประเด็นที่สำคัญ ดังนี้
1) สถานะปลอดโรคสัตว์ของประเทศ
2) สถานะของโรคสัตว์ในฟาร์ม
3) เงื่อนไขด้านสุขอนามัย
4) ข้อกำหนดการออกใบรับรองด้านสัตวแพทย์สำหรับฟาร์มส่งออกและสินค้าไข่ไก่
5) การติดฉลากสินค้้าไข่ไก่โดยเงื่อนไขนี้มีผลบังคับใช้ทันที
วันที่มีผลบังคับใช้ : ทันที
ประเทศคู่ค้า




สิงคโปร์ G/SPS/N/SGP/63/Corr.1
07 เมษายน 2563
มาตรการปกติ
สินค้าอาหาร
สาระสำคัญ : แก้ไขอีเมลในข้อที่ 12 และ 13 ของเอกสารแจ้งเวียน G/SPS/N/SGP/63 เรื่อง การห้ามนำเข้าและห้ามใช้ partially hydrogenated oils (PHOs) ที่เป็นส่วนผสมของไขมันทุกชนิด น้ำมัน และผลิตภัณฑ์อาหารในภาชนะบรรจุ เมื่อวันที่ 9 มี.ค. 63 เป็น [email protected] และจะมีผลบังคับใช้วันที่ 1 มิ.ย. 63
วันที่มีผลบังคับใช้ : 1 มิ.ย. 63
ประเทศคู่ค้า




สิงคโปร์ G/SPS/N/SGP/64
07 เมษายน 2563
มาตรการปกติ
สินค้าอาหาร
สาระสำคัญ : SFA จัดทำร่างกฎระเบียบอาหาร ปี 2020 (ฉบับแก้ไขครั้งที่ ...) โดยทบทวนกฎระเบียบอาหารเสร็จเรียบร้อยแล้ว และขอแก้ไขในสาระสำคัญ ดังนี้
1) อนุญาตให้ใช้งานวัตถุเจือปนอาหารชนิดใหม่ ได้แก่
1.1) สารสกัดจากหญ้าหวาน (Steviol glycosides) ชนิดใหม่ที่ได้รับอนุญาตให้ใช้เป็นสารให้ความหวานแทนน้ำตาล โดยมีข้อกำหนดเช่นเดียวกับการอนุญาตการใช้สารสกัดจากหญ้าหวานที่สกัดจากใบหญ้าหวาน (Stevia rebaudiana Bertoni) ในปัจจุบัน ดังตารางที่ 13 ของกฎระเบียบอาหาร:
- Rebaudioside A จาก multiple gene donors ที่แสดงออกใน Yarrowia lipolytica
- Rebaudioside M ผลิตจากกระบวนการ Enzymatic modification ของ Rebaudioside A สกัดจากใบหญ้าหวาน โดยใช้เอนไซม์ UDP-glucosyltransferase (EC 2.4.1.17) และน้ำตาลซูโครสสังเคราะห์ (EC 2.4.1.13) และผลิตโดยจุลินทรีย์ดัดแปรพันธุกรรม Eschericia coli K-12 W311
- Rebaudioside M ผลิตจากกระบวนการ Enzymatic conversion ของสารสกัดจากใบหญ้าหวานบริสุทธิ์ โดยใช้เอนไซม์ UDP-glucosyltransferase (EC 2.4.1.17) และน้ำตาลซูโครสสังเคราะห์ (EC 2.4.1.13) และผลิตโดยจุลินทรีย์ดัดแปรพันธุกรรม Pichia pastoris
1.2) Soy leghemoglobin ที่ได้จากจุลินทรีย์ดัดแปรพันธุกรรม Pichia pastoris ที่ใช้ใน meat analogues ในปริมาณสูงถึง 0.45 % โดยน้ำหนัก
1.3) Lutein esters จาก Tagetes erecta (INS 161b(iii)) เป็นสารแต่งสีที่อนุญาตให้ใช้กับอาหารภายใต้ GMP
1.4) Ferrous bisglycinate เหล็กในรูปแบบที่ได้รับอนุญาตให้ใช้เติมแต่งในอาหาร
1.5) Sorbitol syrup (INS 420(ii)) สำหรับใช้ในอาหารภายใต้ GMP
1.6) เอนไซม์ชนิดใหม่ที่ใช้ในอาหาร ได้แก่ alpha-trehalase (EC No. 3.2.1.28) ที่ผลิตจาก Trichoderma longibrachiatum
2) ขยายขอบเขตการใช้งานวัตถุเจือปนอาหารที่ได้รับอนุญาตอยู่ก่อนแล้ว ดังนี้
2.1) ข้อกำหนดฉบับใหม่รวมทั้งสิ้น 9 ฉบับ สำหรับสารสกัดโรสแมรี (INS 392) ที่ใช้งานในอาหารดังรายการต่อไปนี้
(1) ไส้กรอกแห้ง (2) ไขมันและน้ำมันพืชเพื่อการบริโภค (ยกเว้น Olive oil) (3) น้ำมันปลาและ Algal oil (4) ผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์แปรรูปนอกเหนือจากไส้กรอกแห้งที่ (4.1) มีปริมาณไขมันเป็นส่วนประกอบที่ 10% หรือน้อยกว่า และ (4.2) มีปริมาณไขมันเป็นส่วนประกอบมากกว่า 10% (5) ผลิตภัณฑ์ถั่วแปรรูป รวมถึงถั่วเคลือบและถั่วผสม (6) ซอส เกรวี และน้ำสลัดและส่วนผสมอื่นๆ (7) ขนมขบเคี้ยว - มันฝรั่ง ผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูปและกึ่งแปรรูปที่มีส่วนประกอบของธัญพืช แป้งหรือ Starch based (จากรากและหัว เหง้า, พัลส์และ Legumes) (7) ผัก ถั่ว และเมล็ดพืชแบบ Spreadsจะระบุอยู่ในตารางที่ 3 ของกฎระเบียบด้านอาหาร และเพื่อให้สอดคล้องกับการแก้ไขกฎระเบียบอาหาร ข้อกำหนดสำหรับสารสกัดโรสแมรีทั้งหมด (ฉบับเก่าและใหม่) จะรวมอยู่ในตารางที่ 3
2.2) Benzoates (รวมถึง Benzoic acid และเกลือโซเดียมและโพแทสเซียม) และ Sorbates (Sorbic acid และเกลือโซเดียม โพแทสเซียม และแคลเซียม) ที่ใช้สำหรับ non-fruit fillings ที่ปริมาณ 1500 ppm และ 1000 ppm ตามลำดับ ในกรณีที่ Benzoates หรือ Sorbates ถูกใช้เป็นสารกันบูด และเพื่อให้สอดคล้องกับกฎระเบียบฉบับแก้ไขใหม่นี้ หมวดอาหาร "Decorations, icings and frostings" ในตารางที่ 4 แก้ไขเป็น "Decorations (icings and frostings), non-fruit fillings and toppings, and sweet sauces"
2.3) แก้ไขค่า M
วันที่มีผลบังคับใช้ : ณ ประกาศใช้มาตราการ ภายหลังการประกาศใช้กฎระเบียบ (ฉบับแก้ไขใหม่) (ช่วงครึ่งหลังปี 63) และให้เวลา 12 เดือน ในการจำหน่ายสินค้าค้างสต็อกที่ปฏิบัติตามมาตรฐานเดิม
ประเทศคู่ค้า




มาเลเซีย G/SPS/N/MYS/44
31 มีนาคม 2563
มาตรการปกติ
สินค้าภาชนะปรุงอาหารที่ทำจากเซรามิก
สาระสำคัญ : ปรับแก้กฎระเบียบ หมายเลข 28 ของกฎระเบียบอาหาร ปี 1985 โดยเพิ่มเติมคำนิยามของคำว่า ภาชนะปรุงอาหารที่ทำจากเซรามิกและกำหนดสัดส่วนสูงสุดที่อนุญาตให้ตะกั่วและดีบุกแพร่ออกมาตามข้อกำหนดขั้นต่ำด้านความปลอดภัย
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




มาเลเซีย G/SPS/N/MYS/45
31 มีนาคม 2563
มาตรการปกติ
สินค้าน้ำมันปาล์ม (ยกเว้นชนิดการปรับแต่งทางเคมี) พริก มัสตาร์ด พริกต่างๆ กล้วย ถั่วฝักยาว ข้าว สับปะรด มะเขือเทศ คะน้า และแตงโม
สาระสำคัญ : ปรับแก้ตารางที่ 16 ของกฎระเบียบอาหาร ปี 1985 โดยมีสาระสำคัญ ดังนี้ - เพิ่มเติมค่า MRLs สำหรับสารกำจัดศัตรูพืช 6 ชนิด ได้แก่ Cyantraniliprole, Epoxiconazole*, Fluxapyroxad, Flubendiamide*, Trifloxystrobin* และ Sulfoxaflor* - กำหนดค่า MRLs สำหรับสินค้าที่ปรากฏสารกำจัดศัตรูพืช 3 ชนิด ได้แก่ Fipronil*, Fosetyl-aluminium* และ Imidacloprid* * เป็นสารที่มีการขึ้นทะเบียนในไทย
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




มาเลเซีย G/SPS/N/MYS/46
31 มีนาคม 2563
มาตรการปกติ
สินค้าน้ำแร่และน้ำอัดลม
สาระสำคัญ : ปรับแก้ตารางที่ 25 ของกฎระเบียบอาหาร ปี 1985 โดยมีสาระสำคัญ ดังนี้ - ยกเลิกค่ามาตรฐานสำหรับแบคทีเรีย Clostridium perfringens (CP)
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/132
20 มีนาคม 2563
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์เลี้ยงมีชีวิต
สาระสำคัญ : แจ้งมาตรการเกี่ยวกับการนำเข้าหรือเคลื่อนย้ายสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมและสัตว์เลี้ยงจากฮ่องกง จีนจะต้องแนบผลการตรวจวิเคราะห์โรคโควิด-19
วันที่มีผลบังคับใช้ : 19 มี.ค. 63
ฮ่องกง จีน




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/112
18 มีนาคม 2563
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าผลิตภัณฑ์จากพืช
สาระสำคัญ : เผยแพร่ร่างกฎระเบียบทางเทคนิคเกี่ยวกับข้อกำหนดด้านสุขอนามัยพืชสำหรับนำเข้าวัสดุพืชควบคุม (Regulated articles)
วันที่มีผลบังคับใช้ : 28 พ.ค. 63
ประเทศคู่ค้า




สิงคโปร์ G/SPS/N/SGP/63
05 มีนาคม 2563
มาตรการปกติ
สินค้าอาหาร
สาระสำคัญ : ปรับแก้ร่างกฎระเบียบสำหรับอาหารปี 2563 โดยยกเลิก ระงับการนำเข้าและการจำหน่ายน้ำมันซึ่งผ่านกระบวนการเติมไฮโดรเจนบางส่วน (Partially Hydrogenated Oils :PHOs) และอาหารสำเร็จรูปที่มีส่วนประกอบของ PHOs ในสิงคโปร์ รายละเอียดเพิ่มเติมที่ https://members.wto.org/crnattachments/2020/SPS/SGP/20_1809_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 1 มิ.ย. 64
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/456
04 มีนาคม 2563
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกพื้นบ้านและสัตว์ปีกป่าและผลิตภัณฑ์รวมเนื้อ ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : กระทรวงเกษตรประกาศคำสั่งฉบับที่ 15 ปี 2563 โดย 1) ระงับการนำเข้าชั่วคราวสำหรับสัตว์ปีกพื้นบ้านและสัตว์ปีกป่าและผลิตภัณฑ์รวมเนื้อ ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อทันทีจากเยอรมนี 2) สัตว์ปีกที่จะนำเข้าที่ผ่านพิธีการศุลกากรขาเข้า ก่อนวันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2563 จะได้รับอนุญาตให้นำเข้า (เนื้อสัตว์ปีกแช่แข็งที่ผ่านการเชือด/ผลิต 21 วันก่อนเกิดไข้หวัดนก หรือก่อนวันที่ 15 มกราคม 2563) 3) สินค้าทุกชนิดที่กล่าวมาข้างต้นที่จะนำเข้าประเทศ ยกเว้นที่ฆ่าเชื้อด้วยความร้อนจะห้ามนำเข้าและถูกยึดโดยด่านหลัก
วันที่มีผลบังคับใช้ : 24 กุมภาพันธ์ 2563
เยอรมนี




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/457
04 มีนาคม 2563
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกพื้นบ้านและสัตว์ปีกป่าและผลิตภัณฑ์รวมเนื้อ ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : กระทรวงเกษตรประกาศคำสั่งฉบับที่ 16 ปี 2563 โดย 1) ระงับการนำเข้าชั่วคราวสำหรับสัตว์ปีกพื้นบ้านและสัตว์ปีกป่าและผลิตภัณฑ์รวมเนื้อ ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อทันทีจากซาอุดิอาระเบีย 2) สินค้าทุกชนิดที่กล่าวมาข้างต้นที่จะนำเข้าประเทศ ยกเว้นที่ฆ่าเชื้อด้วยความร้อนจะห้ามนำเข้าและถูกยึดโดยด่านหลัก
วันที่มีผลบังคับใช้ : 24 กุมภาพันธ์ 2563
ซาอุดิอาระเบีย




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/110/Corr.1
21 กุมภาพันธ ์ 2563
มาตรการปกติ
สินค้าผลิตภัณฑ์อารักขาพืชที่มีส่วนประกอบของสารออกฤทธิ์ไกลโฟเซท
สาระสำคัญ : * ประกาศแก้ไข hyper link ของประกาศแจ้งเวียน G/SPS/N/VNM/110 เป็น http://www.spsvietnam.gov.vn/en/gspsnvnm110-1
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/455
19 กุมภาพันธ ์ 2563
มาตรการปกติ
สินค้าSalabat และ เครื่องดื่มขิงสำเร็จรูป
สาระสำคัญ : * "จัดทำร่างมาตรฐานเกี่ยวกับคุณภาพสำหรับกระบวนการบรรจุภัณฑ์และการติดฉลากสำหรับ Salabat และเครื่องดื่มขิงสำเร็จรูป
รายละเอียดเพิ่มเติม" https://members.wto.org/crnattachments/2020/SPS/PHL/20_1259_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/111
18 กุมภาพันธ ์ 2563
มาตรการปกติ
สินค้าผลิตภัณฑ์รักษาเนื้อไม้, สารประกอบที่มีส่วนประกอบของสารออกฟทธิ์ต่อแมลงหรือเชื้อรา
สาระสำคัญ : * จัดทำร่างกฎระเบียบทางเทคนิิคเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์รักษาเนื้อไม้ระบุเกณฑ์ด้านคุณภาพและเงื่อนไขการใช้งาน สำหรับผลิตภัณฑ์รักษาเนื้อไม้ที่มีแหล่งกำเนิดในน้ำ
วันที่มีผลบังคับใช้ : 31 ธ.ค. 63
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/110
17 กุมภาพันธ ์ 2563
มาตรการปกติ
สินค้า"สารกำจัดศัตรูพืช: Glyphosate"
สาระสำคัญ : * ประกาศส่วนเพิ่มเติมของมาตรา 2 ของ Circular No. 10/2019/TT-BNNPTNT ลงวันที่ 20 ก.ย. 62 เกี่ยวกับการเผยแพร่รายการสารกำจัดศัตรูพืชที่ได้รับอนุญาตให้ใช้งานและรายการผลิตภัณฑ์อารักขาพืชที่ไม่ได้รับอนุญาตให้ใช้งาน โดยระบุว่า "ผลิตภัณฑ์อารักขาพืชที่มีส่วนประกอบของสารออกฤทธิ์ไกลโฟเซทจะไม่มีการผลิตและนำเข้า โดยอนุญาตให้มีการจำหน่ายได้ถึงวันที่ 30 มิ.ย. 64"
วันที่มีผลบังคับใช้ : 10 มิ.ย. 63
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/109
17 กุมภาพันธ ์ 2563
มาตรการปกติ
สินค้าวัตถุเจือปนอาหาร
สาระสำคัญ : * "จัดทำร่างกฎระเบียบทางเทคนิคเกี่ยวกับสารทดแทนความหวาน โดยมีสาระสำคัญ ดังนี้
- ระบุเงื่อนไขทางเทคนิคและการจัดการด้านคุณภาพ สุขอนามัยและความปลอดภัยของสาร calcium cyclamate, sodium cyclamate, calcium saccharin, potassium saccharin, sodium saccharin, sucralose, alitame, aspartame-acesulfame, siro polyglycitol และ siro sorbitol - มีผลบังคับใช้กับองค์กรและภาคเอกชนผู้ซึ่งผลิต จำหน่ายและนำเข้าวัตถุทดแทนความหวานดังกล่าวเพื่อหมุนเวียนภายในประเทศ พร้อมทั้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง องค์กร และภาคเอกชนต่างๆ"
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/454
10 กุมภาพันธ ์ 2563
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าว์ปีกมีชีวิต และผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก ประกอบด้วย เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ประกาศมาตรการฉุกเฉิน เรื่อง การระงับการนำเข้าสัตว์ปีกเพื่อการค้าและสัตว์ปีกป่า รวมถึงเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ จากสาธารณรัฐเช็ค โดยระงับทุกขั้นตอนสำหรับนำเข้าสินค้าดังกล่าวโดยทันที เนื่องจากมีรายงานพบการแพร่ระบาดของโรคไข้หวัดนกชนิดรุนแรง (HPAI) สายพันธุ์ H5N8 รายละเอียดเพิ่มเติม"
https://members.wto.org/crnattachments/2020/SPS/PHL/20_1081_00_e.pdf สาธารณรัฐเช็ค -
วันที่มีผลบังคับใช้ : 3 ก.พ. 63
สาธารณรัฐเช็ค




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/452
06 กุมภาพันธ ์ 2563
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกมีชีวิต และผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก ประกอบด้วย เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : "ประกาศมาตรการฉุกเฉิน เรื่อง การระงับการนำเข้าสัตว์ปีกเพื่อการค้าและสัตว์ปีกป่า รวมถึงเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ จากฮังการี โดยระงับทุกขั้นตอนสำหรับนำเข้าสินค้าดังกล่าวโดยทันที เนื่องจากมีรายงานพบการแพร่ระบาดของโรคไข้หวัดนกชนิดรุนแรง (HPAI) สายพันธุ์ H5N8 รายละเอียดเพิ่มเติม"
https://members.wto.org/crnattachments/2020/SPS/PHL/20_0985_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 29 ม.ค. 63
ฮังการี




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/453
06 กุมภาพันธ ์ 2563
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกมีชีวิต และผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก ประกอบด้วย เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : "ประกาศมาตรการฉุกเฉิน เรื่อง การระงับการนำเข้าสัตว์ปีกเพื่อการค้าและสัตว์ปีกป่า รวมถึงเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ จากสโลวาเกีย โดยระงับทุกขั้นตอนสำหรับนำเข้าสินค้าดังกล่าวโดยทันที เนื่องจากมีรายงานพบการแพร่ระบาดของโรคไข้หวัดนกชนิดรุนแรง (HPAI) สายพันธุ์ H5N8 รายละเอียดเพิ่มเติม"
https://members.wto.org/crnattachments/2020/SPS/PHL/20_0986_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 29 ม.ค. 63
สโลวาเกีย




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/425/Add.1
03 กุมภาพันธ ์ 2563
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสุกรเลี้ยงและหมูป่า รวมทั้งเนื้อสุกรและนำเชื้อ
สาระสำคัญ : "ยกเลิกมาตรการห้ามนำเข้าชั่วคราวสำหรับสุกรเลี้ยงและหมูป่า รวมทั้งเนื้อสุกรและน้ำเชื้อที่มาจากสาธารณรัฐเช็ก ค้นข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่"
https://members.wto.org/crnattachments/2020/SPS/PHL/20_0796_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 28 ม.ค. 63
สาธารณรัฐเช็ก




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/131
13 มกราคม 2563
มาตรการปกติ
สินค้าพืชและผลิตภัณฑ์จากพืช
สาระสำคัญ : แก้ไขกฎกระทรวงเกษตรว่าด้วยการควบคุมความปลอดภัยอาหารสำหรับการปนเปื้อนสารกัมมันตภาพรังสีในอาหารสดที่มาจากสัตว์หรือพืชจากญี่ปุ่นโดยบังคับใช้เฉพาะสินค้าเกษตรและอาหารสดที่นำเข้าจากญี่ปุ่นเท่านั้น โดยการแก้ไขข้อกำหนดเกี่ยวกับการทดสอบสารกัมมันตภาพรังสีและการจัดทำใบรับรองการปลอดสารกัมมันตภาพรังสีจะจำกัดการใช้เฉพาะสินค้าอาหารสดที่ผลิตใน 7 เมืองเท่านั้น ได้แก่ Ibaraki, Miyagi, Nagano, Niigata, Tochigi, Yamanashi และ Yamagata โดยจะต้องระบุชื่อเมืองที่ได้รับการรับรองในส่วนของประเทศ/พื้นที่แหล่งกำเนิด (Country/Regional of Origin) สำหรับใบรับรองสุขภาพสัตว์ (Health Certificate) และในส่วนของสถานที่ผลิต (Place of Origin) สำหรับใบรับรองสุขอนามัยพืช (Phytosanitary Certificate) เพื่อวัตถุประสงค์ในการสืบย้อนกลับ นอกจากนี้ ได้ยกเลิกข้อกำหนดเกี่ยวกับการทดสอบ Iodine-131 และยังไม่มีการเปลี่ยนแปลงประเภทของสินค้าควบคุมและปริมาณสูงสุด (Maximum level) ของการใช้ Cesium-137
วันที่มีผลบังคับใช้ : มกราคม 2563
ญี่ปุ่น




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/125/Corr.1
13 ธันวาคม 2562
มาตรการปกติ
สินค้าปลามีชีวิตและผลิตภัณฑ์ประมง
สาระสำคัญ : แก้ไขลิงก์ ในประกาศ G/SPS/N/IDN/125 เป็น
https://members.wto.org/crnattachments/2019/SPS/IDN/19_7061_00_x.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/128
12 ธันวาคม 2562
มาตรการปกติ
สินค้าอาหารแปรรูป
สาระสำคัญ : กฎระเบียบ อย. อินโดนีเซีย ปี 2019 เกี่ยวกับสารปรุงแต่งอาหาร ได้มีการทบทวนประเภทสารปรุงแต่งอาหารเนื่องจากยังไม่สอดคล้องกับเทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์ในปัจจุบัน
สารปรุงแต่งอาหารมีหลายประเภท ได้แก่ antifoaming agent (สารกันเกิดฟอง), anticaking agent (สารกันรวมคัวเป็นก้อน), antioxidant (สารกันหืน),carbonating agent (สารให้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์), emulsifying salt (เกลืออิมัลซิไฟอิ้ง), packaging gas (ก๊าซที่ช่วยในการเก็บรักษา อาหาร) humectant (สารดูดความชื้น), glazing agents (สารทำให้เกิดเจล), sweetener (สารให้ความหวาน), carrier, (สารใช้เป็นตัวนำ) gelling agent (สารที่ทำให้เกิดเจล), foaming agent (สารที่ทำให้เกิดฟอง), acidity regulator (สารปรับให้เป็นกรด), preservative, raising agent, emulsifier (อิมัลซิไฟดออร์) thickener (สารเพิ่มความข้นหนืด) firming agent (สารช่วยคงรูปอาหาร) flavour enhancer (สารเพิ่มรสอาหาร) bulking agent (สารเพิ่มปริมาณ), stabilizer (สารทำให้คงตัว), colour retention(สารช่วยคงสีในอาหาร), flour treatment agent (วัตถุเจือปนอาหารที่ใช้ผสมในแป้งหรือโด), colour repellent sequestrant (สารช่วยจับอนุมูลโลหะ)
กฎระเบียบนี้ได้กำหนดปริมาณสูงสุดสำหรับให้ใช้ในอาหาร
วันที่มีผลบังคับใช้ : 28 มิ.ย. 62
ประเทศคู่ค้า




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/129
12 ธันวาคม 2562
มาตรการปกติ
สินค้าอาหารแปรรูป
สาระสำคัญ : กฎระเบียบ อย. อินโดนีเซีย ปี 2019 เกี่ยวกับสารช่วยในกระบวนการผลิตอาหาร เกี่ยวกับการใช้เอนไซม์และเอนไซม์ตรึงรูป (immobilized enzyme) ใช้กระบวนการผลิตอาหาร
ได้มีการทบทวนกฎระเบียบเนื่องจากมีหลายประเทศกฎระเบียบไม่สามารถมาใช้ได้อีกต่อไป
สารช่วยในกระบวนการผลิตอาหารมีหลายประเภท ได้แก่
Bleaching (สารฟอกสี), washing and peeling agents; (สารซักและลอก) clarifying agents, (ช่วยให้ใส) filtration aids, (สารช่วยกรอง) adsorbent, and decolourant; (สารดูดซับและเปลี่ยนสี) boiler water additive; (สารที่ใช้ในระบบหม้อไอน้ำ flocculating agents; (สารช่วยการจับตัวของอนุภาคอย่างหลวมๆ) catalyst; (ตัวเร่ง) nutrition for microbes; (โภชนาการสำหรับจุลินทรีย์) micro-organism control agents; (สารควบคุมจุลินทรีย์) ion exchange resins; สารอื่นๆที่ช่วยในการผลิตอาหาร (other processing aids)
กฎระเบียบนี้ได้กำหนดปริมาณสูงสุดสำหรับให้ใช้ในอาหาร
วันที่มีผลบังคับใช้ : 16 ต.ค. 62
ประเทศคู่ค้า




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/130
12 ธันวาคม 2562
มาตรการปกติ
สินค้าสัตว์น้ำรวมทั้งปลา ครัสตาเชียน มอลลัคส์ อื่นๆ
สาระสำคัญ : ประกาศกฤษฎีการัฐมนตรีว่าการกระทรวงกิจการทางทะเลและการประมงของอินโดนีเซีย ฉบับที่ 91/KEPMEN-KP/2018 เกี่ยวกับการกำหนดชนิดของศัตรูและโรคสัตว์น้ำ ประเภท พาหะ และการแพร่ระบาด ซึ่งได้กำหนดไว้ในภาคผนวกถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของกฤษฎีกา เป็นการกำหนดเงื่อนไขสำหรับการนำเข้า การส่งออก และการเคลื่อนย้ายภายในประเทศของสินค้าที่เป็นพาหะของโรค/ศัตรูสัตว์น้ำที่จะนำเข้ามายังอินโดนีเซียจะต้องปราศจากโรค/ศัตรูกักกันของสัตว์น้ำ
ความหมาย
โรคสัตว์น้ำกักกัน หมายถึง โรคทุกชนิดที่เคยแพร่เข้ามายัง และ/หรือก่อตั้งในพื้นที่ในประเทศอินโดนีเซียซึ่งสามารถแพร่ระบาดของรวดเร็วในระยะเวลาอันสั้น และเป็นสาเหตุความเสียหายทางเศรษฐกิจสังคม หรืออันตรายต่อสุขภาพ
ประเภทโรคสัตว์น้ำกักกัน แบ่งเป็น
- ประเภทที่ 1 (class I) โรคสัตว์น้ำกักกันของปลาทุกชนิดที่ไม่สามารถทำให้ปราศจากพาหะของโรคได้ เพราะเทคโนโลยีในการฆ่าเชื้อ (treatment)ไม่สามารถควบคุมได้
- ประเภทที่ 2 (class I) โรคสัตว์น้ำกักกันของปลาทุกชนิดที่สามารถทำให้ปราศจากพาหะของโรคได้ เพราะเทคโนโลยีในการฆ่าเชื้อ(treatment)สามารถควบคุมได้
พาหนะของโรคสัตว์น้ำกักกัน ? หมายถึง ปลา และ/หรือวัสดุอื่นๆที่สามารถถ่ายทอดโรคสัตว์น้ำกักกัน และ/หรือโรคสัตว์น้ำ
สัตว์น้ำ (Fish) ? หมายถึงสัตว์น้ำทุกชนิดที่มีวงจรชีวิตตลอดชีวิตหรือบางส่วนอยู่ในน้ำ ไม่ว่าจะมีชีวิตหรือตายรวมถึงส่วนอื่นๆ
วันที่มีผลบังคับใช้ : 6 พ.ย. 62
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/371/Add.1
12 ธันวาคม 2562
มาตรการปกติ
สินค้าพืชและวัสดุพืช ผลิตภัณฑ์พืชเพื่อการค้า
สาระสำคัญ : ทบทวนข้อกำหนดสำหรับการขึ้นทะเบียนและการเริ่มต้นของผู้นำเข้าพืช วัสดุพืช และผลิตภัณฑ์พืช และช่วงเวลาที่มีผลบังคับใช้ของพิธีการทางศุลกากรด้านมาตรการสุขอนามัยพืชสำหรับข้าว ตามกฎหมายฉบับที่ 11203 และส่วนที่ 4ของเอกสารข้อเสนอแนะสำหรับการนำเข้า กำหนดว่า สินค้า /ผลิตภัณฑ์จะต้องดำเนินการจัดส่ง (shipped) ออกจากประเทศต้นทางภายในวันที่ได้รับอนุมัติด้านพิธีการทางศุลกากรด้านมาตรการสุขอนามัยพืชแล้ว และจะต้องมาถึงไม่น้อยกว่า 60 วันนับจากวันที่ส่งออก (Must Ship Out date)
รายละเอียดค้นได้จาก
https://members.wto.org/crnattachments/2019/SPS/PHL/19_7062_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/127
12 ธันวาคม 2562
มาตรการปกติ
สินค้าผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูป
สาระสำคัญ : ประกาศกฎระเบียบกำหนดวัตถุดิบที่ห้ามใช้ในผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูป เช่นจากพืชและสารเคมี
วันที่มีผลบังคับใช้ : 4 มิ.ย. 61
ประเทศคู่ค้า




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/126
03 ธันวาคม 2562
มาตรการปกติ
สินค้าอาหารแปรรูป
สาระสำคัญ : จัดทำค่า MLs ของโลหะหนัก ได้แก่ สารหนู แคดเมียม ปรอท ดีบุก และตะกั่ว ที่ปนเปื้อนในอาหารแปรรูป
วันที่มีผลบังคับใช้ : 16 ต.ค. 62
ประเทศคู่ค้า




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/125
28 พฤศจิกายน 2562
มาตรการปกติ
สินค้าปลามีชีวิตและผลิตภัณฑ์ประมง
สาระสำคัญ : ประกาศยกเลิกกฎระเบียบเกี่ยวกับการนำเข้าปลามีชีวิตและสินค้าประมงจำนวน 3 ฉบับได้แก่ กฎระเบียบหมายเลข PER.09/MEN/2007 PER.20/MEN/2007 และ KEP.06/MEN/2002 โดยได้จัดทำกฎระเบียบหมายเลข 11/PERMEN-KP/2019 ขึ้นมาทดแทน ซึ่งกฎระเบียบฉบับใหม่นี้ระบุถึงข้อกำหนดและขั้นตอนสำหรับการนำเข้าปลาที่สามารถเป็นพาหะของโรคและผลิตภัณฑ์สินค้าประมงมายังอินโดนีเซีย
วันที่มีผลบังคับใช้ : 10 ก.ค. 62
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/108
27 พฤศจิกายน 2562
มาตรการปกติ
สินค้าเนื้อแช่เย็น (chilled meat)
สาระสำคัญ : มาตรฐานเวียดนามเนื้อแช่เย็น (chilled meat) ส่วนที่ 2 เนื้อกระบือ ได้จัดทำข้อกำหนดทางเทคนิคเกี่ยวกับเนื้อกระบือและเนื้อโคสำหรับใช้เป็นอาหาร
วันที่มีผลบังคับใช้ : มิ.ย. 63
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/449
14 พฤศจิกายน 2562
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าของเสียจากอาหารที่มาจากเรือ
สาระสำคัญ : ประกาศห้ามขนถ่ายของเสียจากอาหารที่มาจากเรือ และมอบหมายให้เจ้าหน้าที่ด้านกักกันสัตว์เฝ้าระวัง ณ สถานีกักกันสัตว์เพื่อไม่ให้มีการขนถ่ายของเสียจากอาหาร
ค้นข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่
https://members.wto.org/crnattachments/2019/SPS/PHL/19_6414_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 26 ก.ย. 62
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/448
13 พฤศจิกายน 2562
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสุกรเลี้ยงและสุกรป่า ผลิตภัณฑ์ รวมทั้งผลพลอยได้จากสุกร
สาระสำคัญ : ระงับการนำเข้าชั่วคราวสุกรเลี้ยงและสุกรป่า ผลิตภัณฑ์จากสุกร ได้แก่ เนื้อสุกรและน้ำเชื้อ รวมถึงระงับการยื่นขอนำเข้าและการออกใบรับรองเพื่อตรวจปล่อยสินค้า ทั้งนี้ หากมีการส่งสินค้าดังกล่าวมายังฟิลิปปินส์สินค้าจะถูกระงับและยึดไว้โดยเจ้าหน้ากักกัน
ค้นข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่
https://members.wto.org/crnattachments/2019/SPS/PHL/19_6403_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 18 ต.ค. 62
เกาหลีใต้




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/412/Add.1
12 พฤศจิกายน 2562
มาตรการปกติ
สินค้าสัตว์มีชีวิต
สาระสำคัญ : ปรับแก้กฎระเบียบเกี่ยวกับขั้นตอนการนำเข้าสัตว์มีชีวิตมายัง ฟิลิปินส์ให้มีความชัดเจนขึ้นดังนี้
(1) สัตว์มีชีวิตรวมถึงไข่ไก่ฟัก สารพันธุกรรม (น้ำเชื้อ ตัวอ่อน และไข่)
(2) สัตว์ป่ารวมถึงนกต่างถิ่น (Exotic bird)
ค้นข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่
https://members.wto.org/crnattachments/2019/SPS/PHL/19_6369_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/105/Add.2
18 ตุลาคม 2562
มาตรการปกติ
สินค้าสัตว์ปีกเลี้ยงและสัตว์ปีกป่า
สาระสำคัญ : ประกาศมาตรการฉุกเฉิน เรื่อง การยกเลิกการระงับการนำเข้าชั่วคราวสำหรับสินค้าสัตว์ปีกเลี้ยงและสัตว์ปีกป่าจากสโลวาเกีย เนื่องจากแก้ปัญหาการแพร่ระบาดของโรคไข้หวัดนกชนิดก่อโรครุนแรง (HPAI) เสร็จสิ้นแล้ว
รายละเอียดเพิ่มเติม
https://members.wto.org/crnattachments/2019/SPS/PHL/19_5735_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 9 ก.ย. 62
สโลวาเกีย




สิงคโปร์ G/SPS/N/SGP/62/Corr.1
15 ตุลาคม 2562
มาตรการปกติ
สินค้าสุกรและผลิตภัณฑ์จากสุกร
สาระสำคัญ : ปรับแก้ข้อความตามประกาศแจ้งเวียน G/SPS/N/SGP/62 ดังนี้
2) ปรับแก้ข้อความสำหรับสถานะความเป็นอิสระของโรคสัตว์
จากเดิม: "Country/zone has been free of Foot and Mouth Disease (FMD) with or without vaccination, ASF, Swine Vesicular Disease and CSF for six months immediately prior to the date of slaughter and the date of export."
แก้เป็น: "Country/zone has been free of Foot and Mouth Diseases (FMD) with or without vaccination, ASF and CSF for three months immediately prior to the date of slaughter and the date of export."
วันที่มีผลบังคับใช้ : 14 ต.ค. 62
ประเทศคู่ค้า




สิงคโปร์ G/SPS/N/SGP/62/Corr.1/Rev.1
15 ตุลาคม 2562
มาตรการปกติ
สินค้าสุกรและผลิตภัณฑ์จากสุกร
สาระสำคัญ : ปรับแก้ข้อความตามประกาศแจ้งเวียน G/SPS/N/SGP/62 ดังนี้
2) ปรับแก้ข้อความสำหรับสถานะความอิสระของโรคสัตว์ ตามประกาศ G/SPS/N/SGP/62/Corr.1
3) ปรับแก้ข้อความสำหรับการชันสูตรทั้งก่อน-หลังสัตว์เสียชีวิต
จากเดิม: "The meat has been derived from animals which have passed ante-mortem and post-mortem inspection and found to be free from infectious and contagious disease. Ante-mortem and post-mortem inspections have been carried out by veterinarians or meat inspectors under direct supervision of government veterinarians."
แก้เป็น: "The meat has been derived from animals which have passed ante-mortem and post-mortem inspection and found to be free from any sign suggestive of ASF, CSF or other infectious and contagious diseases. Ante-mortem and post-mortem inspections have been carried out by veterinarians or meat inspectors under direct supervision of government veterinarians."
วันที่มีผลบังคับใช้ : 14 ต.ค. 62
ประเทศคู่ค้า




สิงคโปร์ G/SPS/N/SGP/62
14 ตุลาคม 2562
มาตรการปกติ
สินค้าสุกรและผลิตภัณฑ์จากสุกร
สาระสำคัญ : ทบทวนและปรับแก้เงื่อนไขด้านการสัตวแพทย์สำหรับการนำเข้าสุกรและผลิตภัณฑ์จากสุกร โดยมีสาระสำคัญ ดังนี้
1) เพิ่ม "African Swine Fever (ASF)" และ "Classical Swine Fever (CSF)" เป็นโรคแจ้งเตือนในประเทศผู้ส่งออก
2) ปรับแก้ข้อความสำหรับสถานะความเป็นอิสระของโรคสัตว์
3) ปรับแก้ข้อความสำหรับการชันสูตรทั้งก่อน-หลังสัตว์เสียชีวิต
4) ปรับแก้ข้อความสำหรับแหล่งที่มาของเนื้อสัตว์
รายละเอียดเพิ่มเติม
https://www.sfa.gov.sg/explore-by-sections/food/bringing-food-into-singapore-and-exporting/commercial-food-imports
วันที่มีผลบังคับใช้ : 14 ต.ค. 62
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/447
01 ตุลาคม 2562
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้า- สุกรเลี้ยงและสุกรป่า
- ผลิตภัณฑ์จากสุกรเลี้ยงและสุกรป่า
สาระสำคัญ : ประกาศมาตรการฉุกเฉิน เรื่อง การระงับการนำเข้าชั่วคราวสุกรเลี้ยงและสุกรป่า รวมถึงผลิตภัณฑ์จากสุกรเลี้ยงและสุกรป่า ประกอบด้วย เนื้อสุกรและน้ำเชื้อสุกรจากซิมบับเว เนื่องจากพบการแพร่ระบาดของโรคอหิวาต์แอฟริกาในสุกร (African Swine Fever; ASF)
รายละเอียดเพิ่มเติม
https://members.wto.org/crnattachments/2019/SPS/PHL/19_5389_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 29 ส.ค. 62
ซิมบับเว




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/445
18 กันยายน 2562
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสุกรเลี้ยง สุกรป่า ผลิตภัณฑ์และผลิตผลพลอยได้จากสุกรและสุกรป่า
สาระสำคัญ : ประกาศมาตรการฉุกเฉิน เรื่อง การระงับการนำเข้าชั่วคราวสำหรับสุกรเลี้ยง สุกรป่า ผลิตภัณฑ์และผลิตผลพลอยได้จากสุกรและสุกรป่า รวมถึงเนื้อและน้ำเชื้อสุกร เนื่องจากมีการแพร่ระบาดของโรคอหิวาต์แอฟริกาในสุกร (ASF) ในหลายพื้นที่ของเมียนมาร์
วันที่มีผลบังคับใช้ : 20 สค. 62
เมียนมาร์




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/446
18 กันยายน 2562
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสุกรเลี้ยง สุกรป่า ผลิตภัณฑ์และผลิตผลพลอยได้จากสุกรและสุกรป่า
สาระสำคัญ : ประกาศมาตรการฉุกเฉิน เรื่อง การระงับการนำเข้าชั่วคราวสำหรับสุกรเลี้ยง สุกรป่า ผลิตภัณฑ์และผลิตผลพลอยได้จากสุกรและสุกรป่า รวมถึงเนื้อและน้ำเชื้อสุกร เนื่องจากมีการแพร่ระบาดของโรคอหิวาต์แอฟริกาในสุกร (AfricanASF) ในหลายพื้นที่ของสโลวาเกีย
วันที่มีผลบังคับใช้ : 13 ส.ค. 62
สโลวาเกีย




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/106/Add.1
18 กันยายน 2562
มาตรการปกติ
สินค้าอาหารสัตว์ สัตว์มีชีวิตและผลิตภัณฑ์จากปศุสัตว์ (เนื้อสัตว์ สัตว์ปีก ไข่ นม ขนสัตว์ ผลผลิตพลอยได้ที่ได้จากการชำแหละสัตว์ ฯลฯ) และผลิตภัณฑ์ที่ใช้สำหรับการจัดการของเสียจากปศุสัตว์
สาระสำคัญ : ปรับแก้ร่างพระราชกฤษฎีกา เรื่อง แนวทางปฏิบัติสำหรับกฎหมายด้านการดำเนินการเลี้ยงสัตว์ ในมาตรา 12
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/444
09 กันยายน 2562
มาตรการปกติ
สินค้าผลิตภัณฑ์อาหารที่มีวัตถุดิบและส่วนประกอบของอาหารที่มีวัตถุเจือปนอาหาร aluminum lake colors
สาระสำคัญ : จัดทำแนวทางปฎิบัติสำหรับผู้ผลิต ผู้นำเข้า และผู้จำหน่ายผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูปที่มีส่วนประกอบของวัตถุเจือปนอาหาร Aluminum Lake Colors
รายละเอียดเพิ่มเติม
https://members.wto.org/crnattachments/2019/SPS/PHL/19_4859_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 16 ต.ค. 62
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/443
28 สิงหาคม 2562
มาตรการปกติ
สินค้าอาหารจากพืช
สาระสำคัญ : จัดทำร่างข้อกำหนดสำหรับการนำเข้าและส่งออกอาหารจากพืช โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้เกิดระบบควบคุมการนำเข้าและส่งออกอาหารจากพืชที่มีประสิทธิภาพ
รายละเอียดเพิ่มเติม
https://members.wto.org/vrnattachments/2019/SPS/PHL/19_4726_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 1 มิ.ย. 63
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/107
22 กรกฎาคม 2562
มาตรการปกติ
สินค้า- อาหารสัตว์
สาระสำคัญ : จัดทำร่างแนวทางการจัดการอาหารสัตว์ ซึ่งประกอบด้วยหลักการสุ่มตัวอย่างอาหารสัตว์ การติดฉลากอาหารสัตว์ กฎระเบียบเกี่ยวกับการรายงานสถานะการผลิตอาหารสัตว์ ข้อบังคับด้านคุณภาพเกี่ยวกับมาตรฐานอาหารสัตว์ และรายชื่อสารที่ห้ามใช้ในอาหารสัตว์และรายชื่อสารที่อนุญาตให้ใช้ในอาหารสัตว์ของเวียดนาม
วันที่มีผลบังคับใช้ : 30 พ.ย. 62
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/442
17 กรกฎาคม 2562
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าเนื้อสัตว์
สาระสำคัญ : ประกาศระงับการรับรองรายระบบชั่วคราวสำหรับโรงงานผลิตเนื้อของเยอรมนีทุกโรงงานที่มีการส่งออกมายังฟิลิปปินส์ เนื่องจากอยู่ระหว่างการประเมินผลการตรวจสอบ โดยมีผลตั้งแต่วันที่ 1 ก.ค. 62 เป็นต้นไป รายละเอียดเพิ่มเติม
https://members.wto.org/crnattachments/2019/SPS/PHL/19_3996_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 2 ก.ค. 62
เยอรมนี




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/440
02 กรกฎาคม 2562
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าผลิตภัณฑ์อาหารสัตว์ที่มีพืชเป็นส่วนผสมหลัก
สาระสำคัญ : ประกาศใช้มาตรการเฝ้าระวังสำหรับการนำเข้าผลิตภัณฑ์อาหารสัตว์ที่มีพืชเป็นส่วนผสมหลัก ที่มาจากประเทศที่มีการแพร่ระบาดของโรคอหิวาต์แอฟริกาในสุกร รายละเอียดเพิ่มเติม
https://members.wto.org/crnattachments/2019/SPS/PHL/19_3653_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 3 มิ.ย. 62
เบลเยียม, บัลแกเรีย, กัมพูชา, จีน, ฮ่องกง, ฮังการี, ลาว, ลัตเวีย, มอลโดวา, โปแลนด์, โรมาเนีย, รัสเซีย, ยูเครน, เวียดนาม




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/441
02 กรกฎาคม 2562
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสุกรเลี้ยงและสุกรป่า ผลิตภัณฑ์จากสุกรเลี้ยงและสุกรป่า
สาระสำคัญ : ประกาศระงับการนำเข้าสินค้าสุกรเลี้ยงและสุกรป่า รวมถึงผลิตภัณฑ์จากสุกรเลี้ยงและสุกรป่า ได้แก่ เนื้อและน้ำเชื้อสุกรจากลาว เนื่องจากมีรายงานการแพร่ระบาดของโรคอหิวาต์แอฟริกาในสุกร รายละเอียดเพิ่มเติม
https://members.wto.org/crnattachments/2019/SPS/PHL/19_3680_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 21 มิ.ย. 62
ลาว




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/124
01 กรกฎาคม 2562
มาตรการปกติ
สินค้าพืชและผลิตภัณฑ์จากพืช - สัตว์และผลิตภัณฑ์จากสัตว์
สาระสำคัญ : จัดทำประกาศพระราชกฤษฎีกา (ฉบับแก้ไขครั้งที่ 4) เรื่อง ด่านกักกันพืชและสัตว์ โดยกำหนดด่านกักกันพืชและสัตว์ สำหรับการนำเข้าและส่งออกสินค้า ประกอบด้วยท่าเรือ ท่าอากาศยาน ด่านบริเวณชายแดน ท่าเรือบก (dry port) และที่ทำการไปรษณีย์ทั่วอินโดนีเซีย
วันที่มีผลบังคับใช้ : 4 มิ.ย. 62
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/439
07 มิถุนายน 2562
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสุกรเลี้ยงและสุกรป่า รวมทั้งผลิตภัณฑ์สุกร ได้แก่ เนื้อสุกร หนังสุกร และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ประกาศมาตรการฉุกเฉินเกี่ยวกับการระงับการนำเข้าสุกรเลี้ยงและสุกรป่า รวมทั้งผลิตภัณฑ์สุกรจากฮ่องกง สำหรับการนำเข้าส่วนผสมอาหารสัตว์หรือผลิตภัณฑ์สุกรจะต้องดำเนินการตามเงื่อนไขที่ระบุในข้อที่ 15.1.22 ของ OIE Terrestrial Animal Health Code (2018)
วันที่มีผลบังคับใช้ : 14 พ.ค. 62
ฮ่องกง




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/430/Add.1
03 มิถุนายน 2562
มาตรการปกติ
สินค้าสุกรและสุกรป่ารวมถึงผลิตภัณฑ์
สาระสำคัญ : ประกาศยกเลิกการระงับการนำเข้าสุกรและสุกรป่ารวมถึงผลิตภัณฑ์ ซึ่งประกอบด้วย เนื้อหมู หนังหมู และน้ำเชื้อสุกร จากประเทศญี่ปุ่น มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 29 พ.ค. 62 รายละเอียดเพิ่มเติม
https://members.wto.org/crnattachments/2019/SPS/PHL/19_3178_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 29 พ.ค. 62
ญี่ปุ่น




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/106
14 พฤษภาคม 2562
มาตรการปกติ
สินค้าอาหารสัตว์ สัตว์มีชีวิตและผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์ (เนื้อสัตว์ ไข่ นม ขนสัตว์ น้ำผึ้ง ผลพลอยได้จากซากสัตว์ อื่นๆ และผลิตภัณฑ์บำบัดของเสียจากปศุสัตว์)
สาระสำคัญ : จัดทำร่างพระราชกฤษฎีกาเกี่ยวกับแนวทางสำหรับการปฏิบัติตามกฎหมายด้านสัตวบาลมีรายละเอียดที่เกี่ยวข้องกับ:
1) การจัดการด้านสายพันธุ์ของปศุสัตว์ ได้แก่ การประกาศใช้รายชื่อปศุสัตว์ ต้องเป็นการอนุรักษ์และรายชื่อสายพันธุ์ปศุสัตว์ที่ห้ามส่งออก
2) การจัดการด้านอาหารปศุสัตว์ ได้แก่ เงื่อนไขและขั้นตอนการออกใบอนุญาตสำหรับการผลิตอาหารสัตว์และ การนำเข้าอาหารสัตว์ การใช้ยาปฏิชีวนะในปศุสัตว์ การตรวจสอบคุณภาพอาหารสัตว์
3) การจัดการด้านสัตวบาล ได้แก่ ขนาดฟาร์มความหนาแน่นของปศุสัตว์ในพื้นที่อนุรักษ์ ขั้นตอนการออกใบอนุญาตการทำฟาร์มปศุสัตว์ กฎระเบียบเกี่ยวกับการเลี้ยงนกนางแอ่นและกวางซิก้า
4) การนำเข้าปศุสัตว์และผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์
5) กฎระเบียบเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์บำบัดของเสียจากปศุสัตว์
วันที่มีผลบังคับใช้ : 1 ม.ค. 63
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/438
26 เมษายน 2562
มาตรการปกติ
สินค้าโปรตีนแปรรูปจากสุกรที่มีแหล่งกำเนิดจากประเทศท่มีการระบาดของไข้หวัดสุกรแอฟริกา (African Swine Fever: ASF)
สาระสำคัญ : กระทรวงเกษตรฟิลิปปินส์ออกคำสั่งฉบับที่ 6/2019 ระงับการนำเข้าชั่วคราวสำหรับโปรตีนแปรรูปจากสุกรที่มีแหล่งกำเนิดจากประเทศที่มีการระบาดของโรคไข้หวัดสุกรแอฟริกา (ASF) โดยสินค้าที่จะนำเข้ามายังฟิลิปปินส์จะถูกยึดโดยเจ้าหน้าที่กักกัน ณ ด่านนำเข้า รายละเอียดเพิ่มเติม
https://members.wto.org/crnattachments/2019/SPS/PHL/19_2456_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 8 มี.ค. 62
เบลเยียม, บัลแกเรีย, กัมพูชา, จีน , ฮังการี, ลัตเวีย, มัลโดวา, โปแลนด์, โรมาเนีย, รัสเซีย, ยูเครน, เวียดนาม




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/437
12 เมษายน 2562
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสุกรป่าและสุกรเลี้ยง รวมถึงผลิตภัณฑ์ (เช่น เนื้อสุกร หนัง น้ำเชื้อ)
สาระสำคัญ : ระงับการนำเข้าสุกรเลี้ยงและสุกรป่า รวมทั้งผลิตภัณฑ์สุกรซึ่งประกอบไปด้วยเนื้อสุกร หนังสุกร และน้ำเชื้อ รวมถึงระงับการยื่นขอนำเข้าและการออกใบรับรองเพื่อตรวจปล่อยสินค้า ทั้งนี้ หากมีการส่งสินค้าดังกล่าวมายังฟิลิปปินส์ สินค้าจะถูกระงับและยึดไว้โดยเจ้าหน้ากักกัน
วันที่มีผลบังคับใช้ : 4 เม.ย. 62
กัมพูชา




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/105
02 เมษายน 2562
มาตรการปกติ
สินค้าปุ๋ย
สาระสำคัญ : จัดทำร่างกฎระเบียบเกี่ยวกับการบริหารจัดการปุ๋ยฉบับใหม่ ซึ่งจะมีการบังคับใช้กฎระเบียบเกี่ยวกับการผลิตปุ๋ย, การขึ้นทะเบียนเพื่อการค้า, การนำเข้า-ส่งออกและการใช้ปุ๋ย, การควบคุมปริมาณสารที่ผลิตจากจุลินทรีย์ในปุ๋ยที่อาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพมนุษย์และผลผลิตทางการเกษตร
วันที่มีผลบังคับใช้ : 1 ม.ค. 63
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/436
28 มีนาคม 2562
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าไข้หวัดสุกร
สาระสำคัญ : ระงับการนำเข้าชั่วคราวสุกรพื้นบ้าน สุกรป่าและผลิตภัณฑ์รวมเนื้อสุกร หนังสุกร และน้ำเชื้อที่มาจากเวียดนาม เนื่องจากพบการระบาดของไข้หวัดสุกร ตั้งแต่วันที่ 27 ก.พ. 62
วันที่มีผลบังคับใช้ : 27 ก.พ. 62
เวียดนาม




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/435
18 มีนาคม 2562
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสุกรเลี้ยงและสุกรป่า และผลิตภัณฑ์สุกร
สาระสำคัญ : ระงับการนำเข้าสุกรเลี้ยงและสุกรป่า รวมทั้งผลิตภัณฑ์สุกร ซึ่งประกอบไปด้วยเนื้อสุกรและน้ำเชื้อ ทั้งนี้ ยังรวมถึงกระบวนการตรวจสอบเอกสารและการออกเอกสารสำหรับการนำเข้าสินค้าเหล่านี้ด้วย สำหรับเนื้อสุกรแช่แข็งที่มาจากโรงงานที่ได้รับการรับรอง ยังคงอนุญาตให้นำเข้าได้ภายใต้กฎระเบียบด้านการกักกันสัตว์
วันที่มีผลบังคับใช้ : 18 ก.พ. 62
เวียดนาม




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/432/Add.1
15 มีนาคม 2562
มาตรการปกติ
สินค้าศัตรูพืชควบคุม
สาระสำคัญ : กรมวิชาการเกษตรได้เพิ่มเติมภาคผนวกที่ 1 ของประกาศกรมวิชาการเกษตรฉบับที่ 18 ปี 2561 เรือง รายชื่อศัตรูพืชควบคุม (Regulated Plant Pest) รายละเอียดเพิ่มเติม
https://members.wto.org/crnattachments/2019/SPS/PHL/19_1482_00_e.pdf ประเทศคู่ค้า
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/434
08 มีนาคม 2562
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกป่าและสตว์ปีกเลี้ยงและผลิตภัณฑ์
สาระสำคัญ : ประกาศมาตรการห้ามนำเข้าสัตว์ปีกเลี้ยงและสัตว์ปีกป่า รวมทั้งผลิตภัณฑ์ ซึ่งประกอบไปด้วยเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่และน้ำเชื้อที่มาจากอินเดีย รวมทั้งกระบวนการแปรรูป การประเมินเอกสารคำขอ และประเด็นด้าน SPS ที่เกี่ยวข้อง โดยสินค้าทั้งหมดที่กล่าวมานั้นจะถูกตรวจสอบโดยเจ้าหน้าที่กักกันสัตว์/ผู้ตรวจประเมิน ณ จุดนำเข้าหลักทั้งหมด ยกเว้น สินค้าที่ผ่านความร้อน รายละเอียดเพิ่มเติม
https://members.wto.org/crnattachments/2019/SPS/PHL/19_1384_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 25 ม.ค. 62
อินเดีย




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/432
05 มีนาคม 2562
มาตรการปกติ
สินค้าพืช
สาระสำคัญ : Department of Agriculture (DA) ประกาศรายชื่อศัตรูพืชเพื่อเป็นแนวทาง (Guidance) ในการเฝ้าระวัง รายละเอียดเพิ่มเติม
https://members.wto.org/crnattachments/2019/SPS/PHL/19_1203_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 12 พ.ย. 61
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/433
05 มีนาคม 2562
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสุกร สุกรป่า และผลิตภัณฑ์จากสุกร รวมถึงเนื้อและน้ำเชื้อสุกร
สาระสำคัญ : ประกาศระงับการนำเข้าชั่วคราวสินค้าดังกล่าว เนื่องจากการแพร่ระบาดของโรค African Swine Fever (ASF) ใน Gahain bair, Rashaant bag, Bulgan Soum, Bulgan และมองโกเลีย รายละเอียดเพิ่มเติม
https://members.wto.org/crnattachments/2019/SPS/PHL/19_1204_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 25 ม.ค. 62
มองโกเลีย




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/431
01 มีนาคม 2562
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสุกรและสุกรป่า
สาระสำคัญ : เพิ่มความเข้มงวดในการตรวจสอบสินค้าสุกรและผลิตภัณฑ์จากสุกรตามด่านนำเข้าสินค้า ด่านศุลกากร ณ สนามบินนานาชาติและท่าเรือ และทำลายสินค้าที่พบการปนเปื้อนภายใน 24 ชม. โดยเฉพาะสินค้าจากประเทศจีนและประเทศอื่นๆ ที่มีการแพร่ระบาดของโรค African Swine Fever (ASF) รายละเอียดเพิ่มเติม
https://members.wto.org/crnattachments/2019/SPS/PHL/19_1196_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 28 ธ.ค. 61
เบลเยียม, บัลแกเรีย, จีน, สาธารณรัฐเช็ค, ฮังการี, ลัตเวีย, สาธารณรัฐมอลโดวา, มองโกเลีย, โปแลนด์, โรมาเนีย, รัสเซีย, แอฟริกาใต้, ยูเครน, เวียดนาม, แซมเบีย




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/427/Add.1
07 มกราคม 2562
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกเลี้ยงและสัตว์ปีกป่า
สาระสำคัญ : ยกเลิกมาตรการระงับการนำเข้าชั่วคราวสัตว์ปีกป่าและสัตว์ปีกเลี้ยงจากรัฐ Northern California สหรัฐอเมริกา และกำหนดเงื่อนไขสำหรับการนำเข้าทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับไก่ชนจากรัฐ Northern California ค้นข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ https://members.wto.org/crnattachments/2019/SPS/PHL/19_0116_00_e.pdf
เอกสารฉบับเต็ม: 


วันที่มีผลบังคับใช้ : -
สหรัฐอเมริกา




สิงคโปร์ G/SPS/N/SGP/59/Add.1
22 พฤศจิกายน 2561
มาตรการปกติ
สินค้าอาหารพร้อมรับประทาน
สาระสำคัญ : สิงคโปร์ได้ปรับแก้มาตรการเกี่ยวกับอาหารพร้อมรับประทานจากข้อคิดเห็นที่ได้จากประเทศคู่ค้า ดังนี้
1. ยกเลิกมาตรา 35 เดิม แล้วกำหนดใหม่ ดังนี้
35 (1) อาหารพร้อมรับประทาน (Ready-to-eat food) จะต้องเป็นไปตามมาตรฐานด้านจุลินทรีย์ที่ระบุไว้ในส่วนที่ 1 และ 2 ของตารางที่ 11
(2) นิยามอาหารพร้อมรับประทาน หมายถึง อาหารที่ผลิตเพื่อการบริโภคของมนุษย์โดยตรง โดยไม่ต้องปรุงหรือผ่านกระบวนการที่จะกำจัดหรือลดเชื้อจุลินทรีย์ให้อยู่ในระดับที่สอดคล้องตามที่ระบุในตารางที่ 11 รวมถึงอาหารเข้มข้น (เครื่องดื่ม บะหมี่ถ้วย และน้ำผลไม้เข้มข้น) ที่ต้องเจือจางด้วยของเหลวก่อนบริโภคและผลิตภัณฑ์ปรุงสุกแช่เย็นและแช่แข็งที่ต้องผ่านความร้อนอีกครั้งก่อนบริโภค
2. ยกเลิกตารางที่ 11 เดิมและแทนที่ด้วยตารางที่ 11 ที่แจ้งในประกาศนี้ โดยสรุปได้ดังนี้
ส่วนที่ 1 Enterobacteriaceae และ Escherichia coli
- นมผง (full cream, half cream, skimmed milk และนมผงสำหรับเด็ก) นมเปรี้ยวผง (buttermilk powder) นมพาสเจอร์ไรส์ และไอศกรีม ต้องพบโคโลนีของเชื้อ Enterobacteriaceae ไม่เกิน 104 cfu/g และเชื้อ Escherichia coli ไม่เกิน 102 cfu/g
- อาหารพร้อมรับประทานอื่นๆ ต้องพบโคโลนีของเชื้อ Enterobacteriaceae ไม่เกิน 104 cfu/g และเชื้อ Escherichia coli ไม่เกิน 102 cfu/g
ส่วนที่ 2 เชื้อก่อโรค
- Coagulase-positive Staphylococcus aureus <102 cfu/g
- Bacillu cereus <2.0 X 102 cfu/g
- Clostridium perfringens <102 cfu/g
- Vibrio parahaemolyticus <102 cfu/g
ในอาหารทะเลพร้อมรับประทานดิบ
ทั้งนี้ เชื้อก่อโรคอื่นนอกเหนือที่ไม่ได้ระบุในตารางที่ 11 และไม่เกี่ยวกับอาหารพร้อมรับประทานต้อง Not detected ในอาหาร 25 g
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/95/ Add.2
30 ตุลาคม 2561
มาตรการปกติ
สินค้าปศุสัตว์
สาระสำคัญ : แจ้งว่าร่างกฎหมายปศุสัตว์ version 6 ให้ใช้ แทนที่ version 5
วันที่มีผลบังคับใช้ : 10 ส.ค. 61
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/427
26 ตุลาคม 2561
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าไก่เลี้ยงและไก่ป่ารวมถึงไก่ชน
สาระสำคัญ : ประกาศระงับการนำเข้าไก่เลี้ยงและไก่ป่ารวมถึงไก่ชน จากรัฐแคลิฟอร์เนีย ประเทศสหรัฐอเมริกาเป็นการชั่วคราว เนื่องมาจากการระบาดของโรค Virulent Newcastle Disease (VND) ในเมืองทางตอนใต้ของรัฐแคลิฟอร์เนีย รายละเอียดเพิ่มเติม
https://members.wto.org/crnattachments/2018/SPS/PHL/18_5637_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 10 ต.ค. 61
สหรัฐอเมริกา




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/426
16 ตุลาคม 2561
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสุกรเลี้ยงและสุกรป่า รวมทั้งผลิตภัณฑ์เนื้อสุกรและน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ประกาศระงับการนำเข้าชั่วคราวสุกรเลี้ยง สุกรป่า และผลิตภัณฑ์สุกร รวมถึงเนื้อสุกรและน้ำเชื้อสุกรจากเบลเยียม เนื่องจากมีการระบาดของโรค African Swine Fever ที่เมือง Etalle ประเทศเบลเยียม ทั้งนี้ สินค้าเนื้อสุกรแช่แข็งที่ชำแหละก่อนหรือในวันที่ 25 ส.ค. 61 อนุญาตให้นำเข้าได้ตามกฎระเบียบการกักกันสัตว์ ค้นข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่
https://members.wto.org/crnattachments/2018/SPS/PHL/18_5400_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 17 ก.ย. 61
เบลเยียม




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/425
15 ตุลาคม 2561
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้า ไข้หวัดสุกร
สาระสำคัญ : จากการรายงานอย่างเป็นทางการของ OIE สถานการณ์ปัจจุบันพบว่าประเทศบัลแกเรีย เช็ก มอลโดวา แอฟริกาใต้ แซมเบีย ยังไม่สามารถแก้ปัญหาโรคไข้หวัดสุกร African Swine Fever ฟิลิปปินส์จึงประกาศการระงับการนำเข้าชั่วคราวสุกรพื้นบ้านและสุกรป่าและผลิตภัณฑ์ โดยมีการระงับกระบวนการประเมินทางสุขอนามัยและกำจัดสินค้าดังกล่าวในทันที รวมถึงการคัดแยกและตรวจยึดสินค้าดังกล่าวที่เข้ามาในราชอาณาจักรทุกๆช่องทาง
วันที่มีผลบังคับใช้ : 14 ก.ย. 61
บัลแกเรีย เช็ก มอลโดวา แอฟริกาใต้ แซมเบีย




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/104
15 ตุลาคม 2561
มาตรการปกติ
สินค้าอาหารที่ได้จากพืช
สาระสำคัญ : แจ้งเวียนกฎระเบียบการตรวจสอบด้านความปลอดภัยอาหารสำหรับอาหารที่มีแหล่งกำเนิดจากพืชส่งออก ตามมาตราที่ 41 และ 42 ของกฎหมายความปลอดภัยอาหารของเวียดนามปี 2553 และมาตราที่ 23 ของกฤษฎีกาฉบับที่ 15/2018/ND-CP เกี่ยวกับแนวทางปฏิบัติสำหรับบางมาตราของกฎหมายว่าด้วยความปลอดภัยอาหาร เพื่อเป็นการควบคุมด้านความปลอดภัยอาหารนำเข้า จึงได้แจ้งเวียนกฎดังนี้
- เอกสารชุดและขั้นตอนปฏิบัติในการตรวจสอบด้านความปลอดภัยอาหารสำหรับสินค้าพืชส่งออก
- การจัดการการ re-import สินค้าอาหารที่ได้จากพืชส่งออกในกรณีที่ไม่เป็นไปตามกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง
- ฟอร์มการนำเสนอผลการตรวจสอบความปลอดภัยอาหารสินค้าอาหารที่ได้จากพืชส่งออก
วันที่มีผลบังคับใช้ : 6 เดือนหลังประกาศในราชกิจจาฯ
ประเทศคู่ค้า




ลาว G/SPS/N/LAO/3
02 ตุลาคม 2561
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าผลิตภัณฑ์สุกร
สาระสำคัญ : ตามที่มีการระบาดของ African Swine Fever ในจังหวัด Liaoning ของจีน กระทรวงเกษตรและป่าไม้จึงกำหนดมาตรการป้องกัน ดังนี้
1. กรมปศุสัตว์และประมงจะร่วมมือกับจุดตรวจ ณ เขตแดนเพื่อแจ้งการบังคับใช้มาตรการฉบับนี้ให้แก่ผู้ประกอบการและประชาชนปฏิบัติตาม
2. จังหวัดที่ติดกับจีน ได้แก่ Luang Namtha, Oudomxay และ Phongsaly จะต้องหยุดนำเข้าชั่วคราวผลิตภัณฑ์สุกรทุกชนิดจากจีน
3. หน่วยงานเกษตรและประมงจังหวัดจะต้องร่วมมือกับภาคส่วนที่เกี่ยวข้องเพื่อดำเนินการวางแผนการผลิตสุกรให้เพียงพอกับความต้องการภายในประเทศเพื่อลดการนำเข้า
ในกรณีที่เจ้าหน้าที่ ณ เขตแดน พบผลิตภัณฑ์สุกรจากจีนจะดำเนินการยับยั้งตามกฎหมายและกฎระเบียบของลาว
วันที่มีผลบังคับใช้ : 5 ก.ย. 61
จีน




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/103
27 กันยายน 2561
มาตรการปกติ
สินค้าผลิตภัณฑ์นมสด
สาระสำคัญ : แจ้งเวียนร่างกฎระเบียบสำหรับการผลิตน้ำนมสดสำหรับโรงเรียนซึ่งมีการสนับสนุนเพื่อปรับปรุงเด็กก่อนวัยเรียนและเด็กประถมในปี 2563
? คำนิยามของคำว่า ผลิตภัณฑ์น้ำนมสด สำหรับโปรแกรมนมโรงเรียน
? สารเสริมวิตามินและแร่ธาตุ
? ข้อกำหนดการดำเนินการ
วันที่มีผลบังคับใช้ : 45 วันนับจากประกาศราชกิจจาฯ
ประเทศคู่ค้า




สิงคโปร์ G/SPS/N/SGP/61
18 กันยายน 2561
มาตรการปกติ
สินค้าอาหาร
สาระสำคัญ : ร่างกฎระเบียบทางอาหาร (ฉบับแก้ไข) ประจำปี 2562
1. อนุญาตให้มีการใช้วัตถุเจือปนอาหาร ดังนี้
- 1,3-propanediol เพื่อเป็นวัตถุปรุงแต่งกลิ่นรส
- เกลือกรดอะมิโน 4 ชนิด ดังนี้ L-Isoleucine monohydrochloride, L-Leucine monohydrochloride, L-Lysine monohydrochloride และ L-Lysine acetate
- เอ็นไซม์ 7 ชนิด ภายใต้ GMP:Enzyme ดังนี้ Alpha-acetolactate Decarboxylase, Aqualysin, Beta-amylase, Beta-galactosidase (หรือ lactase), Endo-1,4-beta-xylanase, Glucoamylase (หรือ amyloglucosidase), Phosphatidylinositol phospholipase C
- Emulsifiers/stabilisers 4 ชนิด ดังนี้ Sodium carboxymethyl cellulose (INS 469), Ethyl hydroxyethyl cellulose (INS 467), Potassium caseinate, Tamarind seed polysaccharide (INS 437) และวัตถุเจือปนอาหาร 6 ชนิด ดังนี้ Sodium fumarate (INS 365), Polyvinylpyrrolidone (INS 1202), Triammonium citrate (INS 380), Cyclotetraglucose (INS 1504(i)), Cyclotetraglucose syrup (INS 1504(ii)), Magnesium hydroxide carbonate (INS 504(ii))
- Paprika extract (INS 160c(ii)) เป็นสีผสมอาหาร
- สารสกัดหล่อฮังก๊วย (Mong fruit extract) ( ประกอบด้วย 20 ? 90% w/w mogroside V) เป็นสารให้ความหวาน
2. ขยายกรอบ การใช้งานวัตถุเจือปนอาหารดังต่อไปนี้เข้ากลุ่มอาหารเสริม
- Propionic acid (และเกลือโซเดียม, แคลเซียม และโพแทสเซียมของ Propionic acid) (INS 280, 281, 282 และ 283) ใช้ในอาหาร
- Dimethyl polysiloxane (INS 900a) ใช้ในผลิตภัณฑ์ ?นมเปรี้ยวพร้อมดื่ม?, ?นมปรุงแต่ง?, ?กาแฟพร้อมดื่ม? และ ?ชาพร้อมดื่ม? ที่ระดับไม่เกิน 10 ppm
- Butylated hydroxyanisole (INS 320) และ Butylated hydroxytoluene (INS 321) ใช้ในผลิตภัณฑ์ ?ซีเรียลอาหารเช้า? ที่ระดับไม่เกิน 200 ppm และ 100 ppm ตามลำดับ คำนวณจากไขมันและน้ำมันเป็นหลัก
- Nisin (INS 234) ในผลิตภัณฑ์ ?ไข่ของเหลว?
- Benzoic acid (และเกลือโซเดียมและโพแทสเซียมของ Benzoic acid) (INS 210, 211 และ 212) รวมทั้ง Sorbic acid (และเกลือโซเดียม, โพแทสเซียม และแคลเซียมของ Sorbic acid) (INS 200, 201, 202, และ 203) ในผลิตภัณฑ์ ?Custard fillingand toppings (egg-based)? และ ?Fillings and toppings (fat-emulsion)?ที่ร
วันที่มีผลบังคับใช้ : ม.ค..62
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/423
11 กันยายน 2561
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าไข้หวัดนก
สาระสำคัญ : ประกาศห้ามเข้าสัตว์ปีกพื้นบ้าน สัตว์ปีกป่าและผลิตภัณฑ์ รวมเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อที่มาจากรัฐซาบาห์ ประเทศมาเลเซีย ตั้งแต่วันที่ 10 สิงหาคม 2561 เนื่องจากห้องปฏิบัติการของรัฐบาซาห์ยืนยันพบการระบาดของไข้หวัดนก H5N1
วันที่มีผลบังคับใช้ : 10 ส.ค. 61
มาเลเซีย




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/424
11 กันยายน 2561
มาตรการปกติ
สินค้าไข้หวัดสุกร
สาระสำคัญ : ประกาศห้ามเข้าสุกรพื้นบ้าน สุกรป่าและผลิตภัณฑ์รวมเนื้อสุกรและน้ำเชื้อที่มาจากประเทศจีน เนื่องจากมีรายงานยืนยันการระบาดของไข้หวัดสุกร ใน Shenbei, Shenyang, Liaoning ของประเทศจีน
วันที่มีผลบังคับใช้ : 8 ส.ค. 61
จีน




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/422
10 กันยายน 2561
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าหมูป่าและหมูบ้าน รวมถึงผลิตภัณฑ์ เช่น เนื้อหมู น้ำเชื้อหมู เป็นต้น
สาระสำคัญ : ประกาศระงับการนำเข้าชั่วคราวสำหรับหมูป่าและหมูบ้านรวมถึงผลิตภัณฑ์จาก 6 ประเทศประกอบด้วย ลัตเวีย โปแลนด์ โรมาเนีย รัสเซีย ยูเครนและจีน เนื่องจาก OIE มีประกาศแจ้งพบการระบาดของโรคไข้หวัดหมูแอฟริกัน (African Swine Fever: ASF) ในประเทศดังกล่าว รายละเอียดเพิ่มเติมที่ https://members.wto.org/crnattachments/2018/SPS/PHL/18_4770_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 30 ส.ค. 61
ลัตเวีย โปแลนด์ โรมาเนีย รัสเซีย ยูเครนและจีน




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/420
30 สิงหาคม 2561
มาตรการปกติ
สินค้าสารกำจัดศัตรูพืช
สาระสำคัญ : ร่างมาตรฐานข้อมูล ASEAN MRLs Database ได้แก่ แอปเปิล กลุ่มส้ม องุ่น ลิ้นจี่ ส้มเปลือกล่อน แพร์ เป็นการลดความแตกต่างและส่งเสริมการค้า รวมถึงส่งเสริมการปกป้องผู้บริโภคต่ออันตรายจากสารกำจัดศัตรูพืช รายละเอียดค้นได้จาก https://members.wto.org/crnattachments/2018/SPS/PHL/18_4673_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/421
30 สิงหาคม 2561
มาตรการปกติ
สินค้าเนื้อโคตัดแต่ง (beef trimming) ไม่รวมที่ได้จากคอและหัว
สาระสำคัญ : กำหนดเงื่อนไขนำเข้าสำหรับเนื้อโคตัดแต่ง (beef trimming) ซึ่งไม่ได้ครอบคลุมถึงเนื้อที่ได้จากคอและหัว โดยต้องพิจารณาโดยบราซิลและต้องมีใบรับรองสุขภาพสัตว์ที่ผ่านความเห็นชอบแล้วเมื่อ่วันที่ 4 มิ.ย.61 รายละเอียดค้นได้จาก https://members.wto.org/crnattachments/2018/SPS/PHL/18_4674_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 10 ก.ค. 61
บราซิล




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/419
28 สิงหาคม 2561
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าไข้หวัดนก
สาระสำคัญ : ประกาศยกเลิกการห้ามนำเข้าสัตว์ปีกพื้นบ้านและสัตว์ปีกป่ารวมเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ น้ำเชื้อจาก Grootegast, Groningen ประเทศเนเธอร์แลนด์ ซึ่งเป็นผลมาจากการยื่นเสนอรายงานต่อ OIE โดย ดร. Christine Bruschke หัวหน้าสัตวแพทย์ กระทรวงเกษรตรฯ ว่าพื้นที่ Grootegast, Groningen ได้รับการแก้ปัญหาแล้ว
วันที่มีผลบังคับใช้ : 23 ก.ค. 61
เนเธอร์แลนด์




มาเลเซีย G/SPS/N/MYS/42
19 กรกฎาคม 2561
มาตรการปกติ
สินค้าสารกำจัดศัตรูพืช
สาระสำคัญ : ร่างแก้ไขเกี่ยวกับการเพิ่มค่า MRLs ของสารกำจัดศัตรูพืชชนิดใหม่ลงในตาราง 16 ของกฎระเบียบ Food Regulation 1985 ดังนี้
- สาร Indaziflam* น้ำมันปาล์ม (palm oil) 0.01 mg/kg
- สาร Fluopyram มะม่วง 1 mg/kg
- สาร Tricyclazole* พริก 0.5 mg/kg
- สาร Tebuconazole* ส้ม 0.3 mg/kg
รายละเอียดค้นได้จาก https://members.wto.org/crnattachments/2018/SPS/MYS/18_3833_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/92/Add.1
26 มิถุนายน 2561
มาตรการปกติ
สินค้าอาหารที่มีแหล่งกำเนิดจากพืช
สาระสำคัญ : แจ้งยกเลิกประกาศเกี่ยวกับความปลอดภัยอาหารที่มีแหล่งกำเนิดจากพืชตามที่เคยแจ้งเวียนองค์การการค้าโลกแล้ว หมายเลข G/SPS/N/VNM/92 (10 ต.ค. 60)
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/418
25 มิถุนายน 2561
มาตรการปกติ
สินค้าข้าวเปลือก ข้าวสาร
สาระสำคัญ : มาตรฐานฟิลิปปินส์เรื่องการคัดเกรด การจัดประเภทของเมล็ดข้าวเปลือกและข้าวสาร ได้กำหนดคุณลักษณะเกี่ยวกับ ความปลอดภัย คุณภาพ บรรจุภัณฑ์ การติดฉลากรวมการทดสอบและการวิเคราะห์เมล็ดข้าวโดยเฉพาะข้าวเปลือก ข้าวสารเพื่อรับรองว่าอาหารปลอดภัย มีคุณภาพและการค้าที่ยุติธรรม
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/417
22 มิถุนายน 2561
มาตรการปกติ
สินค้าธัญพืช
สาระสำคัญ : มาตรฐานฟิลิปปินส์เรื่องหลักปฏิบัติเพื่อป้องกันและลดการปนเปื้อนสารพิษจากเชื้อราในธัญพืช เพื่อช่วยให้ผู้ผลิต/เกษตรกรปฏิบัติตามค่า ML ของสารพิษจากเชื้อราในธัญพืช โดยเฉพาะ aflatoxin, fumonisins, DON
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/416
21 มิถุนายน 2561
มาตรการปกติ
สินค้าข้าวโพดขัดสี
สาระสำคัญ : ร่างมาตรฐานฟิลิปปินส์สำหรับข้าวโพดขัดสี เกี่ยวกับการคัดเกรดและจัดประเภทเพื่อให้เป็นมาตรฐานเดียวกันโดยอาศัยพื้นฐานลักษณะทางกายภาพและหลักปฏิบัติที่มีอยู่ในปัจจุบัน รายละเอียดค้นได้จาก https://members.wto.org/crnattachments/2018/SPS/PHL/18_3220_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/415
20 มิถุนายน 2561
มาตรการปกติ
สินค้าข้าวโพดขัดสี (Corn grits)
สาระสำคัญ : ร่างมาตรฐานฟิลิปปินส์ - กำหนดหลักปฏิบัติสำหรับการผลิตและการจัดการข้าวโพดขัดสี (PNS/BAFS 142:2015) เพื่อจัดทำเอกสารข้อแนะนำการผลิตและการจัดการและการเก็บรักษาคุณภาพเมล็ดข้าวโพดขัดสีเพื่อป้องกันความเสี่ยงต่อการปนเปื้อนต่อสินค้า เช่น อะฟลาท๊อกซิน โลหะหนักและการตกค้างของสารกำจัดศัตรูพืช รายละเอียดค้นได้จาก https://members.wto.org/crnattachments/2018/SPS/PHL/18_3187_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/414
19 มิถุนายน 2561
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าไข้หวัดนก
สาระสำคัญ : กรมวิชาการเกษตรฯ ของฟิลิปปินส์ได้ประกาศ (DA MO No.17) ยกเลิกการห้ามนำเข้าสัตว์ปีกพื้นบ้านสัตว์ปีกป่าและผลิตภัณฑ์รวมเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อที่มีแหล่งกำเนิดมาจากจังหวัด Kagawa ประเทศญี่ปุ่น ที่เป็นผลมาจากการยื่นข้อมูลของญี่ปุ่น (Dr. Kazuo Ito) ต่อ OIE ว่าได้มีการแก้ไขปัญหากรณีไข้หวัดนกแล้ว (คำสั่งห้ามนำเข้า DA MO No.1 ปี 2018) รายละเอียดค้นได้จาก http://members.wto.org/crnattachments/2018/SPS/PHL/18_3155_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 23 พ.ค. 61
ญี่ปุ่น




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/102
08 มิถุนายน 2561
มาตรการปกติ
สินค้าเนื้อสุกรแช่เย็น
สาระสำคัญ : มาตรฐานแห่งชาติของเวียดนามกำหนดกฎระเบียบเชิงเทคนิคสำหรับเนื้อสุกรแช่เย็น (chilled pork)
วันที่มีผลบังคับใช้ : ก.ย. 61
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/101
06 มิถุนายน 2561
มาตรการปกติ
สินค้าวัตถุเจือปนอาหาร
สาระสำคัญ : ร่างประกาศเกี่ยวกับการจัดการและการใช้วัตถุเจือปนอาหาร โดยได้กำหนดรายการวัตถุเจือปนอาหารที่อนุญาตให้ใช้และกำหนดปริมาณสูงสุดในอาหาร
วันที่มีผลบังคับใช้ : 15 ธ.ค. 61
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/VNM/100
01 มิถุนายน 2561
มาตรการปกติ
สินค้าผลิตภัณฑ์จากพืช
สาระสำคัญ : จัดทำกฎระเบียบเพื่อแก้ไขภาคผนวกที่ 1a และ 2a ของกฎหมาย Circular No. 30/2017/TT-BNNPTNT ลงวันที่ 29 ธ.ค. 60 โดยแก้ไข
- ภาคผนวกที่ 1a เรื่อง Application Form สำหรับพืชกักกันและการตรวจสอบความปลอดภัยอาหารของสินค้านำเข้าที่มีแหล่งกำเนิดจากพืช และ
- ภาคผนวกที่ 2a เรื่องใบรับรองสำหรับพืชกักกันและการตรวจสอบความปลอดภัยอาหารของอาหารนำเข้าที่มีแหล่งกำเนิดจากพืช

วันที่มีผลบังคับใช้ : ต.ค. 61
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/99
29 พฤษภาคม 2561
มาตรการปกติ
สินค้าอาหาร
สาระสำคัญ : ร่างกฎระเบียบทางเทคนิคเกี่ยวกับสารที่อนุญาตให้เติมในอาหาร (วิตามินเอ) เพื่อเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการ
วันที่มีผลบังคับใช้ : 30 ก.ค. 61
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/412
29 พฤษภาคม 2561
มาตรการปกติ
สินค้าสัตว์มีชีวิต
สาระสำคัญ : ประกาศกรมวิชาการเกษตรฉบับที่ 12 ปี 2017 เกี่ยวกับการนำเข้าสัตว์มีชีวิตมายังฟิลิปปินส์ สำหรับใช้เป็นข้อมูล แนวทางปฏิบัติ และ ข้อกำหนดที่เกี่ยวข้อง รายละเอียดค้นได้จาก https://members.wto.org/crnattachments/2018/SPS/PHL/18_2356_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 6 ต.ค. 60
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/413
29 พฤษภาคม 2561
มาตรการปกติ
สินค้าสารกำจัดศัตรูพืช
สาระสำคัญ : มาตรฐานแห่งชาติของฟิลิปปินส์ กำหนดค่า MRLs ของสารกำจัดศัตรูพืช (ใน แอปเปิ้ล ผลไม้กลุ่มส้ม องุ่น ลิ้นจี่ ส้ม แพร์) เพื่อปกป้องผู้บริโภคซึ่งประกาศใช้ตามค่า MRLs ของอาเซียนที่กำหนดโดยกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ รายละเอียดค้นได้จาก https://members.wto.org/crnattachments/2018/SPS/PHL/18_2725_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/98
24 พฤษภาคม 2561
มาตรการปกติ
สินค้าอาหารสัตว์น้ำ อาหารผสมของสัตว์น้ำสำหรับการเพาะเลี้ยง
สาระสำคัญ : กำหนดเงื่อนไขความปลอดภัยอาหารและระดับการตกค้างของสารปนเปื้อนสำหรับอาหารผสมสำหรับสัตว์น้ำ รายละเอียดเพิ่มเติมสามารถดูได้ที่ https://members.wto.org/crnattachments/2018/SPS/VNM/18_2592_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 1 ม.ค. 62
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/59/Add.2
17 พฤษภาคม 2561
มาตรการปกติ
สินค้าวัตถุดิบอาหารที่มาจากสัตว์
สาระสำคัญ : ประกาศยกเลิกกฎหมายเลขที่ 25/2010/TT-BNNPTNT ว่าด้วยสุขลักษณะด้านอาหารและควบคุมความปลอดภัยสำหรับการนำเข้าวัตถุดิบอาหารที่มาจากสัตว์ โดยใช้ประกาศกฎหมายเลขที่ 15/2018/ND-CP ว่าด้วยกฎหมายเกี่ยวกับความปลอดภัยอาหารแทน
วันที่มีผลบังคับใช้ : 2 ก.พ. 61
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/95/Add.1
17 พฤษภาคม 2561
มาตรการปกติ
สินค้ากฎหมายปศุสัตว์
สาระสำคัญ : ประกาศร่างกฎหมายปศุสัตว์ ฉบับที่ 5 ซึ่งทดแทนฉบับที่ 4 ที่ได้แจ้งเวียนไปเมื่อวันที่ 12 มี.ค. 61
วันที่มีผลบังคับใช้ : 2 ก.พ. 61
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/20/Add.1
17 พฤษภาคม 2561
มาตรการปกติ
สินค้าวัตถุดิบอาหารที่มาจากพืช
สาระสำคัญ : ประกาศยกเลิกกฎหมายเลขที่ 12/2015/TT-BNNPTN ว่าด้วยคู่มือควบคุมความปลอดภัยอาหารสำหรับการนำเข้าวัตถุดิบอาหารที่มาจากพืช โดยใช้กฎหมายเลขที่ 15/2018/ND-CP ว่าด้วยกฎหมายเกี่ยวกับความปลอดภัยอาหารแทน
วันที่มีผลบังคับใช้ : 2 ก.พ. 61
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/407/Add.1
15 พฤษภาคม 2561
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกป่าและสัตว์ปีกพื้นบ้าน รวมเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : กระทรวงเกษตรฯฟิลิปปินส์ออกคำสั่งฉบับที่ 12 ปี 2018 ยกเลิกการระงับนำเข้าสัตว์ปีกป่าและสัตว์ปีกพื้นบ้าน รวมเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่และน้ำเชื้อ ที่มีแหล่งกำเนิดจาก Biddinghuizen, Flevoland ประเทศเนเธอร์แลนด์ มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 18 เม.ย. 61 ค้นข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ https://members.wto.org/crnattachments/2018/SPS/PHL/18_2391_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 18 เม.ย. 61
เนเธอร์แลนด์




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/411
04 พฤษภาคม 2561
มาตรการปกติ
สินค้าสุนัขและแมว
สาระสำคัญ : ข้อกำหนดการนำเข้าสุนัขและแมวมายังฟิลิปปินส์จะต้องมีการระบุตัวตนของสัตว์โดยใช้ RFID หรือ ไมโครชิปฝังไว้ที่ตัวสัตว์ ค้นข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ https://members.wto.org/crnattachments/2018/SPS/PHL/18_2355_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 1 มิ.ย. 61
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/97
23 เมษายน 2561
มาตรการปกติ
สินค้าพืชผลทางการเกษตร
สาระสำคัญ : จัดทำร่างกฎระเบียบเกี่ยวกับการผลิตพืชเพื่อควบคุมกระบวนการผลิตพืช ได้แก่ การใช้พันธุ์พืชและปุ๋ย การเพาะปลูก กระบวนหลังการเก็บเกี่ยว เป็นต้น รายละเอียดเพิ่มเติมที่ https://members.wto.org/crnattachments/2018/SPS/VNM/18_2178_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 1 ม.ค. 61
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/410
19 เมษายน 2561
มาตรการปกติ
สินค้าไข่และลูกไก่
สาระสำคัญ : ร่างแนวทางการปฏิบัติที่ดีในการเพาะเลี้ยงสัตว์ ซึ่งครอบคลุมถึงการจัดการและกระบวนการฟักไข่ โดยแนวทางปฏิบัตินี้ครอบคลุมถึงไข่ฟักจากไก่ชน ค้นข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ https://members.wto.org/crnattachments/2018/SPS/PHL/18_2103_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/96
28 มีนาคม 2561
มาตรการปกติ
สินค้ายาสัตว์
สาระสำคัญ : แจ้งเวียนร่างประกาศ 13/2-16/TT BNNPTNT เกี่ยวกับเอกสารแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดการยาสัตว์ทุกชนิด
วันที่มีผลบังคับใช้ : 15 มิ.ย. 61
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/409
13 มีนาคม 2561
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าไข้หวัดนก
สาระสำคัญ : ระงับการนำเข้าชั่วคราวสำหรับสัตว์ปีกพื้นบ้าน สัตว์ปีกป่าและผลิตภัณฑ์รวมเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่และน้ำเชื้อ ที่มาจาก Grootegast, Groningen ประเทศเนเธอร์แลนด์ เนื่องจากเกิดการระบาดของไข้หวัดนก HPAI ในพื้นที่ดังกล่าวตั้งแต่วันที่ 1 มี.ค. 61
วันที่มีผลบังคับใช้ : 1 มี.ค. 61
เนเธอร์แลนด์




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/95
12 มีนาคม 2561
มาตรการปกติ
สินค้าสัตว์ในกลุ่มปศุสัตว์ สัตว์ปีกและสัตว์เลี้ยง
สาระสำคัญ : กำหนดหลักการทั่วไปสำหรับการปฏิบัติที่ดีในการ เพาะพันธุ์และการเลี้ยงสัตว์ในกลุ่มปศุสัตว์ สัตว์ปีก และสัตว์เลี้ยง
วันที่มีผลบังคับใช้ : 1 ก.ค. 61
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/408
13 กุมภาพันธ ์ 2561
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกพื้นบ้าน สัตว์ปีกป่า และผลิตภัณฑ์รวมเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ น้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : กำหนดเงื่อนไขการนำเข้าในสถานการณ์ฉุกเฉินแจ้งระงับการนำเข้าชั่วคราวสำหรับสัตว์ปีกและผลิตภัณฑ์สัตว์ปีกที่มาจากพื้นที่ Karnataka ประเทศอินเดีย เนื่องจากมีรายงานการระบาดของไข้หวัดนก HPAI ในพื้นที่ Dasarahili, Bengaluru Urban, Karnataka ประเทศอินเดีย
วันที่มีผลบังคับใช้ : 23 ม.ค. 61
อินเดีย




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/407
12 กุมภาพันธ ์ 2561
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกพื้นบ้าน สัตว์ปีกป่า และผลิตภัณฑ์รวมเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ น้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : แจ้งระงับการนำเข้าชั่วคราวสำหรับสัตว์ปีกและผลิตภัณฑ์สัตว์ปีกที่มาจากพื้นที่ Biddinghuizen, Flevoland ประเทศเนเธอร์แลนด์ เนื่องจากมีรายงานการระบาดของไข้หวัดนก H5N6 กับเป็ด ในพื้นที่ Biddinghuizen, Flevoland ประเทศเนเธอร์แลนด์
วันที่มีผลบังคับใช้ : 17 ม.ค. 61
เนเธอร์แลนด์




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/383/Add.1
12 กุมภาพันธ ์ 2561
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกพื้นบ้าน สัตว์ปีกป่า และผลิตภัณฑ์รวมเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ น้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : แจ้งยกเลิกการห้ามนำเข้าชั่วคราวสำหรับสินค้า สัตว์ปีกพื้นบ้าน สัตว์ปีกป่า และผลิตภัณฑ์รวมเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ น้ำเชื้อจากรัฐ Oostkamp และ Menen ใน West Flanders ประเทศเบลเยียม ด้วยพื้นที่ดังกล่าวได้รับการประเมินโดยหน่วยงาน BAI และแจ้งต่อ OIE ว่ามีความเสี่ยงต่อไข้หวัดนกต่ำมาก รายละเอียดค้นได้จาก https://members.wto.org/crnattachments/2018/SPS/PHL/18_0835_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 17 ม.ค. 61
เบลเยียม




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/406
12 กุมภาพันธ ์ 2561
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกพื้นบ้าน สัตว์ปีกป่า และผลิตภัณฑ์รวมเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ น้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : แจ้งระงับการนำเข้าชั่วคราวสำหรับสัตว์ปีกและผลิตภัณฑ์สัตว์ปีกที่มาจากซาอุดิอาระเบีย เนื่องจากมีรายงานการระบาดของไข้หวัดนก H5N8 ในพื้นที่ Mazahmyia ประเทศซาอุดิอาระเบีย
วันที่มีผลบังคับใช้ : 17 ม.ค. 61
ซาอุดิอาระเบีย




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/404
07 กุมภาพันธ ์ 2561
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกพื้นบ้าน สัตว์ปีกป่า และผลิตภัณฑ์รวมเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ น้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : แจ้งระงับการนำเข้าชั่วคราวสำหรับสัตว์ปีกและผลิตภัณฑ์สัตว์ปีกที่มาจากพื้นที่ Kostromskaya Oblast ประเทศรัสเซีย เนื่องจากมีรายงานการระบาดของไข้หวัดนก H5N2 ในพื้นที่ ZAO Pticefabrika Kostromskaya, Kostromskoy, Kostromskaya Oblast
วันที่มีผลบังคับใช้ : 17 ม.ค. 61
รัสเซีย




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/405
07 กุมภาพันธ ์ 2561
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกพื้นบ้าน สัตว์ปีกป่า และผลิตภัณฑ์รวมเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ น้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : แจ้งระงับการนำเข้าชั่วคราวสำหรับสัตว์ปีกและผลิตภัณฑ์สัตว์ปีกที่มาจากพื้นที่ Biddinghuizen, Flevoland ประเทศเนเธอร์แลนด์ เนื่องจากมีรายงานการระบาดของไข้หวัดนก H5N6 กับเป็ด ในพื้นที่ Biddinghuizen, Flevoland ประเทศเนเธอร์แลนด์
วันที่มีผลบังคับใช้ : 17 ม.ค. 61
เนเธอร์แลนด์




มาเลเซีย G/SPS/N/MYS/41
01 กุมภาพันธ ์ 2561
มาตรการปกติ
สินค้าจุกขวดนมหรือวัสดุลักษณะเดียวกัน
สาระสำคัญ : ร่างแก้ไขกฎระเบียบ 27A เกี่ยวกับขวดนมและจุกขวดนมหรือวัสดุคล้ายๆ โดยแก้ไขสัดส่วนที่ยอมรับได้สูงสุดระหว่างสาร N-nitrosamines (ต้องไม่เกิน 0.01 mg/kg) และ N-nitrosatable (ต้องไม่เกิน 0.1 mg/kg) ซึ่งเป็นข้อกำหนดขั้นพื้นฐานด้านความปลอดภัยของจุกขวดนม
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/353/Add.1
16 มกราคม 2561
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกป่าและสัตว์ปีกเลี้ยงและผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก ได้แก่ เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ยกเลิกมาตรการระงับการนำเข้าชั่วคราวสัตว์ปีกป่าและสัตว์ปีกเลี้ยงและผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก ได้แก่ เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อที่มีถิ่นกำเนิดจากฝรั่งเศส
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ฝรั่งเศส




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/346
22 ธันวาคม 2559
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกพื้นบ้านและสัตว์ปีกป่า ผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก รวมถึง เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ประกาศมาตรการฉุกเฉินระงับการนำเข้าชั่วคราวสัตว์ปีกพื้นบ้านและสัตว์ปีกป่า ผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก รวมถึง เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ จากประเศญี่ปุ่น สืบเนื่องจากการระบาดของเชื้อไวรัสไข้หวัดนก ตามรายงานของ OIE รายละเอียดศึกษาจาก http://members.wto.org/crnattachments/2016/SPS/PHL/16_5267_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 1 ธ.ค. 59
ญี่ปุ่น




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/347
22 ธันวาคม 2559
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกพื้นบ้านและสัตว์ปีกป่า ผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก รวมถึง เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ประกาศมาตรการฉุกเฉินระงับการนำเข้าชั่วคราวสัตว์ปีกพื้นบ้านและสัตว์ปีกป่า ผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก รวมถึง เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ จากประเทศเยอรมนี สืบเนื่องจากการระบาดของเชื้อไวรัสไข้หวัดนกสายพันธุ์ H5N8 ตามรายงานของ OIE รายละเอียดศึกษาจาก https://members.wto.org/crnattachments/2016/SPS/PHL/16_5268_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 22 พ.ย. 59
เยอรมนี




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/345
16 ธันวาคม 2559
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกพื้นบ้านและสัตว์ปีกป่า ผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก รวมถึง เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ประกาศมาตรการฉุกเฉินระงับการนำเข้าชั่วคราวสัตว์ปีกพื้นบ้านและสัตว์ปีกป่า ผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก รวมถึง เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ จากเมือง Flevoland ประเทศเนเธอร์แลนด์ สืบเนื่องจากการระบาดของเชื้อไวรัสไข้หวัดนกสายพันธุ์ H5N8 ตามรายงานของ OIE รายละเอียดศึกษาจาก http://members.wto.org/crnattachments/2016/SPS/PHL/16_5174_00_edf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 1 ธ.ค. 59
เมือง Flevoland ประเทศเนเธอร์แลนด์




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/344
12 ธันวาคม 2559
มาตรการปกติ
สินค้าเห็ด
สาระสำคัญ : กำหนดหลักการสำหรับการเพาะปลูกเห็ดที่ดี เพื่อทำให้ผลผลิตมีคุณภาพและปลอดภัยต่อผู้บริโภค http://members.wto.org/crnattachments/2016/SPS/PHL/16_5067_00_e.pdf - ความปลอดภัยอาหาร
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/86
06 ธันวาคม 2559
มาตรการปกติ
สินค้าอาหารเสริมและวัตถุเจือปนในอาหารสัตว์
สาระสำคัญ : เพิ่มชื่อสาร Cysteamine ลงในรายชื่อวัตถุเจือปนในอาหารสัตว์ที่ห้ามใช้และห้ามตรวจพบ
วันที่มีผลบังคับใช้ : 45 วันนับจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/85
07 พฤศจิกายน 2559
มาตรการปกติ
สินค้าวัตถุเจือปนอาหาร
สาระสำคัญ : mycotoxins โลหะหนัก (arsenic, cadmium, lead, mercury, Fluorine) จุลินทรีย์ (E. coli :Escherichia coli) และ Salmonella) กระทรวงเกษตรเวียดนามจัดทำร่างระเบียบกำหนดปริมาณค่าสารตกค้างใน mycotoxins โลหะหนัก (arsenic, cadmium, lead, mercury, Fluorine)จุลินทรีย์ (E. coli :Escherichia coli) และ Salmonella) ในอาหารเสริมสำหรับสัตว์และวัตถุเจือปนอาหารสัตว์ โดยระเบียบดังกล่าวใช้บังคับกับหน่วยงานตรวจสอบสินค้าอาหารสัตว์ทั้งในประเทศและสินค้านำเข้า
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/84
07 พฤศจิกายน 2559
มาตรการปกติ
สินค้ายาสัตว์
สาระสำคัญ : กระทรวงเกษตรเวียดนามจัดทำร่างระเบียบกำหนดเงื่อนไขทางเทคนิคเกี่ยวกับคุณภาพของยาสัตว์ โดยระเบียบดังกล่าวใช้บังคับกับหน่วยงานตรวจสอบสินค้าอาหารสัตว์ทั้งในประเทศและสินค้านำเข้า
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/83
03 ตุลาคม 2559
มาตรการปกติ
สินค้าอาหารสัตว์
สาระสำคัญ : กระทรวงเกษตรเวียดนามจัดทำร่างระเบียบกำหนดค่าสูงสุดของเชื้อรา mycotoxins (aflatoxin b1, aflatoxin total), โลหะหนัก (arsenic, cadmium, lead, mercury), จุลินทรีย์ (Mold, E. coli (Escherichia coli) และ Salmonella) ที่อยู่ในอาหารสัตว์โดยระเบียบดังกล่าวใช้บังคับกับการตรวจสอบสินค้าอาหารสัตว์ทั้งในประเทศและสินค้านำเข้า
วันที่มีผลบังคับใช้ : ก.ค. 60
ประเทศคู่ค้า




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/110
30 มิถุนายน 2559
มาตรการปกติ
สินค้าอาหาร
สาระสำคัญ : กฎระเบียบด้านอาหารและยา (NADFC) No. 10 ปี 2016 เกี่ยวกับการใช้เอ็นไซม์และกลุ่ม Enzyme Immobilization Agents เป็นตัวช่วยในการผลิตอาหาร โดยอาศัยกฎหมายฉบับที่ 18/2012 เกี่ยวกับ อาหาร และอาหารใดๆที่เหมาะแก่การกินที่ได้จากแหล่งออร์แกนนิคในการปลูก ทำฟาร์ม ป่าไม้ ประมง สัตวบาล น้ำดื่มและน้ำที่ใช้ผลิตเพื่อเป็นอาหารหรือเครื่องดื่มเพื่อมนุษย์บริโภค รวมทั้งวัตถุเจือปนอาหาร และส่วนประกอบอื่นๆที่ใช้ในการเตรียม การผลิตการแปรรูปทั้งอาหารและเครื่องดื่ม รวมถึงส่วนประกอบอื่นที่ใช้เป็นตัวช่วยในการผลิต ข้อกำหนดการใช้เอ็นไซม์เป็นตัวช่วยในการผลิตและ Enzyme Immobilization Agents เกี่ยวกับการผลิตอาหารยังไม่กำหนด/ควบคุม กฎระเบียบนี้ตั้งใจใช้เป็นตัวอ้างอิงสำหรับการขึ้นทะเบียน ออกใบรับรองและ ผู้ควบคุมและการควบคุมและเฝ้าตรวจเพื่อป้องกันการใช้ในทางที่ผิด กฎระเบียบนี้ได้พัฒนาจากประเทศอื่นเกี่ยวกับตัวช่วยในการผลิต และกฎนี้มี positive list เป็นกลุ่มเอ็นไซม์กับค่าตกค้างสูงสุด ที่เป็น GMP และสามารถใช้กับการแปรรูปอาหารทุกชนิด ส่วนกลุ่ม Enzyme Immobilization Agentจะมีค่าตกค้างสูงสุดด้วย การใช้ GMs ที่เป็นตัวช่วยในการผลิตจะต้องเป็นไปตามกฎระเบียบนี้
วันที่มีผลบังคับใช้ : 2 มิ.ย. 59
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/81
29 มิถุนายน 2559
มาตรการปกติ
สินค้าน้ำเชื้อโคกระบือ
สาระสำคัญ : ร่างกฎระเบียบทางเทคนิคแห่งชาติเกี่ยวกับการจัดการและควบคุมคุณภาพของน้ำเชื้อโคกระบือ รวมทั้งข้อกำหนดคำนิยามทั่วไป ข้อกำหนดทางเทคนิคเกี่ยวกับคุณภาพ การติดฉลาก การเก็บรักษา การขนส่ง วิธีการทดสอบ กฎระเบียบการขึ้นทะเบียนและการทดสอบการผลิตแต่ละภาคส่วน กฎระเบียบนี้ใช้กับทุกภาคส่วนและองค์กรที่ดำเนินการในเวียดนามซึ่งเกี่ยวกับน้ำเชื้อโคกระบือ
วันที่มีผลบังคับใช้ : มกราคม 60
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/328
23 มิถุนายน 2559
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้ามาตรการฉุกเฉิน สัตว์ปีกป่า สัตว์ปีกพื้นบ้านรวมเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ น้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ห้ามนำเข้า (ชั่วคราว) สัตว์ปีกป่า สัตว์ปีกพื้นบ้านรวมเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ น้ำเชื้อจากเมือง Ferrara, Emilia-Romagna ประเทศอิตาลี เนื่องจากมีรายงานจาก OIE วันที่ 2 พฤษภาคม 2559 ว่าพบการระบาดของไข้หวัดนก สายพันธุ์ H7N7
วันที่มีผลบังคับใช้ : 31 พ.ค. 59
อิตาลี




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/327
02 มิถุนายน 2559
มาตรการปกติ
สินค้ามาตรฐานเห็ด
สาระสำคัญ : มาตรฐานแห่งชาติเกี่ยวกับส่วนประกอบธรรมชาติ : มาตรฐานเห็ด ได้แก่ องค์ประกอบที่จำเป็น และ องค์ประกอบคุณภาพ สุขอนามัย น้ำหนัก ขนาด การบรรจุ การเก็บ การขนส่ง การติดฉลาก วิธีการวิเคราะห์และสุ่มตัวอย่าง
วันที่มีผลบังคับใช้ : 12 ส.ค. 59
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/326
25 พฤษภาคม 2559
มาตรการปกติ
สินค้ามะเขือเทศ
สาระสำคัญ : กระทรวงเกษตรฟิลิปปินส์จัดร่างมาตรฐานชาติฟิลิปปินส์เกี่ยวกับหลักสุขลักษณะที่ดีสำหรับมะเขือเทศ โดยครอบคลุม เอกสารคู่มือวิธีการลดอันตรายทางจุลชีววิทยาในการผลิตขั้นต้น การบรรจุภัณฑ์เพื่อจัดจำหน่าย และเพื่อการบริโภคมะเขือเทศสด http://members.wto.org/crnattachments/2016/SPS/PHL/16_2051_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 12 ส.ค. 59
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/79
19 พฤษภาคม 2559
มาตรการปกติ
สินค้าสัตว์บกและผลิตภัณฑ์จากสัตว์บก
สาระสำคัญ : ร่างกฎระเบียบการกักกันสัตว์บกและผลิตภัณฑ์จากสัตว์บก ในมาตรา 37 ของกฎหมายด้านสัตว์แพทย์ (Code 79/2015/QH13) เกี่ยวกับด้านการกักกัน ระบุให้จัดทำคู่มือมีเนื้อหาเกี่ยวกับการผลิตสินค้า การขนส่ง การส่งออก การนำเข้า การนำเข้าชั่วคราวเพื่อการส่งออก การเคลื่อนย้ายสินค้าไปพรมแดน คลังสินค้าทัณฑ์บน และการเคลื่อนย้ายผ่านสินค้าไปยังประเทศเวียดนาม
วันที่มีผลบังคับใช้ : 15 ก.ค. 59
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/80
19 พฤษภาคม 2559
มาตรการปกติ
สินค้าสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์ประมง
สาระสำคัญ : ร่างกฎระเบียบว่าด้วยการกักกันสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์ประมง ในมาตรา 53 ของกฎหมายด้านสัตวแพทย์ (Code 79/2015/QH13) เกี่ยวกับด้านการกักกัน ระบุให้จัดทำคู่มือซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับ การผลิตสินค้า การขนส่ง การส่งออก การนำเข้า การนำเข้าชั่วคราวเพื่อการส่งออก การเคลื่อนย้ายสินค้าไปพรมแดน คลังสินค้าทัณฑ์บน และการส่งผ่านสินค้าภายในประเทศเวียดนาม โดยกฎระเบียบนี้บังคับใช้กับองค์การระหว่างประเทศและภายในประเทศทั้งหมดและบุคคลผู้ดำเนินกิจกรรมในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์ประมง
วันที่มีผลบังคับใช้ : 15 ก.ค. 59
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/78
11 พฤษภาคม 2559
มาตรการปกติ
สินค้าผลิตภัณฑ์อาหารสัตว์และอาหารสัตว์น้ำ
สาระสำคัญ : ร่างกฤษษฎีกาเกี่ยวกับการจัดการอาหารสัตว์และอาหารสัตว์น้ำ กำหนดกฎระเบียบเกี่ยวกับเงื่อนไขการค้า การทดสอบ การการขึ้นทะเบียน และการตรวจสอบ และการโฆษณาการแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหารสัตว์และอาหารสัตว์น้ำ จะใช้กับองค์กรและส่วนบุคคลในประเทศ ชาวเวียดนาม องค์กรต่างชาติที่ดำเนินการ/กิจกรรมเกี่ยวกับเรื่องดังกล่าว
วันที่มีผลบังคับใช้ : 45 วันหลังประกาศราชกิจจาฯ
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/318/Add.1
11 พฤษภาคม 2559
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกพื้นเมืองและสัตว์ปีกป่า และผลิตภัณฑ์สัตว์เหล่านั้น รวมเนื้อสัตว์ ลูกไก่ และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ประกาศยกเลิกการห้ามนำเข้าสัตว์ปีกพื้นเมืองและสัตว์ปีกป่า และผลิตภัณฑ์สัตว์เหล่านั้น รวมเนื้อสัตว์ ลูกไก่ และน้ำเชื้อที่มาจาก Dubois County, Indiana สหรัฐอเมริกา เนื่องจากมีการประเมินความเสี่ยงการปนเปื้อนจากการนำเข้าสัตว์ปีกแล้วพบอยู่ในระดับต่ำมาก มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 25 เม.ย. 59 http://members.wto.org/crnattachments/2016/SPS/PHL/16_1883_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 25 เม.ย. 59
สหรัฐอเมริกา




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/109
03 พฤษภาคม 2559
มาตรการปกติ
สินค้าอาหารสดที่ได้จากพืช (ผลไม้สด ผักสด นัท เมล็ดพืชเล็ก ถั่ว เป็นต้น)
สาระสำคัญ : กฎกระทรวงเกษตรฯ ฉบับที่ 13/Permentan/Kr.040/4/2016 เกี่ยวข้องกับการแก้ไขกฎกระทรวงเกษตรฯที่ 04/Permentan/Pp.340/2/2015เกี่ยวกับการควบคุมการนำเข้าและส่งออกอาหารสดที่ได้จากพืช (FFPO) (ประกาศราชกิจจาฯ ฉบับที่ 275 ) มีการแก้ไขข้อกำหนดบางข้อของกฎกระทรวงเกษตรฯ ฉบับที่ 04/2015 ดังนี้คำอธิบายของคำว่า FFPO (ประกาศฉบับก่อน) - มาตราที่ 7 ย่อหน้าที่ 1 เป็นการอ้างในมาตรา 6 ต้องดำเนินการโดยผู้ส่งออกในประเทศแหล่งกำเนิดที่ล่าสุดก่อนขึ้นเรือจากประเทศแหล่งกำเนิด - ให้เพิ่มมาตราใหม่ระหว่างมาตราที่ 61 และ มาตรา 62 เป็นมาตรา 61A และ 61B 61C และ 61D ดังนี้
มาตรา 61A
1. การปฏิบัติ (ให้สำเร็จ) ตามขั้นตอนการแจ้งล่วงหน้า และขั้นตอนการออกใบรับรองผลการทดสอบ (COA) อ้างอิงมาตรา 7 ถึง มาตรา 10 เป็นการให้ระยะเวลาสูงสุด 2 ปี จากประกาศราชกิจจาฯ ของกฎกระทรวงนี้
2. การปฏิบัติ (ให้สำเร็จ) ตามที่อ้างอิงในย่อหน้าที่ 1 ในฟอร์มของ : a ฟอร์มการแจ้งล่วงหน้า b การใช้หน่วยงานด้านกักกันสินค้าเกษตรของอินโดนีเซีย และ c ฟอร์มใบรับรองผลการทดสอบ
3. ถ้าระยะเวลาที่อ้างอิงในย่อหน้าที่ 1 หมดอายุ ขั้นตอนการแจ้งล่วงหน้าและการรับรองผลการทดสอบจะต้องทำตามมาตรา 7 ถึง 10
มาตรา 61B
1. ถ้าประเทศแหล่งกำเนิดที่ยังไม่ได้รับการยอมรับตามระบบการควบคุมความปลอดภัยอาหาร และยังไม่ได้ขึ้นทะเบียนห้องปฏิบัติการเพื่อความปลอดภัยอาหาร/ การนำเข้าผักผลไม้สดจะต้องทำ a แจ้งล่วงหน้า และ b ต้องมีใบรับรองผลการทดสอบ (COA)
2. การดำเนินการแจ้งล่วงหน้าตามที่อ้างในย่อหน้าที่ 1 จุดสำคัญ a จะต้องทำตามข้อกำหนดที่อ้างมาตรา 7 ถึง มาตรา 9
3. การรับรองผลการทสอบที่อ้างอิงในย่อหน้าที่ 1 จุดสำคัญ b จะต้องออกโดยห้องปฏิบัติการในประเทศอื่นๆ ที่ขึ้นทะเบียน
4. ตัวทดสอบพารามิเตอร์ ที่อ้างอิงในย่อหน้าที่ 3 อ้างภาคผนวก 1
มาตรา 61C
1. การนำเข้าผักผลไม้สดทีอ้างอิงในมาตรา 61B จะต้องถูกต้องตามกฎหมายเป็นเวลา 2 ปี นับจากประกาศราชกิจจาฯ
2. ถ้าระยะเวลาที่อ้างอิงตามย่อหน้าที่ 1 หมดอายุ ข้อกำหนดการทำข้าวของผักผลไม้สดที่อ้างอิงในมาตรา 4 ถึง 10 จะต้องใช้ mutatis mutandis ในการนำเข้าผักผลไม้สดที่อ้างอิงมาตรา 61B
มาตรา 61D
1. ถ้าผักผลไม้สดที่มาจากประเทศที่ยังไม่ได้ขึ้นทะเบียนสำหรับระบบควบคุมความปลอดภัยและย
วันที่มีผลบังคับใช้ : 13 เม.ย. 59
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/325
29 เมษายน 2559
มาตรการปกติ
สินค้าไก่เนื้อและไก่ไข่
สาระสำคัญ : ร่างมาตรฐานฟิลิปปินส์ : หลักปฏิบัติที่ดีทางสุขาภิบาลสำหรับไก่กระทงและไก่ไข่ (Broilers and Layers) ได้กำหนดเกณฑ์ขั้นต่ำในการผลิต การจัดการ การขนส่งและการเก็บรักษาไก่และผลิตภัณฑ์ภายในฟาร์ม ในการค้าเชิงพาณิชย์หรือการเลี้ยงบริเวณบ้าน/ฟาร์มของไก่กระทง (เนื้อ) หรือไก่ไข่เพื่อใช้เป็นอาหาร โดยทางอุตสาหกรรมจะมีข้อกำหนดแตกต่างออกไปทั้งชนิดไก่และประเภทการผลิตซึ่งระบบการผลิตอาจกำหนดเกณฑ์ขั้นต่ำในมาตรฐานเล่มนี้ รายละเอียดค้นได้จาก http://members.wto.org/crnattachments/2016/SPS/PHL/16_1747_00_e.pdf
วันที่มีผลบังคับใช้ : 4 ก.ค. 59
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/77
18 เมษายน 2559
มาตรการปกติ
สินค้าอาหาร วัตถุเจือปนอาหาร น้ำขวด น้ำแร่ขวด อาหารสุขภาพ และอาหารอื่นๆ
สาระสำคัญ : ร่างกฤษฎีกากำหนดเงื่อนการผลิต การขาย การโฆษณา การทดสอบอาหาร และกำหนดองค์กรที่ต้องรับรองการปฏิบัติเพื่อการตรวจสอบเกี่ยวกับความปลอดภัยอาหารสำหรับนำเข้า ซึ่งเป็นหน้าที่รับผิดชอบของกระทรวงสาธารณสุข
วันที่มีผลบังคับใช้ : 1 ก.ค. 59
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/76
01 เมษายน 2559
มาตรการปกติ
สินค้ายาสัตว์
สาระสำคัญ : หน่วยงานสุขภาพสัตว์เวียดนามประกาศกฎระเบียบรายชื่อยาที่ใช้ในสัตว์ที่ได้รับอนุญาตและไม่ได้รับอนุญาตให้ใช้ในประเทศเวียดนาม
วันที่มีผลบังคับใช้ : 1 ก.ค. 59
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/75
01 เมษายน 2559
มาตรการปกติ
สินค้ายาสัตว์
สาระสำคัญ : ประกาศกฎระเบียบว่าด้วยรายละเอียดของข้อกำหนดเรื่องฉลาก การทดสอบ การผลิต โรงงาน การจำหน่าย นำเข้า และการควบคุมคุณภาพของยาสัตว์ ประกอบไปด้วย 7 บท 48 มาตรา 30 ภาคผนวก
วันที่มีผลบังคับใช้ : 1 ก.ค. 59
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/324
25 กุมภาพันธ ์ 2559
มาตรการปกติ
สินค้าผึ้ง
สาระสำคัญ : ร่างระเบียบการปฏิบัติการเลี้ยงผึ้งที่ดีโดยกำหนดหลักเกณฑ์ทั่วไปและข้อกำหนดขั้นต่ำ
เอกสารฉบับเต็ม: 


วันที่มีผลบังคับใช้ : 24 พ.ค. 59
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/323
25 กุมภาพันธ ์ 2559
มาตรการปกติ
สินค้าน้ำผึ้ง
สาระสำคัญ : กำหนดร่างมาตรฐานสำหรับน้ำผึ้งสำหรับการบริโภค
เอกสารฉบับเต็ม: 


วันที่มีผลบังคับใช้ : 24 พ.ค. 59
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/322
23 กุมภาพันธ ์ 2559
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าระงับการนำเข้าสัตว์ปีก
สาระสำคัญ : ประกาศระงับการนำเข้าเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่แรกเกิด ไข่และน้ำเชื้อจากรัฐตริปุระ ประเทศอินเดิยเนื่องจากการระบาดของเชื้อไข้หวัดนก H1N1
เอกสารฉบับเต็ม: 


วันที่มีผลบังคับใช้ : 26 ม.ค. 59
อินเดีย




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/99/Add.1
09 กุมภาพันธ ์ 2559
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกมีชีวิตและผลิตภัณฑ์สัตว์ปีก
สาระสำคัญ : ประกาศยกเลิกการห้ามนำเข้าสัตว์ปีกมีชีวิตและผลิตภัณฑ์สัตว์ปีกจากสหรัฐอเมริกาที่จะนำเข้ามายังอินโดนีเซีย ตามที่สหรัฐอเมริกามีการระบาดของเชื้อไข้หวัดนกสายพันธุ์ H5N8 และ H5N2 ซึ่งห้ามนำเข้าตั้งแต่ 16 ธันวาคม 2558 จนได้ตั้งคณะทำงานและมีการรายงาน OIE ว่าไม่มีการระบาดของสายพันธุ์ H5N8 แล้วเมื่อวันที่ 17 สิงหาคม 2558 และ H5N2 เมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2558
วันที่มีผลบังคับใช้ : 17 ส.ค. 58
สหรัฐอเมริกา




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/108
09 กุมภาพันธ ์ 2559
มาตรการปกติ
สินค้าอาหารแปรรูป อาหารที่ผ่านการฆ่าเชื้อ
สาระสำคัญ : ข้อกำหนดสำหรับอหารผ่านการฆ่าเชื้อซึ่งยังไม่ควบคุมในอินโดนีเซีย เนื่องจากกฎระเบียบบางข้อนำมาจากประเทศอื่นที่เกี่ยวกับข้อกำหนดการปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์และหลักปฏิบัติที่ถูกสุขลักษณะสำหรับอาหารกระป๋องที่มีกรดต่ำ อย. อินโดนีเซียได้เริ่มแก้ไขข้อกำนดการปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์ไว้ในภาคผนวก 1 ของ อย. ฉบับที่ HK. 00.06.1.52.4011 เกี่ยวกับปริมาณสูงสุดของการปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์และสารเคมีในอาหาร กฎระเบียบนี้ได้กำหนดระเบียบการฆ่าเชื้ออาหารแปรรูปทางพาณิชด้วยความร้อน หลักใหญ่คือ ระดับความร้อนในการฆ่าเชื้อ (F0) ที่ 3 นาทีขั้นต่ำ นับจำนวนสปอร์ของคลอสติเดียม Clostridium botulinum
วันที่มีผลบังคับใช้ : หนึ่งปีหลังประกาศใช้
ประเทศคู่ค้า




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IND/129
08 กุมภาพันธ ์ 2559
มาตรการปกติ
สินค้าอาหาร
สาระสำคัญ : ร่างมาตรฐานและความปลอดภัยอาหาร แก้ไขกฎระเบียบปี 2016 เกี่ยวกับมาตรฐานอาหาร proprietary food
วันที่มีผลบังคับใช้ : นับจากวันประกาศราชกิจจาฯ
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/319
03 กุมภาพันธ ์ 2559
มาตรการปกติ
สินค้าธัญพืช
สาระสำคัญ : กระทรวงเกษตรฟิลิปปินส์ออกร่างประมวลกฎหมายมาตรฐานหลักการปฏิบัติที่ดีในโกดังเพื่อใช้เป็นแนวทางในการจัดการ การจัดเก็บ การขนส่งธัญพืช (grains) เพื่อป้องกันและลดปัจจัยทางกานภาพหรือทางเคมีที่อาจส่งผลต่อคุณภาพและความปลอดภัยระหว่างการเก็บสินค้าในโกดังสินค้า
เอกสารฉบับเต็ม: 


วันที่มีผลบังคับใช้ : 6 เม.ย. 59
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/320
03 กุมภาพันธ ์ 2559
มาตรการปกติ
สินค้าการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำโดยวิธีปลอดสารพิษ
สาระสำคัญ : กระทรวงเกษตรฟิลิปปินส์จัดทำแนวทางสำหรับการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำโดยวิธีปลอดสารพิษในสภาพแวดล้อมต่างๆ คำนึงถึงการป้องกันไม่ให้เกิดการปนเปื้อนจากอันตรายและสารพิษจากสารเคมีเพื่อให้เกิดความปลอดภัยในการบริโภคและเพิ่มช่องทางทางเลือกแก่ผู้บริโภค
เอกสารฉบับเต็ม: 


วันที่มีผลบังคับใช้ : 29 เม.ย. 59
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/321
03 กุมภาพันธ ์ 2559
มาตรการปกติ
สินค้าอาหารสัตว์น้ำโดยวิธีปลอดสารพิษ
สาระสำคัญ : จัดทำมาตรฐานอาหารสัตว์น้ำโดยวิธีปลอดสารพิษ ว่าด้วยเรื่องการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำในเชิงพาณิชย์ รวมถึงกุ้ง หอย ปลา ส่วนผสมของอาหารอินทรีย์ และวัตถุเจือปนอาหารสัตว์
เอกสารฉบับเต็ม: 


วันที่มีผลบังคับใช้ : 29 เม.ย. 59
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/96/Add.1
03 กุมภาพันธ ์ 2559
มาตรการปกติ
สินค้ายกเลิกมาตรการฉุกเฉิน
สาระสำคัญ : ประกาศยกเลิกการระงับการนำเข้าสัตว์ปีกและผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อซึ่งมีถิ่นกำเนิดจากอินเดีย เนื่องจากตามรายงานแจ้งว่าไม่พบเชื้อไวรัส HPAI แล้ว มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 21 ก.พ. 59
วันที่มีผลบังคับใช้ : 21 ก.พ. 59
อินเดีย




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/318
02 กุมภาพันธ ์ 2559
มาตรการปกติ
สินค้ามาตรการฉุกเฉินระงับการนำเข้า turkey flock
สาระสำคัญ : ประกาศมาตรการฉุกเฉินชะลอการนำเข้า Turkey Flock จากแคว้น Dubois มลรัฐอินเดียนน่า สหรัฐอเมริกา เนื่องจากตามรายงาน OIE พบการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส H7N8 Highly Pathogenic Avian Influenza (HPAI) ที่แคว้น Dubois มลรัฐอินเดียนนา สหรัฐอเมริกา
เอกสารฉบับเต็ม: 


วันที่มีผลบังคับใช้ : 19 ม.ค. 59
สหรัฐอเมริกา




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/317
28 มกราคม 2559
มาตรการปกติ
สินค้าน้ำมะพร้าวอ่อนแช่เย็น
สาระสำคัญ : ร่างฉบับสุดท้ายของมาตรฐานชาติ ได้กำหนดหลักปฏิบัติสุขอนามัยสำหรับน้ำมะพร้าวอ่อนแช่เย็น เป็นหลักผลิตเบื้องต้น การดำเนินการหลังเก็บเกี่ยว การขนส่ง การผลิตขั้นต่ำของน้ำมะพร้าวมีกับไม่มีเนื้อ และอนุญาตให้ใช้สารให้ความหวาน
เอกสารฉบับเต็ม: 


วันที่มีผลบังคับใช้ : 15 เม.ย. 59
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/285/Add.11
28 มกราคม 2559
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกป่า สัตว์ปีกพื้นบ้านแลผลิตภัณฑ์ รวมเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ น้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ประกาศยกเลิกการห้ามนำเข้าสัตว์ปีกป่า สัตว์ปีกพื้นบ้านแลผลิตภัณฑ์ รวมเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ น้ำเชื้อที่มาจาก Dixon County, Nebraska, Iowa, Minnesota and South Dakota ประเทศสหรัฐอเมริกา จากประกาศห้ามนำเข้า เมื่อวันที่ 23 เมษายน 2558 มีผลตั้งแต่ 4 มกราคม 2559
เอกสารฉบับเต็ม: 


วันที่มีผลบังคับใช้ : 4 ม.ค. 59
สหรัฐอเมริกา




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/316
28 มกราคม 2559
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ น้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ประกาศห้ามนำเข้าชั่วคราวสำหรับเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ น้ำเชื้อที่มาจาก Gers and Hautes-Pyr?n?es Departments and Aquitaine Region ประเทศฝรั่งเศส ตั้งแต่วันที่ 4 มกราคม 2559 เนื่องจากมีรายงานการระบาดของเชื้อไข้หวัดนก H5N1, H5N2
เอกสารฉบับเต็ม: 


วันที่มีผลบังคับใช้ : 4 ม.ค. 59
ฝรั่งเศส




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/301/Add.1
27 มกราคม 2559
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกป่า สัตว์ปีกพื้นบ้านแลผลิตภัณฑ์ รวมเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ น้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ประกาศยกเลิกการห้ามนำเข้าสัตว์ปีกป่า สัตว์ปีกพื้นบ้านแลผลิตภัณฑ์ รวมเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ น้ำเชื้อที่มาจาก Dixon County, Nebraska, Iowa, Minnesota and South Dakota ประเทศสหรัฐอเมริกา จากประกาศห้ามนำเข้า เมื่อวันที่ 3 มิถุนายน 2558 มีผลตั้งแต่ 4 มกราคม 2559
เอกสารฉบับเต็ม: 


วันที่มีผลบังคับใช้ : 4 ม.ค. 59
สหรัฐอเมริกา




สิงคโปร์ G/SPS/N/SGP/30/Add.1
18 มกราคม 2559
มาตรการปกติ
สินค้าสัตว์เลี้ยงในกลุ่มสัตว์ปีก
สาระสำคัญ : ชี้แจงรายละเอียดของการควบคุมการนำเข้าสัตว์เลี้ยงในกลุ่มสัตว์ปีก ยกเว้นนกพื้นบ้าน โดยจะต้องมีการกักกันสัตว์ก่อนการส่งออกเพื่อทดสอบโรคไข้หวัดนกเป็นเวลา 21 วัน ซึ่งสามารถใช้วิธีทดสอบ ได้แก่ การตรวจหาเชื้อไวรัสไข้หวัดนกโดยการแยกเชื้อในเซลล์เพาะเลี้ยง การตรวจสอบ mRNA ของเชื้อไวรัสด้วยวิธี RT-PCR ซึ่งผลการทดสอบทั้งสองวิธีจะต้องให้ผลเป็นลบ (ขนาดตัวอย่างไม่ควรน้อยกว่า 30 ตัว)
เอกสารฉบับเต็ม: 



วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/74
13 มกราคม 2559
มาตรการปกติ
สินค้าสัตว์และผลิตภัณฑ์จากสัตว์ ทั้งสัตว์บกและสัตว์น้ำ
สาระสำคัญ : กำหนดแนวทางในการปฏิบัติตาม Veterinary Law
วันที่มีผลบังคับใช้ : 1 ก.ค. 59
ประเทศคู่ค้า




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/106
04 มกราคม 2559
มาตรการปกติ
สินค้าซากสัตว์ เนื้อสัตว์ และเครื่องในสัตว์
สาระสำคัญ : กระทรวงเกษตรร่างกฎระเบียบ No. 41/2014 เกี่ยวกับการกักกันสัตว์สำหรับการนำเข้าซากสัตว์ เนื้อสัตว์ และเครื่องในสัตว์ ซึ่งปรับปรุงแก้ไขจากฉบับเดิม (No. 15/2009) เนื้อหากล่าวถึงหลักเกณฑ์การกักกัน รายละเอียดที่ระบุในใบรับรองสุขอนามัยสัตว์ รายละเอียกของผู้ส่งออกและผู้นำเข้า การสำแดง และหลักเกณฑ์ทางเทคนิคที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพสัตว์ เป็นต้น
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/107
04 มกราคม 2559
มาตรการปกติ
สินค้าการขนส่งสัตว์กักกัน
สาระสำคัญ : กระทรวงเกษตรร่างกฎระเบียบเกี่ยวกับการกักกันสัตว์ กล่าวถึงการขนส่งสัตว์ที่กักกัน มาตรการกักกัน หน้าที่และความรับผิดชอบของผู้ส่งออก
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/105
18 ธันวาคม 2558
มาตรการปกติ
สินค้าโครงสัตว์ เนื้อสัตว์ และผลิตภัณฑ์ที่ผ่านการแปร รูป
สาระสำคัญ : ปรับแก้กฎกระทรวงเลขที่ 139 และ 02 เกี่ยวกับการนำเข้าโครงสัตว์ เนื้อสัตว์ และผลิตภัณฑ์ที่ผ่านการแปรรูปในประเทศอินโดนีเซีย
วันที่มีผลบังคับใช้ : 14 ธ.ค. 58
ประเทศคู่ค้า




สิงคโปร์ G/SPS/N/SGP/57
16 ธันวาคม 2558
มาตรการปกติ
สินค้าม้ามีชีวิต
สาระสำคัญ : ปรับปรุงเงื่อนไขของการนำเข้าม้าจากการแข่งขันระหว่างประเทศ โดยในกรณีที่ม้าที่ส่งกลับมาภายหลังถูกส่งไปแข่งขันนอกสิงคโปร์เกิน 14 วัน ประเทศผู้ส่งออกที่จะส่งม้ากลับมายังสิงคโปร์จะต้องทดสอบ EIA, EVA และ Equine Piroplasmosis และภายหลังการทดสอบจะต้องส่งออกม้าภายในระยะเวลา 1 เดือน โดยจะต้องดำเนินการให้สอดคล้องกับเงื่อนไขการนำเข้าม้ามายังสิงคโปร์ กรณีที่ม้าส่งกลับมาภายหลังถูกส่งออกจากสิงคโปร์น้อยกว่า 14 วัน จะต้องได้รับการทดสอบภายหลังถึงด่านนำเข้าภายใน 7 วันและจะปล่อยออกเมื่อทดสอบแล้วให้ผลเป็นลบ นอกจากนี้ยังมีการปรับแก้ข้อความภายใต้เงื่อนไขการนำเข้าม้าแข่งขัน http://www.ava.gov.sg/legislation (Animals and Birds Act)
วันที่มีผลบังคับใช้ : 12 ก.พ. 59
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/73
27 พฤศจิกายน 2558
มาตรการปกติ
สินค้าอาหารสัตว์สำหรับ ไก่หรือนกกะทา อายุ 1-28 วัน แม่พันธุ์ไก่ สุกรน้ำหนักน้อยกว่า 60 กิโลกรัม โคอายุน้อยกว่า 6 เดือน
สาระสำคัญ : 1) รายชื่อและปริมาณยาปฏิชีวนะ 18 สาร และยาสัตว์ที่อนุญาตให้ใช้ในอาหารสัตว์ในการเร่งการเจริญเติบโต หรือเพื่อป้องกัน coccidiosis disease ในปศุสัตว์ 2) ชนิดปศุสัตว์ : ไก่ นกกะทา อายุ 1-28 วัน แม่พันธุ์ไก่ สุกรน้ำหนักน้อยกว่า 60 กิโลกรัม โคอายุน้อยกว่า 6 เดือน
วันที่มีผลบังคับใช้ : 15 วันหลังประกาศราชกิจจาฯ
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/313
24 พฤศจิกายน 2558
มาตรการปกติ
สินค้าGAP มะละกอ
สาระสำคัญ : ร่างมาตรฐานฟิลิปปินส์ : หลักการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับมะละกอ สำหรับการผลิตและการแปรรูปขั้นต้นเพื่อการบริโภค ไม่ว่าจะเป็นชิ้น ทั้งผล โดยหลักปฏิบัตินี้เน้นจุลินทรีย์และสารเคมีอันตรายและลักษณะทางกายภาพเท่านั้น
เอกสารฉบับเต็ม: 


วันที่มีผลบังคับใช้ : 8 ก.พ. 59
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/315
24 พฤศจิกายน 2558
มาตรการปกติ
สินค้าGAP กาแฟ
สาระสำคัญ : ร่างมาตรฐานฟิลิปปินส์ : หลักการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับกาแฟ เพื่อความปลอดภัยต่อการบริโภค สำหรับการผลิตและการแปรรูปขั้นต้น โดยหลักปฏิบัตินี้เน้นจุลินทรีย์และสารเคมีอันตรายและลักษณะทางกายภาพเท่านั้น จะไม่รวมการแปรรูป green coffee bean ที่จะมาบด ป่น หรือในรูปพร้อมดื่ม
เอกสารฉบับเต็ม: 


วันที่มีผลบังคับใช้ : 8 ก.พ. 59
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/312
23 พฤศจิกายน 2558
มาตรการปกติ
สินค้าปูทะเลที่ผ่านการฆ่าเชื้อด้วยพาสเจอร์ไรซ์
สาระสำคัญ : ร่างมาตรฐานฟิลิปปินส์ : ปูทะเลที่ผ่านการฆ่าเชื้อด้วยพาสเจอร์ไรซ์และแช่แข็งที่นำมาบริโภค/แปรรูป ที่ได้จากปู swimming crab (Portunus pelagicus)
เอกสารฉบับเต็ม: 


วันที่มีผลบังคับใช้ : 5 ก.พ. 59
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/314
23 พฤศจิกายน 2558
มาตรการปกติ
สินค้ากาแฟ
สาระสำคัญ : ร่างมาตรฐานฟิลิปปินส์ : หลักปฏิบัติเพื่อป้องกันหรือลดปริมาณเชื้อรา Ochratoxin (OTA) ที่ปนเปื้อนในกาแฟ โดยได้จัดทำตามโคเด็กซ์ (CAC/RCP 1-1969, Rev. 4, 2003) เพื่อสร้างความมั่นใจให้ผู้บริโภค
เอกสารฉบับเต็ม: 


วันที่มีผลบังคับใช้ : 8 ก.พ. 59
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/309
23 พฤศจิกายน 2558
มาตรการปกติ
สินค้าเนื้อสัตว์
สาระสำคัญ : ร่างมาตรฐานฟิลิปปินส์ : กำหนดหลักปฏิบัติสุขอนามัยเนื้อสัตว์ ได้กำหนดมาตรฐานสุขลักษณะสำหรับเนื้อสัตว์และ preparation meat จากฟาร์มแหล่งกำเนิด ที่จะนำไปจำหน่าย รวมทั้งขั้นตอนก่อนชำแหละ ขณะชำแหละ และชำแหละเนื้อ
เอกสารฉบับเต็ม: 


วันที่มีผลบังคับใช้ : 5 ก.พ. 59
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/310
23 พฤศจิกายน 2558
มาตรการปกติ
สินค้าปลากะตักแห้ง
สาระสำคัญ : ร่างมาตรฐานฟิลิปปินส์ : ปลากะตักแห้ง ใช้กับทุกพันธุ์ปลาที่อยู่ใน Family Engraulidae ที่ทำแห้งแต่ไม่ใส่เกลือ นำมาบริโภคหลังจากผ่านการปรุงหรือขั้นตอนการแปรรูปอื่นๆ โดยมาตรฐานนี้ไม่รวมปลาที่ผ่านความร้อนก่อนมาทำแห้ง
เอกสารฉบับเต็ม: 


วันที่มีผลบังคับใช้ : 5 ก.พ. 59
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/311
23 พฤศจิกายน 2558
มาตรการปกติ
สินค้าปูทะเลเป็น
สาระสำคัญ : ร่างมาตรฐานฟิลิปปินส์ : ปูทะเลเป็น หรือท้องถิ่นเรียกว่า alimango มาตรฐานนี้ครอบคลุมสายพันธุ์ 1. Scylla serrata (Giant mangrove crab) 2. Scylla olivacea (Orange mangrove crab) 3. Scylla tranquebarica (Purple mangrove crab); 4. Scylla paramamosain (Green mangrove crab)
เอกสารฉบับเต็ม: 


วันที่มีผลบังคับใช้ : 5 ก.พ. 59
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/284/Add.1
16 พฤศจิกายน 2558
มาตรการปกติ
สินค้ายกเลิกมาตรการห้ามนำเข้าชั่วคราวสัตว์ปีกและผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ไก่ และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ยกเลิกมาตรการห้ามนำเข้าชั่วคราวสัตว์ปีกและผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ไก่ และน้ำเชื้อ จาก โตรอนโต้ ประเทศแคนาดา เนื่องมาจากการระบาดของไข้หวัดนกสายพันธุ์รุนแรง ซึ่งได้ประกาศห้ามนำเข้าไปเมื่อวันที่ 23 เม.ย. 58 ทั้งนี้เนื่องจากปลอดจากโรคระบาดแล้ว
วันที่มีผลบังคับใช้ : 16 พ.ย. 58
แคนาดา




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/72
05 พฤศจิกายน 2558
มาตรการปกติ
สินค้าผลิตภัณฑ์จากนม
สาระสำคัญ : กระทรวงสาธารณสุขปรับปรุงแก้ไขกฎระเบียบ QCVN 5-1: 2010/BYT สำหรับผลิตภัณฑ์นม
วันที่มีผลบังคับใช้ : 15 มิ.ย. 59
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/300/Add.1
05 พฤศจิกายน 2558
มาตรการปกติ
สินค้ายกเลิกมาตรการชั่วคราวห้ามนำเข้าสัตว์ปีกมีชีวิตและผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : กระทรวงเกษตรประกาศยกเลิกมาตรการชั่วคราวห้ามนำเข้าสัตว์ปีกมีชีวิตและผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ ที่มีถิ่นกำเนิดจาก Whitley Country, อินเดียนนาและมิซซิสซูรี่ สหรัฐฯ ตามที่เคยมีรายงานของโรคไวรัสไข้หวัดนก (HPAI) เมื่อวันที่ 26 พ.ค. 58 เนื่องจากมีรายงานถึงการปลอดโรคระบาดแล้ว
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/287/Add.1
05 พฤศจิกายน 2558
มาตรการปกติ
สินค้ายกเลิกมาตรการฉุกเฉินการห้ามนำเข้าชั่วคราวสัตว์ปีกมีชีวิตและผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ประกาศยกเลิกมาตรการฉุกเฉินการห้ามนำเข้าชั่วคราวสัตว์ปีกมีชีวิตและผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ จากแคว้น Dicken วิสคอนซิน สหรัฐฯ ตามที่ได้รายงานโรคระบาดไวรัสไข้หวัดนก HPAI เมื่อวันที่ 23 เมษายน 58 โดยมีรายงานจาก OIE ว่าไม่พบโรคระบาดแล้ว
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
วิสคอนซิน สหรัฐฯ




สิงคโปร์ G/SPS/N/SGP/56
27 ตุลาคม 2558
มาตรการปกติ
สินค้าอาหาร
สาระสำคัญ : AVA ได้ทบทวนกฎระเบียบและได้ร่างแก้ไขกฎระเบียบ ดังนี้ 1. ระบุข้อกำหนดของผลิตภัณฑ์ว่าเป็น ผลิตภัณฑ์อินทรีย์ 2. อนุญาตให้ใช้สารให้ความหวานแทนน้ำตาล ?Advantame? ในอาหาร 3. การกำหนดคำนิยามของคำว่า Veterinary drugs 4. การห้ามนำเข้า/จำหน่าย หรือโฆษณาน้ำนมดิบในการบริโภค เป็นต้น
วันที่มีผลบังคับใช้ : 30 ธ.ค.58
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/308
09 ตุลาคม 2558
มาตรการปกติ
สินค้าอาหารนำเข้าเพื่อจำหน่ายในนิวซีแลนด์
สาระสำคัญ : ระงับการนำเข้าชั่วคราวสำหรับสินค้าสัตว์ปีก เนื่องจากมีการระบาดของเชื้อไข้หวัดนก (HPAI) และ H7N7
วันที่มีผลบังคับใช้ : 6 ส.ค. 58
เยอรมนี




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/104
28 กันยายน 2558
มาตรการปกติ
สินค้าวัตถุเจือปนอาหารต่างๆ
สาระสำคัญ : กฎระเบียบสำหรับการควบคุมอาหารและยาฉบับที่ 36 ปี ค.ศ. 2013 เกี่ยวกับหลักเกณฑ์การกำหนดระดับของวัตถุเจือปนอาหาร กลุ่มสารกันเสีย (Preservative)
วันที่มีผลบังคับใช้ : 5 มิ.ย. 56
ประเทศคู่ค้า




สิงคโปร์ G/SPS/N/SPG/55
04 กันยายน 2558
มาตรการปกติ
สินค้าม้ามีชีวิต
สาระสำคัญ : เงื่อนไขการนำเข้าด้านสัตวแพทย์ได้แก้ที่เป็นไปตามแนวทางของ OIE ได้ update วิธีการทดสอบเชื้อ Piroplasma และ Surra (Trypanosome evansi) โดยได้จัดพิธีสารหรือprotocol สำหรับการนำเข้ามามาอย่างถาวรมายังสิงคโปร์ และสำหรับการนำเข้ามาเป็นการชั่วคราว รวมทั้งสำหรับการแข่งขันระหว่างประเทศ โดยอย่างน้อยทุกเงื่อนไขการนำเข้าต้องผ่านการตรวจสอบโรค Enquine Piroplasma ด้วยวิธี C-ELIZAนอกเหนือจากการทดสอบด้วยวิธี IFAT ที่ใช้อยู่ ซึ่งแต่protocol จะมีรายละเอียดต่างกัน จาก G/SPS/N/SPG/55
เอกสารฉบับเต็ม: 


วันที่มีผลบังคับใช้ : 2 พ.ย. 58
ประเทศคู่ค้า




มาเลเซีย G/SPS/N/MYS/37
01 กันยายน 2558
มาตรการปกติ
สินค้ามังคุดสด
สาระสำคัญ : ข้อกำหนดการนำเข้ามังคุดสดมายังมาเลเซีย เป็นข้อกำหนดใหม่โดยจะมีผลบังคับใช้เริ่มตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2558 แต่มีช่วงเวลาผ่อนผัน 4 เดือน จะมีผลตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2558
วันที่มีผลบังคับใช้ : 1 พ.ย. 58
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/71
21 สิงหาคม 2558
มาตรการปกติ
สินค้าHS Codes สำหรับพืชกักกัน
สาระสำคัญ : คำตัดสินที่ No. 2515/QD-BNN-BVTV จัดทำลำดับพิกัด HS Codes ให้เป็น 8-digits สำหรับพืชกักกัน
วันที่มีผลบังคับใช้ : มีผลบังคับใช้แล้ว
ประเทศคู่ค้า




อินโดนีเซีย /SPS/N/IDN/103/Corr.1
28 กรกฎาคม 2558
มาตรการปกติ
สินค้าปลาและผลิตภัณฑ์จากปลา
สาระสำคัญ : ปรับแก้ประกาศแจ้งเตือน G/SPS/N/IDN/103 ในข้อที่ 8 โดยจากที่ระบุว่ากฎระเบียบดังกล่าวไม่เกี่ยวข้องกับมาตรฐานระหว่างประเทศ เปลี่ยนเป็นมีมาตรฐานระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้อง คือ Codex และ OIE
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/307
27 กรกฎาคม 2558
มาตรการปกติ
สินค้าน้ำตาลมะพร้าว
สาระสำคัญ : ร่างมาตรฐานแห่งชาติเกี่ยวกับหลักปฏิบัติในการผลิตน้ำตาลจาวมะพร้าว (coconut sap sugar) เป็นการผผลิตหลักเบื้องต้น หลังการเก็บเกี่ยว การขนส่ง การแปรรูปขั้นต้นน้ำตาลมะพร้าว
เอกสารฉบับเต็ม: 


วันที่มีผลบังคับใช้ : 1 ต.ค. 58
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/304
13 กรกฎาคม 2558
มาตรการปกติ
สินค้าสาร Ethion
สาระสำคัญ : ประกาศยกเลิกการใช้สาร Ethion ทั้งกรณีใช้เดี่ยวและใช้ร่วมกับสารอื่นๆ ในการควบคุมโรคสัตว์ ทั้งนี้หากมีการละเมิดข้อกำหนดดังกล่าว จะได้รับบทลงโทษตามที่ได้กำหนดไว้ในกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
วันที่มีผลบังคับใช้ : 12 มิ.ย.58
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/306
13 กรกฎาคม 2558
มาตรการปกติ
สินค้าหัวหอมสด
สาระสำคัญ : ร่างข้อกำหนดด้านสุขอนามัยพืชสำหรับการนำเข้าหัวหอมสดจากสเปนซึ่งจะต้องรับฟังความคิดเห็นของสาธารณะภายหลังการวิเคราะห์ความเสี่ยงศัตรูพืช
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/305
13 กรกฎาคม 2558
มาตรการปกติ
สินค้าผักบุ้งจีนสด
สาระสำคัญ : ร่างมาตรฐานสำหรับการจำแนกและการคัดเกรดของผักบุ้งจีนสด ซึ่งในร่างมาตรฐานประกอบด้วยแนวทางในการจำแนกและคัดเกรดผักบุ้งจีนสดทั้งชนิดที่มาจากพื้นที่ลุ่มและพี้นที่ดอน ข้อกำหนดขั้นพื้นฐาน การบรรจุภัณฑ์และการติดฉลาก การปนเปื้อนและสุขอนามัย
วันที่มีผลบังคับใช้ : 21 ก.ย. 58
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/303
13 กรกฎาคม 2558
มาตรการปกติ
สินค้ามะขามหวานสด
สาระสำคัญ : ร่างมาตรฐานสำหรับการจำแนกและการคัดเกรดของมะขามหวานสด ซึ่งในร่างมาตรฐานประกอบด้วยแนวทางในการจำแนกและคัดเกรดมะขามหวานสดสำหรับการค้าจากพันธุ์ Tamarindus indica Linn. ของ Caesalpiniaceae ข้อกำหนดขั้นพื้นฐาน การบรรจุภัณฑ์และการติดฉลาก การปนเปื้อนและสุขอนามัย
วันที่มีผลบังคับใช้ : 21 ก.ย. 58
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/70
02 กรกฎาคม 2558
มาตรการปกติ
สินค้าการเพิ่มสารอาหารรองในอาหาร(Micronutrients)
สาระสำคัญ : ร่างกฤษฎีกาเพิ่มเติม ได้ได้กำหนดการเพิ่มสารอาหารรองในอาหาร มาตรการที่เกี่ยวกับโภชนาการ เพื่อป้องกันการขาดสารอาหารรอง
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/244/Add.1
01 กรกฎาคม 2558
มาตรการปกติ
สินค้าสินค้าปศุสัตว์
สาระสำคัญ : ร่างแก้ไขมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ ดังนี้ 1. กำหนดนิยามคำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับไข่ เพิ่มส่วนประกอบของผลิตภัณฑ์จากไข่ และทบทวนมาตรฐานการผลิตผลิตภัณฑ์ไข่ 2. ทบทวนปริมาณจำกัดของเชื้อจุลินทรีย์ a. ทบทวนจำนวนแบคทีเรียในนม, นมพร่องมันเนย, นมขาดมันเนย, นมปราศจากแล็คโตส, นมแปรรูป, นมแพะ และผลิตภัณฑ์ไข่ที่ผ่านหรือไม่ผ่านการพาสเจอร์ไรซ์ - นม, นมพร่องมันเนย, นมขาดมันเนย, นมปราศจากแล็คโตส, นมแปรรูปและนมแพะ มีเชื้อโคลิฟอร์มน้อยกว่าหรือเท่ากับ 20,000 cfu/ml (n = 5, c = 2, m = 10,000, M = 50,000) - ผลิตภัณฑ์ไข่ที่ผ่านการพาสเจอร์ไรซ์หรือผลิตภัณฑ์พร้อมรับประทาน มีเชื้อโคลิฟอร์มน้อยกว่าหรือเท่ากับ 10,000 cfu/ml (n = 5, c = 1, m = 10,000, M = 50,000) - ผลิตภัณฑ์ไข่ที่ไม่ผ่านการพาสเจอร์ไรซ์มีเชื้อโคลิฟอร์มน้อยกว่าหรือเท่ากับ 500,000 cfu/ml (n = 5, c = 1, m = 500,000, M = 1,000,000) b. ทบทวนปริมาณเชื้อ Bacillus cereus ในนม 100/g (n = 5, c = 0, m = 100) 3. ทบทวนมาตรฐานการผลิตไอศกรีม 4. ทบทวนวิธีการทดสอบทางจุลชีววิทยา
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/264/Add.1
01 กรกฎาคม 2558
มาตรการปกติ
สินค้าเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ไก่และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ประกาศกรมวิชาการเกษตรฟิลิปปินส์ยกเลิกการระงับการนำเข้าสินค้าจำพวกเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ไก่และน้ำเชื้อที่มีต้นกำเนิดจากแคนาดา
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
แคนาดา




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/190/Add.1
22 มิถุนายน 2558
มาตรการปกติ
สินค้าสัตว์ปีกและผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก เช่น ไข่น้ำเชื้อ ลูกไก่เนื้อ(day-old chicks)
สาระสำคัญ : ประกาศคำสั่ง DA MO No. 34 ยกเลิกการห้ามนำเข้าชั่วคราวของสัตว์ปีกและผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก เช่น ไข่ น้ำเชื้อ ลูกไก่เนื้อ (day-old chicks) จากญี่ปุ่นตามที่มี OIE ได้แจ้งว่าประเทศอังกฤษได้รายงานว่าปัญหาจากเหตุการณ์โรคระบาดนั้นสามารถแก้ไขได้แล้ว โดยให้ประกาศนี้มีผลตั้งแต่วันที่ 3 มิถุนายน 2558 เป็นต้นไป
วันที่มีผลบังคับใช้ : 3 มิ.ย. 58
ญี่ปุ่น




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/260/Add.1
22 มิถุนายน 2558
มาตรการปกติ
สินค้าสัตว์ปีกและผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก เช่น ไข่น้ำเชื้อ ลูกไก่เนื้อ
สาระสำคัญ : ประกาศคำสั่ง DA MO No. 32 ยกเลิกการห้ามนำเข้าชั่วคราวของสัตว์ปีกและผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก เช่น ไข่ น้ำเชื้อ ลูกไก่เนื้อ (day-old chicks) จากญี่ปุ่นตามที่มี OIE ได้แจ้งว่าประเทศอังกฤษได้รายงานว่าปัญหาจากเหตุการณ์โรคระบาดนั้นสามารถแก้ไขได้แล้ว โดยให้ประกาศนี้มีผลตั้งแต่วันที่ 1 มิถุนายน 2558 เป็นต้นไป
วันที่มีผลบังคับใช้ : 1 มิ.ย. 58
เยอรมนี




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/300
22 มิถุนายน 2558
มาตรการปกติ
สินค้าสัตว์ปีกพื้นบ้าน สัตว์ปีกป่า เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ห้ามนำเข้าชั่วคราวสัตว์ปีกพื้นบ้าน สัตว์ปีกป่า เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ จากMissouri, Whitley มลรัฐอินเดียนา สหรัฐอเมริกา เนื่องจากพบการระบาดของไข้หวัดนกสายพันธุ์ H5N2 และ H5N8
เอกสารฉบับเต็ม: 


วันที่มีผลบังคับใช้ : 26 พ.ค. 58
สหรัฐอเมริกา




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/301
22 มิถุนายน 2558
มาตรการปกติ
สินค้าสัตว์ปีกพื้นบ้าน สัตว์ปีกป่า เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ห้ามนำเข้าชั่วคราวสัตว์ปีกพื้นบ้าน สัตว์ปีกป่า เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ จาก Dixon County, Dixon, Nebraska สหรัฐอเมริกาเนื่องจากพบการระบาดของไข้หวัดนกสายพันธุ์ H5N2
เอกสารฉบับเต็ม: 


วันที่มีผลบังคับใช้ : 3 มิ.ย. 58
สหรัฐอเมริกา




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/302
22 มิถุนายน 2558
มาตรการปกติ
สินค้าแนวทางปฏิบัติด้านสุขอนามัยพืช
สาระสำคัญ : ร่างมาตรฐานฟิลลิปิน์ฉบับสุดท้ายเกี่ยวกับหลักปฏิบัติสำหรับการฉายรังสีในการแปรรูปอาหารโดยใช้รังสีแกมม่า รังสีเอ็กซ์ เพื่อควบคุมเชื้อโรค ลดปริมาณเชื้อจุลินทรีย์ ควบคุมศัตรูพืชกักกัน การยับยั้งการงอก และการยืดอายุ
เอกสารฉบับเต็ม: 


วันที่มีผลบังคับใช้ : 31 ส.ค. 58
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/299
19 มิถุนายน 2558
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกพื้นบ้าน สัตว์ปีกป่า เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ห้ามนำเข้าชั่วคราวสัตว์ปีกพื้นบ้าน สัตว์ปีกป่า เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ จากถิ่นกำเนิดประเทศตุรกี เนื่องจากพบการระบาดของไข้หวัดนกสายพันธุ์ H5N1 ในพื้นที่ Ikizciler, KastaMonu; Edincik, Balikesir; และ Moralilar, Manisa ของประเทศตุรกี
วันที่มีผลบังคับใช้ : 20 พ.ค. 58
ตุรกี




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/266/Add.1
05 มิถุนายน 2558
มาตรการปกติ
สินค้าสัตว์ปีกและผลิตภัณฑ์สัตว์ปีก
สาระสำคัญ : ประกาศคำสั่ง DA MO No. 28 ยกเลิกการห้ามนำเข้าชั่วคราวสัตว์ปีกพื้นบ้านและสัตว์ปีกป่าและผลิตภัณฑ์สัตว์ปีก เช่น ไข่ ลูกไก่ ไข่และน้ำเชื้อ (day-old chicks) จากยอร์คเชียร์และประเทศอังกฤษ ตามที่มี OIE ได้แจ้งว่าประเทศอังกฤษได้รายงานว่าปัญหาจากเหตุการณ์โรคระบาดนั้นสามารถแก้ไขได้แล้ว โดยให้ประกาศนี้มีผลตั้งแต่วันที่ 15 พฤษภาคม 2558 เป็นต้นไป
วันที่มีผลบังคับใช้ : 15 พ.ค. 2558
ยอร์คเชียร์และอังกฤษ




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/297
05 มิถุนายน 2558
มาตรการปกติ
สินค้าค่า MRLs.
สาระสำคัญ : ร่างมาตรฐานฟิลิปปินส์ปรับปรุงข้อกำหนดค่าสารตกค้างสูงสุด (MRL) ในสารกำจัดศัตรูพืชในสับปะรด
วันที่มีผลบังคับใช้ : 17 ส.ค. 58
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/298
05 มิถุนายน 2558
มาตรการปกติ
สินค้าค่า MRLs.
สาระสำคัญ : ร่างมาตรฐานฟิลิปปินส์ปรับปรุงข้อกำหนดค่าสารตกค้างสูงสุด (MRL) ในสารกำจัดศัตรูพืชในข้าว
วันที่มีผลบังคับใช้ : 17 ส.ค.58
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/295
04 มิถุนายน 2558
มาตรการปกติ
สินค้ามะม่วง
สาระสำคัญ : มาตรฐานกำหนดค่า MRLs ของสารกำจัดศัตรูพืชในมะม่วง
เอกสารฉบับเต็ม: 


วันที่มีผลบังคับใช้ : 17 ส.ค. 58
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/293
04 มิถุนายน 2558
มาตรการปกติ
สินค้าหน่อไม้ฝรั่ง
สาระสำคัญ : มาตรฐานกำหนดค่า MRLs ของสารกำจัดศัตรูพืชในหน่อไม้ฝรั่ง
เอกสารฉบับเต็ม: 


วันที่มีผลบังคับใช้ : 17 ส.ค. 58
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/294
04 มิถุนายน 2558
มาตรการปกติ
สินค้ากล้วย
สาระสำคัญ : มาตรฐานกำหนดค่า MRLs ของสารกำจัดศัตรูพืชในกล้วย
เอกสารฉบับเต็ม: 


วันที่มีผลบังคับใช้ : 17 ส.ค. 58
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/290
01 มิถุนายน 2558
มาตรการปกติ
สินค้าแพะ
สาระสำคัญ : ร่างมาตรฐานฟิลิปปินส์ฉบับสุดท้ายที่เป็นหลักปฏิบัติสำหรับโรงชำแหละสำหรับแพะ
เอกสารฉบับเต็ม: 


วันที่มีผลบังคับใช้ : 10 ส.ค. 58
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/291
01 มิถุนายน 2558
มาตรการปกติ
สินค้าเนื้อแพะชำแหละ
สาระสำคัญ : ร่างมาตรฐานฟิลิปปินส์ฉบับสุดท้ายสำหรับการปฏิบัติในการตกแต่งเนื้อแพะชำแหละเพื่อการค้า
เอกสารฉบับเต็ม: 


วันที่มีผลบังคับใช้ : 10 ส.ค. 58
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/292
01 มิถุนายน 2558
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกพื้นบ้าน สัตว์ปีกป่า รวมทั้งเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ น้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ประกาศห้ามนำเข้าชั่วคราวสัตว์ปีกพื้นบ้าน สัตว์ปีกป่า รวมทั้งเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ น้ำเชื้อที่มีแหล่งกำเนิดจากไอโอวา และ ลามัวร์ รัฐ นอร์ท ดาโกต้า สหรัฐอเมริกา เนื่องจากพบการระบาดของโรคไข้หวัด HPAI สายพันธุ์ H5N2 ที่ยืนยันโดย APHIS
เอกสารฉบับเต็ม: 


วันที่มีผลบังคับใช้ : 6 พ.ค. 58
สหรัฐอเมริกา




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/289
01 มิถุนายน 2558
มาตรการปกติ
สินค้ามันสำปะหลัง
สาระสำคัญ : ร่างมาตรฐานฟิลิปปินส์ฉบับสุดท้าย-การปฏิบัติที่ดีทางการเกษตรสำหรับมันสำปะหลัง ประกอบด้วยหลักสุขอนามัยทั่วไป การผลิตขั้นต้นและการแปรรูปหลังเก็บเกี่ยวสำหรับเนื้อมันสำปะหลังเพื่อการบริโภค รวมทั้งการผลิตเพื่อใช้เป็นส่วนผสมในอาหารสัตว์
เอกสารฉบับเต็ม: 


วันที่มีผลบังคับใช้ : 10 ส.ค. 58
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/287
27 พฤษภาคม 2558
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกและผลิตภัณฑ์สัตว์ปีก HS Codes : 0105,0207,0407,05119
สาระสำคัญ : ประกาศคำสั่ง DA MO No.23 ระบุเหตุผลความจำเป็นและสถานการณ์ฉุกเฉินในการระงับการนำเข้าชั่วคราวของสัตว์ปีกและผลิตภัณฑ์สัตว์ปีก จาก Judith Basin County,Montana; Dickey County,North Dakota; and Jefferson County, Wisconsin ของสหรัฐอเมริกา เพื่อป้องกันการระบาดของเชื้อไวรัส HPAI ในประชากรไก่ของฟิลิปปินส์
วันที่มีผลบังคับใช้ : 23 เม.ย. 58
สหรัฐอเมริกา(Judith Basin County,Montana; Dickey County,North Dakota; and Jefferson County, Wisconsin)




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/288
27 พฤษภาคม 2558
มาตรการปกติ
สินค้าอาหารสัตว์
สาระสำคัญ : ร่างสุดท้ายของมาตรฐานฟิลิปปินส์ ( Philippine National Standards ) สำหรับวัตถุเจือปนอาหารสัตว์ โดยกำหนดตัวชี้วัดค่าความปลอดภัยและคุณภาพของอาหารสัตว์ รวมทั้งการจัดประเภทอาหารสัตว์ ( สัตว์ปีกและปศุสัตว์ภายในประเทศ) ความปลอดภัยและคุณภาพของอาหารสัตว์จำพวกปศุสัตว์และสัตว์ปีก
เอกสารฉบับเต็ม: 


วันที่มีผลบังคับใช้ : 10 ส.ค. 58
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/285
27 พฤษภาคม 2558
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกและผลิตภัณฑ์สัตว์ปีก HS Codes : 0105,0207,0407,05119
สาระสำคัญ : ประกาศคำสั่ง DA MO No.21 ระบุเหตุผลความจำเป็นและสถานการณ์ฉุกเฉินในการระงับการนำเข้าชั่วคราวของสัตว์ปีกและผลิตภัณฑ์สัตว์ปีก จากรัฐ Minnesota, South Dakota ของสหรัฐอเมริกา เพื่อป้องกันการระบาดของเชื้อไวรัส HPAI ในประชากรไก่ของฟิลิปปินส์
วันที่มีผลบังคับใช้ : 23 เม.ย. 58
สหรัฐอเมริกา (รัฐ Minnesota, South Dakota)




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/286
27 พฤษภาคม 2558
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกและผลิตภัณฑ์สัตว์ปีก HS Codes : 0105,0207,0407,05119
สาระสำคัญ : ประกาศคำสั่ง DA MO No.22 ระบุเหตุผลความจำเป็นและสถานการณ์ฉุกเฉินในการระงับการนำเข้าชั่วคราวของสัตว์ปีกและผลิตภัณฑ์สัตว์ปีก จาก Leavenworth, Kansas ของสหรัฐอเมริกา เพื่อป้องกันการระบาดของเชื้อไวรัส HPAI ในประชากรไก่ของฟิลิปปินส์
วันที่มีผลบังคับใช้ : 23 เม.ย. 58
สหรัฐอเมริกา (Leavenworth, Kansas)




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/284
26 พฤษภาคม 2558
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกและผลิตภัณฑ์สัตว์ปีก HS Codes : 0105,0207,0407,05119
สาระสำคัญ : ประกาศคำสั่ง DA MO No.20 ระบุเหตุผลความจำเป็นและสถานการณ์ฉุกเฉินในการระงับการนำเข้าชั่วคราวของสัตว์ปีกและผลิตภัณฑ์สัตว์ปีก จากรัฐออนตาริโอ ของประเทศแคนาดา เพื่อป้องกันการระบาดของเชื้อไวรัส HPAI ในประชากรไก่ของฟิลิปปินส์
วันที่มีผลบังคับใช้ : 23 เม.ย.58
รัฐออนตาริโอแคนาดา




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/238
27 เมษายน 2558
มาตรการปกติ
สินค้ามันสำปะหลังและผลิตภัณฑ์
สาระสำคัญ : ร่างมาตรฐานฟิลิปปินส์ฉบับสุดท้าย เกี่ยวกับหลักปฏิบัติเพื่อการลดกรดไฮโดรไซยานิค ในมันสำปะหลังและผลิตภัณฑ์ (COP) ได้กำหนดให้เจ้าหน้าที่ระดับท้องถิ่นและประเทศที่เป็นผู้ผลิต ผู้ค้า ผู้แปรรูป และผู้เกี่ยวข้องอื่นๆ กับคู่มือแนวทางปฏิบัติต่อการผลิต และแปรรูปหัวมันสำปะหลัง และผลิตภัณฑ์ เช่น บด แผ่น เม็ด แป้งชนิด starch, flour ให้มีความปลอดภัยต่อความเข้มข้นของการตกค้างของสารประกอบไซยานิค
เอกสารฉบับเต็ม: 


วันที่มีผลบังคับใช้ : 6 ก.ค. 58
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/282
24 เมษายน 2558
มาตรการปกติ
สินค้าสมุนไพรแห้งและเครื่องเทศแห้ง
สาระสำคัญ : ร่างมาตรฐานฟิลิปปินส์ฉบับสุดท้ายเกี่ยวกับหลักการปฏิบัติสุขอนามัยสำหรับเครื่องเทศและสมุนไพรที่มีกลิ่นหอมแบบแห้ง (aromatic herb) ที่มีลักษณะทั้งผล ชิ้นแตกหัก บดหรือเป็นผง และได้กำหนดลักษณะต่ำสุดทางสุขลักษณะมี่ ก่อนเก็บเกี่ยว ตอนเก็บเกี่ยว และหลังเก็บเกี่ยว (เช่น การเก็บ การฟอกขาว การตัด การทำแห้ง ทำความสะอาด การคัดขนาด การบรรจุหีบห่อ การขนส่ง และการเก็บรักษา รวมทั้งการฆ่าเชื้อ และการรม) ข้อกำหนดการแปรรูป หลักปฏิบัติสำหรับเทคโนโลยีการแปรรูป ( เช่น การบด การผสม การทำให้แช่เย็นจนแข็ง freeze-drying การฆ่าเชื้อเพื่อลดปริมาณเชื้อจุลินทรีย์ ) บรรจุภัณฑ์และการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์แปรรูป
วันที่มีผลบังคับใช้ : 1 ก.ค. 58
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/68
24 เมษายน 2558
มาตรการปกติ
สินค้าสัตว์บกและผลิตภัณฑ์ดังกล่าว
สาระสำคัญ : แจ้งเวียนประกาศกระทรวงเกษตรฯเกี่ยวกับการกักกันและตรวจสอบสัตว์บกและผลิตภัณฑ์ รวมั้งการตรวจสอบทางสัตวแพทย์ บทที่ 2 ? การกักกันและการตรวจสอบสัตว์บกและผลิตภัณฑ์สำหรับภายในประเทศ นำเข้า ส่งออก เคลื่อนย้ายผ่าน นิทรรศการ บทที่ 3 ? การตรวจสอบทางสัตวแพทย์ บทที 4 ? ฟอร์มเอกสารต่างๆของการกักกันและการตรวจสอบสัตว์บกและผลิตภัณฑ์ และการตรวจสอบทางสัตวแพทย์
วันที่มีผลบังคับใช้ : 45 วันหลังประกาศราชกิจจาฯ
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/281
21 เมษายน 2558
มาตรการปกติ
สินค้าธัญพืช
สาระสำคัญ : ร่างมาตรฐาน:หลักปฏิบัติเพื่อป้องกันและลดการปนเปื้อนสารพิษจากเชื้อราในธัญพืช ตั้งแต่ฟาร์มและนอกฟาร์ม ซึ่งจะช่วยให้เกษตรกรและผู้ผลิตทำตามค่า ML ของสารพิษจากเชื้อราโดยเฉพาะ aflatoxin fumonisins และ deoxynivalenol
เอกสารฉบับเต็ม: 


วันที่มีผลบังคับใช้ : 30 มิ.ย. 58
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/67
21 เมษายน 2558
มาตรการปกติ
สินค้าวิตามิน เกลือแร่ ธาตุอาหารรองในอาหาร
สาระสำคัญ : แจ้งเวียนรายการธาตุอาหารรองที่อนุญาตให้เติมในอาหาร (micronutrients)
วันที่มีผลบังคับใช้ : 6 เดือนหลังประกาศราชกิจจาฯ
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/59/Add.1
21 เมษายน 2558
มาตรการปกติ
สินค้าอาหารที่มีมาจากพืช
สาระสำคัญ : แจ้งเวียนเอกสารคู่มือควบคุมความปลอดภัยอาหารในการนำเข้าอาหารที่มีแหล่งกำเนิดจากพืช (Circular Ref. 12/2015/TT-BNNPTNT)
วันที่มีผลบังคับใช้ : 5 พ.ค. 58
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/280
02 เมษายน 2558
มาตรการปกติ
สินค้าสัตว์ปีกป่า สัตว์ปีกพื้นบ้าน รวมเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ น้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ประกาศห้ามนำเข้าชั่วคราวสัตว์ปีกป่า สัตว์ปีกพื้นบ้าน รวมเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ น้ำเชื้อ ที่มาจาก Jasper and Moniteau, Missori and Boone contry รัฐอาคันซัส สหรัฐอเมริกา เนื่องจากมีรายงานพบการระบาดของไข้หวัดนก HPAIสายพันธุ์ H5N2
วันที่มีผลบังคับใช้ : 1 มี.ค.58
หรัฐอเมริกา




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/277
01 เมษายน 2558
มาตรการปกติ
สินค้ากำหนดค่า MRLs
สาระสำคัญ : ฟิลิปปินส์ประกาศฟิลิปปินส์ประกาศกำหนดค่า MRLs ของสารกำจัดศัตรูพืชและยาสัตว์ตกค้างในอาหาร โดยได้ปรับมาจากค่า Codex MRL
เอกสารฉบับเต็ม: 


วันที่มีผลบังคับใช้ : 5 มิ.ย. 58
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/278
01 เมษายน 2558
มาตรการปกติ
สินค้าเบอร์รี่
สาระสำคัญ : ร่างมาตรฐานฟิลิปปินส์เกี่ยวกับหลักปฏิบัติที่ดีสำหรับเบอร์รี่ มาตรฐานนี้ครอบคลุมคู่มือว่าทำอย่างไรจะลดปริมาณเชื้อจุลินทรีย์ที่อันตรายระหว่างการผลิตขั้นตอน การบรรจุ การกระจายและการบริโภค โดยได้รวม GAP, GHP, GMP เข้าด้วยกันตามมาตรฐานCodex
เอกสารฉบับเต็ม: 


วันที่มีผลบังคับใช้ : 5 มิ.ย. 58
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/279
01 เมษายน 2558
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกป่า สัตว์ปีกพื้นบ้าน รวมเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ น้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ประกาศห้ามนำเข้าชั่วคราวเสัตว์ปีกป่า สัตว์ปีกพื้นบ้าน รวมเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ น้ำเชื้อ ที่มาจาก Pope country รัฐมิเนสโซต้า สหรัฐอเมริกา เนื่องจากมีรายงานพบการระบาดของไข้หวัดนก HPAIสายพันธุ์ H5N2
วันที่มีผลบังคับใช้ : 1 มี.ค.58
ประเทศคู่ค้า




มาเลเซีย G/SPS/N/MYS/36
01 เมษายน 2558
มาตรการปกติ
สินค้ากำหนดค่า MRLs
สาระสำคัญ : มาเลเซียได้กำหนดค่า MRL ภายใต้กฎระเบียบ Food Regulation 1985 ที่สอดคล้องกับค่าของอาเซียน โดยได้แบ่งสารกำจัดศัตรูพืชออกเป็น สารที่อนุญาตให้ใช้แต่กำหนดปริมาณตกค้าง และสารที่ห้ามใช้
เอกสารฉบับเต็ม: 


วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/276
23 มีนาคม 2558
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกพื้นบ้าน สัตว์ปีกป่า เนื้อสัตว์ปีก ไข่ น้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ห้ามนำเข้าชั่วคราวสัตว์ปีกพื้นบ้าน สัตว์ปีกป่า เนื้อสัตว์ปีก ไข่ น้ำเชื้อจากรัฐไอดาโฮและรัฐวอชิงตัน สหรัฐอเมริกา เนื่องพบการระบาดเชื้อไข้หวัดนก H5N2
วันที่มีผลบังคับใช้ : 17 ก.พ. 58
สหรัฐอเมริกา




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/274
18 มีนาคม 2558
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกพื้นบ้าน สัตว์ปีกป่า เนื้อสัตว์ปีก ไข่ น้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ห้ามนำเข้าชั่วคราวสัตว์ปีกพื้นบ้าน สัตว์ปีกป่า เนื้อสัตว์ปีก ไข่ น้ำเชื้อจากจีนไทเป เนื่องพบการระบาดเชื้อไข้หวัดนก H5N2 และ H5N3
วันที่มีผลบังคับใช้ : 6 ก.พ. 58
จีนไทเป




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/273
18 มีนาคม 2558
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกพื้นบ้าน สัตว์ปีกป่า เนื้อสัตว์ปีก ไข่ น้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ห้ามนำเข้าชั่วคราวสัตว์ปีกพื้นบ้าน สัตว์ปีกป่า เนื้อสัตว์ปีก ไข่ น้ำเชื้อจากรัฐโอเรกอน สหรัฐอเมริกา เนื่องพบการระบาดเชื้อไข้หวัดนก H5N8
วันที่มีผลบังคับใช้ : 5 ม.ค. 58
สหรัฐอเมริกา




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/273
18 มีนาคม 2558
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกพื้นบ้าน สัตว์ปีกป่า เนื้อสัตว์ปีก ไข่ น้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ห้ามนำเข้าชั่วคราวสัตว์ปีกพื้นบ้าน สัตว์ปีกป่า เนื้อสัตว์ปีก ไข่ น้ำเชื้อจากรัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา เนื่องพบการระบาดเชื้อไข้หวัดนก H5N8
วันที่มีผลบังคับใช้ : 12 ก.พ. 58
สหรัฐอเมริกา




มาเลเซีย G/SPS/N/MYS/35
17 มีนาคม 2558
มาตรการปกติ
สินค้ารังนกดิบ
สาระสำคัญ : ร่างแก้ไขกฎระเบียบโดยอนุญาตให้ใช้เอ็นไซม์อะไมเลส โปรเตส และไลเปสในระหว่างการทำความสะอาดรังนกดิบที่จะนำมาบริโภคอาจใช้เดี่ยวๆหรือใช้แบบผสมผสานกับในการผลิต GMP
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




มาเลเซีย G/SPS/N/MYS/34
17 มีนาคม 2558
มาตรการปกติ
สินค้าอาหารทุกชนิด
สาระสำคัญ : แจ้งกฎระเบียบใหม่ เกี่ยวกับวัสดุสัมผัสอาหารที่เป็นพลาสติก โดยได้กำหนดค่าสูงสุดของการเคลื่อนย้ายของสาร (migration limit) เพื่อสร้างความมั่นใจถึงความปลอดภัยอาหาร เช่น แบเรียม กำหนดที่ 1 ppm โคบอลต์ ที่ 0.05 ppm ทองแดง ที่ 5 ppm เหล็ก ที่ 48 ppm ลิเทียม ที่ 0.6 ppm แมงกานีส ที่ 0.6 สังกะสีที่ 25 ppm ppm
เอกสารฉบับเต็ม: 


วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




สิงคโปร์ G/SPS/N/SGP/54
06 มีนาคม 2558
มาตรการปกติ
สินค้าม้ามีชีวิต
สาระสำคัญ : เงื่อนไขการนำเข้าด้านสัตวแพทย์ในการนำเข้าม้า โดยได้มีการแก้ไขที่เป็นไปตามมาตรฐานโรค Grander (โรคในม้าที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย) ของ OIE โดยยกเลิกวิธีทดสอบ mallien test รวมทั้ง Complement Fixation Test ดังนี้ 1. สำหรับพิธีสารสำหรับการนำเข้าถาวร ? โรค Grander เป็นโรคที่ต้องแจ้งในประเทศ ผู้ส่งออกและต้องไม่มีรายงานการพบโรคในระยะเวลา 3 ปี หรือ โรค Grander เป็นโรคที่ต้องแจ้งในประเทศผู้ส่งออกและต้องไม่มีรายงานการพบโรคในระยะเวลา 6 เดือนโดยต้องมีโปรแกรมการเฝ้าระวังที่จะแสดงให้เห็นว่าไม่มีโรคตามคำแนะนำของ OIE หรือ ม้าต้องผ่านการทดสอบโรค Grander โดยวิธี Complement Fixation Test และได้ผลเป็นลบภายใน 30 วันส่งออก - ช่วงระหว่าง 6 เดือนเพื่อจะส่งออก ม้าจะต้องไม่เจ็บป่วยจากโรคในโรงเลี้ยงหรือโรค Grander ? ยกเลิกเงื่อนไข ?ม้าจาก Sahba และ Sarawak จะต้องมีผลทดสอบ mallien test เป็เนลบ ในขณะกักกัน? 2. สำหรับการนำเข้าชั่วคราว ? โรค Grander เป็นโรคที่ต้องแจ้งในประเทศ ผู้ส่งออกและต้องไม่มีรายงานการพบโรคในระยะเวลา 3 ปี หรือ โรค Grander เป็นโรคที่ต้องแจ้งในประเทศผู้ส่งออกและต้องไม่มีรายงานการพบโรคในระยะเวลา 6 เดือนโดยต้องมีโปรแกรมการเฝ้าระวังที่จะแสดงให้เห็นว่าไม่มีโรคตามคำแนะนำของ OIE หรือ ม้าต้องผ่านการทดสอบโรค Grander โดยวิธี Complement Fixation Test และได้ผลเป็นลบภายใน 30 วันส่งออก - ช่วงระหว่าง 6 เดือนเพื่อจะส่งออก ม้าจะต้องไม่เจ็บป่วยจากโรคในโรงเลี้ยงหรือโรค Grander 3. สำหรับการส่งกลับจากการแข่งนานาชาติและการแข่งขัน ต้องไม่เกิดโรค Grander อย่างน้อย 3ปีในโซนของประเทศที่ม้าพักอาศัย
วันที่มีผลบังคับใช้ : 11 พ.ค. 58
ประเทศคู่ค้า




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/103
03 มีนาคม 2558
มาตรการปกติ
สินค้าประมงและผลิตภัณฑ์ประมง
สาระสำคัญ : กฎระเบียบกระทรวงกิจการทางทะเลและการทำประมงของอินโดนีเซีย ได้ออกระเบียบฉบับที่ 46/PERMEN-KP/2014 เกี่ยวกับการควบคุมคุณภาพและความปลอดภัยผลิตภัณฑ์ประมงที่จะนำเข้ามายังอินโดนีเซีย เพื่อความปลอดภัยในการนำมาบริโภคและสร้างความยั่งยืน และสิ่งแวดล้อม ขอบเขตของร่างกฎระเบียบ 1.ข้อกำหนดและขั้นตอนการขึ้นทะเบียนผลิตภัณฑ์ประมงของประเทศแหล่งกำเนิด 2. การนำเข้าผลิตภัณฑ์จากประมงโดยตัวแทนของประเทศจะต้องใช้เพื่อการบริโภคภายใน งานนิทรรศการและหรือการส่งเสริมการตรวจสอบผลิตภัณฑ์ประมง 3. ผลิตภัณฑ์ประมงใดที่จะนำเข้ามายังอินโดนีเซียจะต้องมีใบต่อไปนี้แนบมาด้วย 3.1 ใบรับรองสุขภาพที่ออกโดย CA ของประเทศแหล่งกำเนิด 3.2 ใบรับรองแหล่งกำเนิด (CoO) ที่ออกโดย CA ของประเทศ 3.2 ฉลากหรือเอกสาร (invoice หรือรายการการบรรจุ) ที่เขียนหรือรอยพิมพ์เป็นภาษาบาฮาสา อินโดนีเซีย และอังกฤษ 3.3 ใบรับรองการจับที่กำหนดโดยสหภาพยุโรป Council Regulation (EC) No. 1005/2008 (สำหรับเพื่อส่งสินค้าคืนไปยังสหภาพยุโรป (re-export)) 3.4 ผู้นำเข้าหรือผู้แทนของประเทศที่เป็นมิตรที่จะนำเข้าผลิตภัณฑ์ประมงมายังอินโดนีเซียจะต้องได้รับอนุญาตนำเข้าจากอธิบดีด้านการแปรรูปและการตลาดของกระกระทรวงฯ 2. ผลิตภัณฑ์ประมงใดๆ ทีนำเข้ามายังอินโดนีเซียจะต้องมีการทวนสอบเอกสารและการตรวจสอบทางกายภาพโดยเจ้าหน้าที่กักกันด้านประมง 3. ผลิตภัณฑ์ประมงใดๆ ทีนำเข้ามายังอินโดนีเซียจะต้องนำเข้าที่จุดนำเข้า 4. การนำเข้าผลิตภัณฑ์ประมงแบบ hand carry เป็นต้น
วันที่มีผลบังคับใช้ : 13 ต.ค. 57
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/105/Add.1
19 กุมภาพันธ ์ 2558
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าไข้หวัดนก
สาระสำคัญ : ประกาศยกเลิกการระงับการนำเข้าสัตว์ปีกพื้นบ้านสัตว์ปีกป่ารวมทั้งเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่และน้ำเชื้อที่มีแหล่งกำเนิดจากอิสราเอล ซึ่งได้ระงับการนำเข้าตั้งแต่ปี 2549 และประกาศนี้มีผลตั้งแต่ 20 มกราคม 2558
เอกสารฉบับเต็ม: 


วันที่มีผลบังคับใช้ : 20 ม.ค. 58
อิสราเอล




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/272
19 กุมภาพันธ ์ 2558
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าไข้หวัดนก
สาระสำคัญ : ประกาศระงับการนำเข้าสัตว์ปีกพื้นบ้านสัตว์ปีกป่ารวมทั้งเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่และน้ำเชื้อที่มีแหล่งกำเนิดจาก Haifa, อิสราเอล ซึ่งระงับการนำเข้าตั้งแต่วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2558 เนื่องจากมีรายงานพบไข้หวัดนก H5N1 เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2558
วันที่มีผลบังคับใช้ : 10 ก.พ. 58
Haifa, อิสราเอล




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/270
18 กุมภาพันธ ์ 2558
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าไข้หวัดนก
สาระสำคัญ : ประกาศระงับการนำเข้าสัตว์ปีกพื้นบ้านสัตว์ปีกป่ารวมทั้งเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่และน้ำเชื้อที่มีแหล่งกำเนิดจาก Chiayi country, ไทเป ซึ่งระงับการนำเข้าตั้งแต่วันที่ 13 มกราคม 2558 เนื่องจากมีรายงานพบไข้หวัดนก H5N8 เมื่อวันที่ 11 มกราคม 2558
วันที่มีผลบังคับใช้ : 13 ม.ค. 58
ไทเป




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/271
18 กุมภาพันธ ์ 2558
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าไข้หวัดนก
สาระสำคัญ : ประกาศระงับการนำเข้าสัตว์ปีกพื้นบ้านสัตว์ปีกป่ารวมทั้งเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่และน้ำเชื้อที่มีแหล่งกำเนิดจาก Haifa, อิสราเอล ซึ่งระงับการนำเข้าตั้งแต่วันที่ 13 มกราคม 2558 เนื่องจากมีรายงานพบไข้หวัดนก H5N1 เมื่อวันที่ 18 มกราคม 2558
วันที่มีผลบังคับใช้ : 26 ม.ค. 58
Haifa, อิสราเอล




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/101
18 กุมภาพันธ ์ 2558
มาตรการปกติ
สินค้าซากสัตว์ เนื้อสัตว์ และหรือผลิตภัณฑ์แปรรูป
สาระสำคัญ : กฎกระทรวงเกษตรฉบับที่ 139/Permantan/PD.410/12/2014 เกี่ยวกับการนำเข้าซากสัตว์ เนื้อสัตว์ และหรือผลิตภัณฑ์แปรรูปที่มายังอินโดนีเซีย โดยกฎระเบียบนี้มีขอบเขตได้แก่ ข้อกำหนดการนำเข้า ขั้นตอนการนำเข้า การควบคุม ข้อกำหนดด้านสัตวแพทย์ในการนำเข้าเนื้อสัตว์ปีก เนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์แปรรูป ชนิดของเนื้อจากวัว ซากและหรือนอกเหนือเนื้อวัว ผลิตภัณฑ์เนื้อแปรรูป ที่จะนำเข้ามายังอินโดนีเซีย
วันที่มีผลบังคับใช้ : 24 ธ.ค.57
ประเทศคู่ค้า




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/102
18 กุมภาพันธ ์ 2558
มาตรการปกติ
สินค้าซากสัตว์ เนื้อสัตว์ และหรือผลิตภัณฑ์แปรรูป
สาระสำคัญ : กฎกระทรวงเกษตรฉบับที่ 2/Permantan/PD.410/12/2015 แก้ไขกฎกระทรวงฯฉบับที่ 139/Permantan/PD.410/12/2014 เกี่ยวกับการนำเข้าซากสัตว์ เนื้อสัตว์ และหรือผลิตภัณฑ์แปรรูปที่มายังอินโดนีเซีย โดยแก้ไขเงื่อนไขที่เกี่ยวกับห่วงโซ่การผลิตอาหาร ราคาไม่แน่นอน และหรือสถานการณ์ฉุกเฉิน 1. ข้อกำหนดใหม่เกี่ยวกับการนำเข้าซากสัตว์และหรือ secondary cut โดยรัฐวิสาหกิจ (State-Ownd Enterprise) ให้มีการเชื่อมโยงห่วงโซ่อาหาร ราคาที่ไม่แน่นอน ภาวะเงินเฟ้อ ภัยธรรมชาติ 2. เป้าหมายการใช้เนื้อสัตว์สำหรับโรงแรม ร้านอาหาร การจัดอาหารในงานเลี้ยง อุตสาหกรรมและอื่นๆ ที่นำเข้าโดยรัฐวิสาหกิจ เพื่อให้เกิดราคาเสถียร ตลอดจนเกิดความร่วมมือทางการตลาด และควรสนับสนุนความเสียหาย 3. องค์กรธุกิจ รัฐวิสาหกิจ บริษัทในภูมิภาค สถาบันและตัวแทนต่างชาติ ที่จะนำเข้าซากสัตว์และเนื้อสัตว์และหรือผลิตภัณฑ์แปรรูป จะต้องรายงานข้อมูลที่เป็นจริงในช่วงก่อนนำเข้า ข้อกำหนดอื่นๆ ยังคงมีผลบังคับใช้ตามกฎกระทรวงฯ
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/269
14 มกราคม 2558
มาตรการปกติ
สินค้าข้าวโพดที่ทำเป็นอาหารสัตว์
สาระสำคัญ : ร่างฉบับสุดท้ายสำหรับข้าวโพดที่ทำเป็นอาหารสัตว์ (Corn silage) เพื่อนำมาให้สัตว์กระเพารวม มาตรฐานนี้ใช้กับต้นข้าวโพดที่มีฟักด้วยที่เก็บเกี่ยวมาแล้ว โดยมีความยาว 25 mm ถึง 100 mm ที่มีความชื้นร้อยละ 60-70 และมี milk 2/3 หรือถึงระยะ soft dougth
เอกสารฉบับเต็ม: 


วันที่มีผลบังคับใช้ : 23 มี.ค. 58
ประเทศคู่ค้า




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/99
14 มกราคม 2558
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกมีชีวิต และผลิตภัณฑ์สัตว์ปีก
สาระสำคัญ : ประกาศระงับห้ามนำเข้าสัตว์ปีกมีชีวิต และผลิตภัณฑ์สัตว์ปีกจากสหรัฐอเมริกามายังอินโดนีเซีย เนื่องจากมีรายงานการระบาดของโรคไข้หวัดนกสายพันธุ์ H5N8 และ H5N2
วันที่มีผลบังคับใช้ : 16 ธ.ค. 57
สหรัฐอเมริกา




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/98
13 มกราคม 2558
มาตรการปกติ
สินค้าขนและหนังที่ใส่เกลือทั้งแห้ง/เปียก รวมทั้งดอง (dry/wet salted skin/hide, wet pickled skin/hide, wet blue leather, crust leather and finished leather)
สาระสำคัญ : ร่างประกาศกระทรวงเกษตรฯ เกี่ยวกับการกักกันสัตว์ในการนำเข้าและส่งออกขนและหนัง (skin hide leather) เพื่อป้องกันการเข้ามา การแพร่ระบาดโรคสัตว์เข้ามายังอาณาเขตของประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งขนและหนังที่จะนำเข้าโดยต้องใช้มาตรการกักสัตว์ ทั้งนี้ต้องมีการปฏิบัติตามมาตรา 7 ข้อ 59 และ ของระเบียบฉบับที่ 82/2000 ขนและหนังที่ใส่เกลือทั้งแห้ง/เปียก รวมทั้งดอง (dry/wet salted skin/hide, wet pickled skin/hide, wet blue leather, crust leather and finished leather)
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/97
12 มกราคม 2558
มาตรการปกติ
สินค้าอาหารแปรรูป
สาระสำคัญ : แก้ไขกฎระเบียบควบคุมเกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์อาหาร แก้ไขภาคผนวกที่ 2ซี ซึ่งเป็นรายชื่อชนิดของอาหารและเงื่อนไขการใช้วัสดุสัมผัสอาหารที่เป็นพลาสติก โดยมีการทบทวนค่าการเคลื่อนย้ายของสาร Migation limit ของพลาสติกที่ใช้เป็นวัสดุสัมผัสอาหาร
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/268
09 มกราคม 2558
มาตรการปกติ
สินค้าHS Code : 0102, 0103, 0104, 0201, 0202, 0203, 0204, 0206, 0209, 0210, 0502, 0504, 051110, 1501, 1502, 1503, 151610, 1601, 16024, 160210, 160250
สาระสำคัญ : ฟิลิปปินส์ประกาศห้ามนำเข้าสัตว์ที่อ่อนแอต่อโรคปากเท้าเปื่อยจาก Caprivi ประเทศนามิเบีย เนื่องจากมีรายงานโรคปากเท้าเปื่อยในฟาร์มสุกรเมื่อวันที่ 15 พ.ย.57
วันที่มีผลบังคับใช้ : 15 ธ.ค. 57
นามิเบีย




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/262
09 มกราคม 2558
มาตรการปกติ
สินค้าน้ำตาลมัสโควาโด (Muscovado Sugar)
สาระสำคัญ : มาตรฐานน้ำตาลมัสโควาโดของประเทศฟิลิปปินส์ ได้กำหนดแนวทางสำหรับส่วนประกอบและคุณภาพของน้ำตาลที่ใช้บริโภคโดยปราศจากการแปรรูป มาตรฐานนี้ประกอบด้วยส่วนประกอบที่สำคัญ ตัวชี้วัดคุณภาพ วัตถุเจือปนอาหาร การปนเปื้อน สุขลักษณะ การบรรจุหีบห่อ การติดฉลาก และวิธีการตรวจวิเคราะห์และสุ่มตัวอย่าง
วันที่มีผลบังคับใช้ : 2 มี.ค. 5
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/266
07 มกราคม 2558
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกมีชีวิตและ เนื้อและส่วนอื่นที่บริโภคได้ของสัตว์ปีกเลี้ยง ไข่สัตว์ปีก ทั้งเปลือก สด ทำไว้ไม่ให้เสียหรือทำให้สุก และ HS 05119
สาระสำคัญ : ฟิลิปปินส์ประกาศห้ามนำเข้าสัตว์ปีกป่าและสัตว์ปีกพื้นบ้าน รวมทั้งเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่และน้ำเชื้อจากประเทศอังกฤษ
วันที่มีผลบังคับใช้ : 10 ธ.ค. 57
อังกฤษ




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/267
07 มกราคม 2558
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกมีชีวิตและ เนื้อและส่วนอื่นที่บริโภคได้ของสัตว์ปีกเลี้ยง
สาระสำคัญ : ฟิลิปปินส์ประกาศห้ามนำเข้าสัตว์ปีกป่าและสัตว์ปีกพื้นบ้าน รวมทั้งเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่และน้ำเชื้อจาก Yorkshire ประเทศอังกฤษ เนื่องจากมีรายงานโรคไข้หวัดนกระบาด
วันที่มีผลบังคับใช้ : 10 ธ.ค. 57
อังกฤษ




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/266
07 มกราคม 2558
มาตรการปกติ
สินค้าHS Code : 0102, 0103, 0104, 0201, 0202, 0203, 0204, 0206, 0209, 0210, 0502, 0504, 051110, 1501, 1502, 1503, 151610, 1601, 16024, 160210, 160250
สาระสำคัญ : ฟิลิปปินส์ประกาศห้ามนำเข้าสัตว์ที่อ่อนแอต่อโรคปากเท้าเปื่อยจากJiangsu ประเทศจีน เนื่องจากมีรายงานโรคปากเท้าเปื่อยในฟาร์มสุกรเมื่อวันที่ 15 พ.ย.57
วันที่มีผลบังคับใช้ : 15 ธ.ค. 57
จีน




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/265
07 มกราคม 2558
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้า-
สาระสำคัญ : ฟิลิปปินส์ประกาศห้ามนำเข้าชั่วคราวในสัตว์ที่อ่อนแอต่อโรคปากเท้าเปื่อย (FMD) และผลิตภัณฑ์เหล่านั้น ที่มาจาก Chungchrongbuk-Do เกาหลีใต้
เอกสารฉบับเต็ม: 


วันที่มีผลบังคับใช้ : 15 ธ.ค.57
เกาหลีใต้




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/264
07 มกราคม 2558
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้านกพื้นบ้าน/ป่า รวมถึงเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้ออสุจิ
สาระสำคัญ : ฟิลิปปินส์ประกาศห้ามนำเข้าชั่วคราวในการนำเข้านกพื้นบ้าน/ป่า รวมถึงเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ จาก British Columbia ประเทศแคนาดา
วันที่มีผลบังคับใช้ : 9 ธ.ค.57
แคนาดา




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/96
07 มกราคม 2558
มาตรการปกติ
สินค้าสารให้ความหวาน
สาระสำคัญ : กฎระเบียบการควบคุมอาหารและยาของอินโดนีเซีย ได้กำหนดปริมาณสูงสุดหรือ ML ของสารให้ความหวานในอาหารแปรรูป และได้กำหนดรายชื่อสารให้ความหวานที่อนุญาตให้ใช้แบ่งเป็น 1 สารให้ความหวานที่ได้จากธรรมชาติ ได้แก่ sorbitol, manitol, isomalt/isomaltitol, steviol glycoside, maltitol, lactitol, xylitol, erythritol 2 สารให้ความหวานเทียม ได้แก่ acesulfame potassium, aspartame, cyclamate, saccharins, sucralose/trichlogalactosucrose, neotame โดยค่า ML ในอาหารแต่ละชนิดกำหนดในภาคผนวกที่ 1 ส่วนประกอบของสารให้ความหวานในอาหารแปรรูปจะต้องผ่านการพิสูจน์โดยใบรับรองการวิเคราะห์ ส่วนการใช้สารให้ความหวานนอกเหนือที่กำหนดไว้ในภาคผนวกที่ 1 จะต้องได้รับการตรวจสอบโดยประธานของ NADFC สารให้ความหวานและอาหารแปรรูปที่มีสารให้ความหวานที่วางขายแล้วจะต้องปรับตัวตามกฎระเบียบโดยให้เวลาไม่น้อยกว่า 2 ปีนับแต่ประกาศนี้มีผลบังคับใช้ สารให้ความหวานและอาหารแปรรูปที่มีสารให้ความหวานที่ผ่านเสนอก่อนกฎระเบียบนี้มีผลบังคับใช้จะถูกดำเนินการโดยประธานของ NADFC ภายใต้กฎระเบียบ No. HK.00.05.5.1.4547 (4004) เกี่ยวกับข้อกำหนดสารให้ความหวานเทียม และการนำไปใช้ ทั้งนี้มีช่วงเวลาที่อนุญาตให้วางขายในตลาดเป็นเวลา 2 ปี
วันที่มีผลบังคับใช้ : 25 เม.ย. 57
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/263
07 มกราคม 2558
มาตรการปกติ
สินค้าน้ำตาลมัสโควาโด (Muscovado Sugar)
สาระสำคัญ : มาตรฐานน้ำตาลมัสโควาโดของประเทศฟิลิปปินส์โดยได้กำหนดหลักการปฏิบัติสำหรับการจัดเตรียมและการแปรรูปน้ำตาลมัสโควาโด หลักการปฏิบัติประกอบด้วยทุกขั้นตอนของการผลิตน้ำตาล พื้นที่และสถานที่ผลิต โรงงาน อาคาร เครื่องมือ อุปกรณ์ ความสะอาด วัตถุดิบ หลักปฏิบัติ และข้อกำหนดการผลิต พร้อมกับการพิจารณาสุขลักษณะบุคคล การจัดการและการตรวจสอบ การจัดทำเอกสาร และการบันทึกและขั้นตอนการเรียกคืนสินค้า
วันที่มีผลบังคับใช้ : 23 ก.พ. 58
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/66
11 ธันวาคม 2557
มาตรการปกติ
สินค้ายาสัตว์
สาระสำคัญ : เวียนร่างประกาศเกี่ยวกับการทดสอบ การทดลองและการควบคุมคุณภาพของยาสัตว์ วัคซีน ผลิตภัณฑ์ชีวภาพ จุลินทรีย์และเคมีและวัสดุอื่นๆที่มใช้ผลิตยาสัตว์
วันที่มีผลบังคับใช้ : 10 ม.ค.58
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/65
09 ธันวาคม 2557
มาตรการปกติ
สินค้าโคกระบือมีชีวิต
สาระสำคัญ : แจ้งเวียนร่างประกาศโดยได้แก้ไขและมีการเพิ่มเติมในบางหัวข้อของประกาศกักกันฉบับที่ 27/2009/TT-BNN ลงวันที่ 28 พฤษภาคม 2542 โดยกำหนดให้โคกระบือมีชีวิตจากด่านชายแดนของลาวและกัมพูชาที่จะนำเข้าเวียดนามจะต้อง 1) สุ่มตัวอย่าง (ตัวอย่างจะคำนวณจากร้อยละ 10 ของขั้นต่ำที่คาดว่าจะแพร่ระบาด) 2) โคกระบือที่จะนำเข้าโรงเฉือดต้องมีสุขภาพดีต้องไม่ฉีดวัคซีน
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
กัมพูชา ลาว




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/65
01 ธันวาคม 2557
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกมีชีวิตและผลิตภัณฑ์สัตว์ปีก
สาระสำคัญ : เนื่องจากมีการระบาดของเชื้อไข้หวัดนกชนิดรุนแรง H5N8 ในเยอรมนี เนเธอร์แลนด์ และสหราชอาณาจักร รัฐบาลอินโดนีเซียจึงประกาศห้ามนำเข้าสัตว์ปีกจากประเทศดังกล่าว เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไข้หวัดนกมายังสัตว์และมนุษย์
วันที่มีผลบังคับใช้ : 14 พ.ย. 57 สำหรับสหราชอาณาจักร เนเธอร์แลนด์ 4 พ.ย. 57 สำหรับเยอรมนี
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/53/Add.1
29 พฤศจิกายน 2557
มาตรการปกติ
สินค้าพืชและผลิตภัณฑ์พืช(adoption)
สาระสำคัญ : ร่างระเบียบในการกำหนดรายชื่อของพืชและผลิตภัณฑ์พืชควบคุม รวมถึงมาตรการที่เกี่ยวข้องในการประเมินความเสี่ยงศัตรูพืช (PRA) ก่อนนำเข้ามายังเวียดนาม ผ่านการประกาศใช้และจะมีผลบังคับใช้วันที่ 1 มกราคม 2558
วันที่มีผลบังคับใช้ : 1 ม.ค. 58
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/134/Add.1
14 พฤศจิกายน 2557
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกมีชีวิต เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ได้ยกเลิกการห้ามนำเข้าสัตว์ปีกพื้นบ้าน สัตว์ปีกป่าและผลิตภัณฑ์ รวมถึงเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่และน้ำเชื้อจากโปแลนด์ เนื่องตรวจพบไข้หวัดนกสายพันธุ์รุนแรง โดยจะมีผลบังคับใช้ในวันที่ 7 ตุลาคม 2557 โดย OIE พบว่าไข้หวัดนกได้รับควบคุมแล้วเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม 2551 และมีความเสี่ยงน้อยในการเกิดโรคไข้หวัดนก
เอกสารฉบับเต็ม: 


วันที่มีผลบังคับใช้ : 7 ต.ค. 57
เบนิน โปแลนด์ ซาอุดิอาระเบีย




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/256
14 พฤศจิกายน 2557
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกมีชีวิต เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ห้ามนำเข้าชั่วคราวสัตว์ปีกมีชีวิต เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่และน้ำเชื้อจาก Ilinsky, Dolgovo, Novochikhinsky และ Altayskiy Kray สหพันธรัฐรัสเซีย
เอกสารฉบับเต็ม: 


วันที่มีผลบังคับใช้ : 8 ต.ค. 57
สหพันธรัฐรัสเซีย




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/257
14 พฤศจิกายน 2557
มาตรการปกติ
สินค้าผลิตภัณฑ์ประมง
สาระสำคัญ : มาตรฐานของฟิลิปปินส์ของปลาทูน่าแช่เย็นและแช่แข็งมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความเข้าใจในขอบเขตของมาตรฐาน คำนิยามผลิตภัณฑ์ ส่วนประกอบที่สำคัญ และปัจจัยด้านคุณภาพ วัตถุเจือปนอาหาร สุขลักษณะและการดูแล ข้อกำหนดฉลากอาหาร วิธีทดสอบ การตรวจสอบ การวิเคราะห์ คำจำกัดความของข้อบกพร่อง และข้อกำหนดในการยอมรับผลิตภัณฑ์
เอกสารฉบับเต็ม: 


วันที่มีผลบังคับใช้ : 12 มิ.ย. 57
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/258
14 พฤศจิกายน 2557
มาตรการปกติ
สินค้าปลายข้าวโพด (Corn grits)
สาระสำคัญ : มาตรฐานนี้ถูกจัดทำขึ้นเพื่อเป็นคู่มือในการแปรรูปและจัดการคุณภาพของปลายข้าวโพด (Corn grits) และยังเพื่อป้องกันการปนเปื้อนและการติดเชื้อในผลิตภัณฑ์ต่างๆ เช่น อัลฟาท๊อกซิน โลหะหนักและสารตกค้างของสารกำจัดศัตรูพืช
เอกสารฉบับเต็ม: 


วันที่มีผลบังคับใช้ : 15 ม.ค. 57
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/63/Add.1
11 พฤศจิกายน 2557
มาตรการปกติ
สินค้าพืชและผลิตภัณฑ์พืช
สาระสำคัญ : รายชื่อศัตรูพืชกักกันของเวียดนาม (Circular 35/2014/TT-BNNPTNT) ที่ได้แจ้งเวียนองค์การการค้าโลกแล้วตามประกาศ G/SPS/N/VNM/63 และได้ผ่านการประกาศราชกิจจานุเบกษาแล้วและจะมีผลบังคับใช้ในวันที่ 1 ม.ค.58
วันที่มีผลบังคับใช้ : 1 ม.ค. 58
ประเทศคู่ค้า




มาเลเซีย G/SPS/N/MEX/248/Add.1
27 ตุลาคม 2557
มาตรการปกติ
สินค้าข้าวบาร์เลย์ (Hordeum vulgare L.)(adoption)
สาระสำคัญ : ข้อกำหนดด้านสุขอนามัยพืชที่เกี่ยวข้องกับการนำเข้าผลิตภัณฑ์ที่ถูกควบคุมโดยกระทรวงเกษตร ที่ได้ถูกตีพิมพ์ในวารสารทางการของเม็กซิโก เมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2555 และข้อกำหนดด้านสุขอนามัยพืชในการนำเข้าข้าวบาร์เลย์จากรัฐโคโลราโด สหรัฐอเมริกามายังเม็กซิโก มีผลบังคับใช้วันที่ 7 เมษายน 2555
เอกสารฉบับเต็ม: 


วันที่มีผลบังคับใช้ : 7 เม.ย. 55
สหรัฐอเมริกา




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/64
08 ตุลาคม 2557
มาตรการปกติ
สินค้าสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำ
สาระสำคัญ : ร่างประกาศแจ้งเวียนที่ใช้แทนหนังสือเวียน 06/2010/TT-BNNPTNT ที่กำหนดเงื่อนระเบียบและกระบวนการในการกักกันสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำ เพื่อบริโภคในประเทศ นำเข้า ส่งออก นำเข้าชั่วคราวเพื่อส่งออกอีกครั้ง (re-export) ส่งออกชั่วคราวเพื่อนำเข้าและการส่งผ่านมายังเวียดนาม เพื่ออำนวยความสะดวกทางการค้า
วันที่มีผลบังคับใช้ : พ.ย. 57
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/57/Add.1
06 ตุลาคม 2557
มาตรการปกติ
สินค้าสารปรุงแต่งอาหาร
สาระสำคัญ : ขยายระยะเวลาในการเสนอข้อคิดเห็นต่อร่างระเบียบทางเทคนิคของสารปรุงแต่งอาหาร (G/SPS/N/VNM/57) ไปจนถึงวันที่ 30 ตุลาคม 2557
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




มาเลเซีย G/SPS/N/MYS/33
02 ตุลาคม 2557
มาตรการปกติ
สินค้าอาหารทุกชนิด
สาระสำคัญ : ร่างแก้ไขตารางที่ 12 ของ Food Regulation 1985 เรื่องโพรไบโอติค โดยได้แก้ไขเพื่อทดแทน Bifido bacteria ที่อนุญาตให้ใช้อยู่แล้ว 2 ชนิดด้วยแบคทีเรียโพรไบโอติกชนิดอื่นตามแต่สายพันธุ์
เอกสารฉบับเต็ม: 


วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/239/Add.1
30 กันยายน 2557
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกพื้นบ้าน สัตว์ปีกป่า รวมไปถึงลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ประเทศฟิลิปปินส์ยกเลิกการห้ามนำเข้า (ชั่วคราว) สัตว์ปีกพื้นบ้าน สัตว์ปีกป่า รวมไปถึงลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ จากเมือง Ostellato Ferrara Mordano Bologna Emilia-Romagna ของประเทศอิตาลี เนื่องจากไม่ความเสี่ยงในการนำเข้าสัตว์ปีกและผลิตภัณฑ์สัตว์ปีก หลังจากที่ตรวจไม่พบการระบาดของไข้หวัดนกสายพันธุ์ H7 ในฟาร์มไก่เชิงพาณิชย์ในเมือง Ferrara Mordano Bologna Emilia-Romagna ในประเทศอิตาลี
เอกสารฉบับเต็ม: 







วันที่มีผลบังคับใช้ : 17 ส.ค. 57
อิตาลี




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/94
03 กันยายน 2557
มาตรการปกติ
สินค้าอาหารสดที่มีแหล่งกำเนิดจากพืช (ผักและผลไม้สด)
สาระสำคัญ : ทบทวนร่างกฎระเบียบกระทรวงเกษตรเกี่ยวกับการควบคุมความปลอดภัยอาหารนำเข้าและส่งออกผักและผลไม้สด สรุปสาระสำคัญ ดังนี้ 1. อาหารสดที่มีแหล่งกำเนิดจากพืชที่จะนำเข้ามายังอินโดนีเซียต้องมาจาก a. ประเทศที่ได้รับการรับรองระบบควบคุมอาหารปลอดภัย หรือ b. ประเทศที่มีการขึ้นทะเบียนห้องปฏิบัติการทดสอบอาหารปลอดภัยที่ผ่านการลงทะเบียน 2. กระบวนการในการรับรองการควบคุมระบบอาหารปลอดภัยในประเทศส่งออก (มาตรา 1a) ในระเบียบฉบับก่อนแก้ไขเล็กน้อย 3. ข้อกำหนดในการขึ้นทะเบียนห้องปฏิบัติการทดสอบอาหารปลอดภัยในประเทศส่งออก (มาตรา 1b) คือ a. ห้องปฏิบัติการที่ผ่านการรับรองโดยหน่วยงานที่ทำหน้าที่ในประเทศผู้ส่งออก b. ห้องปฏิบัติการมีความสามารถในการวิเคราะห์ชนิดของอาหารสดที่จะถูกส่งออกมายังอินโดนีเซียพร้อมขอบเขตในการทดสอบอย่างน้อยให้เป็นไปตามชนิดของยาฆ่าแมลงที่ใช้ในประเทศส่งออกและการทดสอบอื่นๆที่เกี่ยวข้องตามระเบียบนี้ 4. กระบวนการในการขึ้นทะเบียนห้องปฏิบัติการทดสอบอาหารปลอดภัยในประเทศผู้ส่งออก ดังนี้ a. ใบสมัครในการขึ้นทะเบียนจากหน่วยงานรับรองอาหารปลอดภัยในประเทศส่งออกพร้อมด้วยเอกสารหรือข้อมูลที่เกี่ยวข้อง b. เอกสารการประเมิน c. การทวนสอบ ณ แปลงผลิต d. ห้องปฏิบัติการอาหารปลอดภัยที่ขึ้นทะเบียน โดยกระทรวงเกษตร 5.เอกสารที่เกี่ยวข้อง โดยมีการเปลี่ยนแปลงดังนี้ a. การแจ้งล่วงหน้าจะต้องแจ้งโดยผู้ส่งออกอาหารที่มีต้นกำเนิดจากพืชสด (FFPO) ในประเทศต้นกำเนิด ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์เว็บไซต์ของ IAQA http://eplaqsystem.karantina.pertanian.go.id/notice/) b. นอกเหนือจากการแจ้งล่วงหน้าการนำเข้าอาหารฮาลาล จากห้องปฏิบัติการทดสอบอาหารปลอดภัยที่มีการลงทะเบียนต้องประกอบด้วยใบรับรองการวิเคราะห์ (Certificate of Analysis; CoA) ที่ออกโดยห้องปฏิบัติการที่ผ่านการขึ้นทะเบียน 6. มีระเบียบพิเศษเฉพาะสำหรับประเทศส่งผ่าน (transit country) 7. การรับรองที่กำหนดจากหลายประเทศจะมีผลบังคับใช้จนถึงระยะเวลาที่กำหนด
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




สิงคโปร์ G/SPS/N/SGP/52/Add.3
02 กันยายน 2557
มาตรการปกติ
สินค้าอาหาร
สาระสำคัญ : ขยายระยะเวลาในการขยายข้อคิดเห็นของร่างประกาศนี้เป็นวันที่ 1 พฤศจิกายน 2557
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/255
27 สิงหาคม 2557
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าวัว สุกร แกะและแพะ
สาระสำคัญ : ฟิลิปปินส์ห้ามการนำเข้าชั่วคราวสัตว์ที่มีความเสี่ยงต่อ FMD รวมถึงผลิตภัณฑ์และผลิตภัณฑ์ผลพลอยได้ที่มีต้นกำเนิดมาจากเจียงซู ประเทศจีน
เอกสารฉบับเต็ม: 


วันที่มีผลบังคับใช้ : 11 ก.ค. 57
จีน




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/63
20 สิงหาคม 2557
มาตรการปกติ
สินค้าพืชและผลิตภัณฑ์พืช
สาระสำคัญ : ร่างระเบียบในการแบ่งประเภทรายชื่อของศัตรูพืชกักกัน
เอกสารฉบับเต็ม: 


วันที่มีผลบังคับใช้ : 1 ม.ค. 58
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/61
15 สิงหาคม 2557
มาตรการปกติ
สินค้าพืชและผลิตภัณฑ์พืช
สาระสำคัญ : ร่างกฤษฎีกาเกี่ยวกับรายละเอียดของกฎระเบียบอารักขาพืชและกักกันในการปฏิบัติและแก้ไขมาตรการสุขอนามัยพืชที่อาจมีผลกระทบต่อการค้า
เอกสารฉบับเต็ม: 


วันที่มีผลบังคับใช้ : คาดว่าวันที่ 1 ม.ค. 58
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/62
15 สิงหาคม 2557
มาตรการปกติ
สินค้าสารกำจัดศัตรูพืช
สาระสำคัญ : ร่างระเบียบการจัดการสารกำจัดศัตรูพืช รวมถึงการลงทะเบียน การทดลองในแปลง โรงงาน การค้า การส่งออก การนำเข้า การควบคุมคุณภาพ การรับรอง การประกาศ การเก็บรักษา การขนส่ง การติดฉลาก บรรจุภัณฑ์ การโฆษณา การกำจัดสารกำจัดศัตรูพืชในเวียดนาม
เอกสารฉบับเต็ม: 


วันที่มีผลบังคับใช้ : คาดว่าวันที่
ประเทศคู่ค้า




มาเลเซีย G/SPS/N/MYS/32
11 สิงหาคม 2557
มาตรการปกติ
สินค้าอาหาร
สาระสำคัญ : การแก้ไขระเบียบเกี่ยวกับวัตถุเจือปนอาหารภายใต้ระเบียบอาหาร 1985 เป็นไปตามระเบียบของ CODEX และ GSFA โดยการแก้ไขเพื่ออธิบายถึงข้อกำหนดเรื่องความบริสุทธิ์ชองวัตถุเจือปนอาหารที่อนุญาตให้ใช้
เอกสารฉบับเต็ม: 


วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/60
08 สิงหาคม 2557
มาตรการปกติ
สินค้าสัตว์และผลิตภัณฑ์จากสัตว์
สาระสำคัญ : กฎหมายด้านปศุสัตว์กำหนดเงื่อนไขในระเบียบเพื่อป้องกันและกำจัดโรคสัตว์ การกักกันสัตว์ การตรวจสอบสุขลักษณะด้านสัตวแพทย์ การจัดการยาสัตว์และส่วนอื่นที่เกี่ยวข้อง
วันที่มีผลบังคับใช้ : ปี 58
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/59
31 กรกฎาคม 2557
มาตรการปกติ
สินค้าอาหารนำเข้าที่ได้จากพืช
สาระสำคัญ : ระเบียบควบคุมอาหารปลอดภัยในอาหารนำเข้าที่ได้จากพืช รวมถึงกระบวนการในการลงทะเบียนของประเทศผู้ส่งออกมายังเวียดนาม กระบวนการในการตรวจสอบ ณ จุดต่างๆ (ถ้าจำเป็น) และกระบวนการในการตรวจสอบ โดยระเบียบนี้ได้ใช้แทนระเบียบ ฉบับที่ 13/2011/TT-BNNPTNT เมื่อวันที่ 16 มีนาคม 2554 และฉบับที่ 05/2013/TT-BNNPTNT เมื่อวันที่ 21 มกราคม 2556
วันที่มีผลบังคับใช้ : 45 วันนับจากวันประกาศราชกิจจาฯ
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/58
29 กรกฎาคม 2557
มาตรการปกติ
สินค้าสารที่ช่วยในการแปรรูป
สาระสำคัญ : ร่างระเบียบทางเทคนิคที่เกี่ยวกับข้อกำหนด วิธีทดสอบ การจัดการเพื่อช่วยในการแปรรูป รวมถึงระเบียบในส่วนที่เกี่ยวข้องดังนี้ 1. Enzyme immobilization และตัวสนับสนุน 2. สารควบคุมจุลินทรีย์ 3. สารหล่อลื่น และสารป้องกันการเหนียว หรือตัวช่วยขึ้นรูป 4. สารเร่งปฏิกิริยา 5. การบรรจุหีบห่อแบบใช้ก๊าซ 6. วัตถุเจือปนในหม้อต้ม 7. ตัวทำละลาย สารสกัดและกระบวนการ 8. สารช่วยทำให้ใส/ ตัวกรอง 9. Ion exchange resin เยื่อเลือกผ่าน และตะแกรง 10. สารชะล้างและปอกเปลือก
เอกสารฉบับเต็ม: 


วันที่มีผลบังคับใช้ : 45 วันนับจากวันประกาศราชกิจจาฯ
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/57
29 กรกฎาคม 2557
มาตรการปกติ
สินค้าสารปรุงแต่งกลิ่นรส
สาระสำคัญ : ร่างระเบียบทางเทคนิคที่เกี่ยวกับข้อกำหนด วิธีทดสอบ การจัดการสารปรุงแต่งกลิ่นรส ดังต่อไปนี้ 1. สารปรุงแต่งกลิ่นรสส้มและมะนาว 2. สารปรุงแต่งกลิ่นรสพีช 3. สารปรุงแต่งกลิ่นรสสตรอเบอร์รี่ 4. สารปรุงแต่งกลิ่นรสมะพร้าว 5. สารปรุงแต่งกลิ่นไม้ 6. สารปรุงแต่งกลิ่นรมควัน 7. สารปรุงแต่งกลิ่นรสเห็ด 8. สารปรุงแต่งกลิ่นรสป๊อปคอร์น 9. สารปรุงแต่งกลิ่นมะลิ 10. สารปรุงแต่งกลิ่นรสช็อคโกแลต 11. สารปรุงแต่งกลิ่นรสวนิลา 12. สารปรุงแต่งกลิ่นแอปเปิล
เอกสารฉบับเต็ม: 


วันที่มีผลบังคับใช้ : 45 วันนับจากวันประกาศราชกิจจาฯ
ประเทศคู่ค้า




อินโดนีเซีย G/TBT/N/IDN/86
22 กรกฎาคม 2557
มาตรการปกติ
สินค้ากาแฟสำเร็จรูป
สาระสำคัญ : ร่างประกาศสถานะของผลิตภัณฑ์กาแฟสำเร็จรูปที่ผลิตและจำหน่ายในประเทศ หรือนำเข้าควรปฏิบัติตามข้อกำหนด SNI 2983 : 2014 ซึ่งเป็นข้อกำหนดเกี่ยวกับคำนิยาม ข้อกำหนดคุณภาพ การสุ่มตัวอย่าง วิธีทดสอบ การทดสอบการตอบสนอง และข้อกำหนดการตลาดและบรรจุภัณฑ์ (มาตรฐานนี้เป็นภาษาอินโดนีเซีย) ทั้งนี้ผู้ผลิตต้องปฏิบัติตามข้อกำหนดที่มีการรับรอง โดยใบรับรองพร้อมเครื่องหมาย SNI
เอกสารฉบับเต็ม: 


วันที่มีผลบังคับใช้ : 9 เดือน หลังมีการบังคับใช้
-




สิงคโปร์ G/SPS/N/SGP/52/Add.2
20 มิถุนายน 2557
มาตรการปกติ
สินค้าอาหาร
สาระสำคัญ : AVA ขยายระยะเวลาในการเสนอข้อคิดเห็นต่อการแก้ไขระเบียบอาหาร เป็นวันที่ 18 สิงหาคม 2557
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




สิงคโปร์ G/SPS/N/SGP/26/Add.2
06 มิถุนายน 2557
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้านก สัตว์ปีกมีชีวิต และผลิตภัณฑ์สัตว์ปีก (ผ่านความร้อนและบรรจุกระป๋อง)
สาระสำคัญ : เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2556 AVA ได้ระบุให้สิงคโปร์ว่าให้แจ้งข้อความ ?ให้แจ้งเรื่องไข้หวัดนก (Notifiable Avian influenza) ในการนำเข้านกและสัตว์ปีกและผลิตภัณฑ์สัตว์ปีกมายังสิงคโปร์ ตามมาตรา 10.4 ของ the Terrestrial Animal Health Code (TAHC) อย่างไรก็ตามจากการประชุมของ OIE ในเดือนพฤษภาคม 2556 OIE ได้แก้ไขข้อความที่ใช้ใน TAHC เป็น ? การติดเชื้อจากไวรัสไข้หวัดนก (infection with avian influenza virus) เท่านั้น? ให้ระบุคำว่า ?ที่ต้องแจ้ง (notifiable)? สิงคโปร์จะแก้ไขเงื่อนไขในการนำเข้านก สัตว์ปีกและผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีกให้ใกล้เคียงโดยใช้คำว่า ?ที่ต้องแจ้ง (notifiable)?และลดระยะเวลาในการปลอดโรค HPAI และ LPAI เป็นระยะเวลา 3 เดือนหลังจากวันที่ออกประกาศ แต่นโยบายการนำเข้าของสิงคโปร์ยังคงเดิมในการจำกัดการนำเข้าจากประเทศที่มีการระบาดของไข้หวัดนกที่เกิดจากไวรัส Influenza A ที่ถูกแจ้งโดย OIE เช่นเดียวกับประเทศผู้ส่งออก และรวมถึงไวรัสชนิด H5 และ H7 หรือไวรัสไข้หวัดนกชนิดอื่นๆ ที่มีค่า Intravenous pathogenicity index (IVPI) มากกว่า 1.2 ที่สอดคล้องกับตามบท 10.4 ของ TAHC เงื่อนไขของสุขภาพสัตว์ที่เกี่ยวข้องกับไข้หวัดนกในปัจจุบันได้แก่ 1. ประเทศต้องปลอดจากการแจ้งไข้หวัดนกเป็นเวลา 6 เดือนก่อนส่งออก และจะแก้ไขดังนี้ 1. HPAI และ H5, H7 (LPAI) ที่แจ้งในประเทศผู้ส่งออก 2.ประเทศต้องปลอดจากการแจ้งไข้หวัดนกประเภท (HPAI) เป็นเวลา 3 เดือนก่อนส่งออก 3. ประเทศต้องปลอดจากการแจ้งไข้หวัดนกประเภท H5 และ H7 (LPAI) เป็นเวลา 3 เดือนก่อนส่งออก โดยสิงคโปร์รับข้อคิดเห็นเป็นระยะเวลา 60 วันหลังจากประกาศมาตรการ และจะมีผลบังคับใช้ในวันที่ 1 กันยายน 2557
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/56
23 พฤษภาคม 2557
มาตรการปกติ
สินค้าพืชและผลิตภัณฑ์ที่ได้จากพืช
สาระสำคัญ : ร่างระเบียบซึ่งเป็นเอกสารแนวทางในการจัดทำการวิเคราะห์ความเสี่ยงศัตรูพืชแบบเป็นขั้นเป็นตอน
วันที่มีผลบังคับใช้ : 1 ม.ค. 58
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/254
22 พฤษภาคม 2557
มาตรการปกติ
สินค้าข้าว
สาระสำคัญ : การปฏิบัติที่ดีทางการเกษตร (GAP) ของข้าว เป็นมาตรฐานที่รวมทั้งความปลอดภัยและคุณภาพ โดยครอบคลุมการผลิต การเก็บเกี่ยว และการดูแลหลังการเก็บเกี่ยว และการเก็บรักษาข้าวเปลือก โดยหลักปฏิบัตินี้จะพิจารณามาจากการปฏิบัติที่ดีทางการเกษตรของผัก ผลไม้และข้าวโพด ที่ยึดหลักมาจากระบบการวิเคราะห์อันตรายและจุดวิกฤตที่ต้องควบคุม (HACCP) และการจัดการคุณภาพจากฟาร์มสู่โต๊ะอาหารที่มุ่งเน้นประเด็นหลัก 6 ข้อดังนี้ - ที่ตั้งฟาร์ม - สภาพแวดล้อมฟาร์ม - โครงสร้างฟาร์มและการดูแลรักษาอุปกรณ์เครื่องมือ - หลักปฏิบัติในฟาร์ม (การเตรียมพื้นดิน เมล็ดพันธุ์ การจัดการธาตุอาหาร ศัตรูพืช วัชพืช น้ำ การเก็บเกี่ยว และหลังการเก็บเกี่ยว) - สุขภาพและความปลอดภัยของผู้ทำงาน - การจัดการฟาร์ม (เช่น การบันทึกและตรวจสอบย้อนกลับของฟาร์ม การฝึกอบรมพนักงาน)
วันที่มีผลบังคับใช้ : 28 ก.ค. 57
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/55
15 พฤษภาคม 2557
มาตรการปกติ
สินค้าอาหาร
สาระสำคัญ : เสนอกำหนดค่า MRL ในสารกำจัดศัตรูพืชจำนวน 179 ชนิด ในอาหาร
เอกสารฉบับเต็ม: 


วันที่มีผลบังคับใช้ : ก.ย. 57
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/59
09 พฤษภาคม 2557
มาตรการปกติ
สินค้าวัตถุเจือปนอาหาร
สาระสำคัญ : แก้ไขมาตรฐานของวัตถุเจือปนอาหาร ได้แก่ คุณสมบัติขอบเขต การนำไปใช้และข้อจำกัดปริมาณการใช้ของวัตถุเจือปนอาหาร
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




มาเลเซีย G/SPS/N/MYS/31
06 พฤษภาคม 2557
มาตรการปกติ
สินค้าปลา
สาระสำคัญ : ร่างแก้ไขโดยอนุญาตให้ใช้ 4-Hexylresorcinol เป็นสารแอนติออกซิแดนท์ในการป้องกัน melanosis หรือโรคจุดดำในครัสตาเซียนสด แช่แข็งและแช่เยือกแข็ง โดยผลิตภัณฑ์สุดท้าย อนุญาตให้มีสารตกค้าง 4-Hexylresorcinol ไม่เกิน 2 mg/kg
เอกสารฉบับเต็ม: 


วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




มาเลเซีย G/SPS/N/MYS/28
06 พฤษภาคม 2557
มาตรการปกติ
สินค้าสารกำจัดศัตรูพืชตกค้าง
สาระสำคัญ : ร่างแก้ไขเพิ่มค่า MRL ของสารกำจัดศัตรูพืช 12 ชนิดในผลิตภัณฑ์อาหาร และการแก้ไขยังรวมถึงค่า MRL ของสารกำจัดศัตรูพืชที่มีอยู่แล้วด้วย
เอกสารฉบับเต็ม: 


วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




มาเลเซีย G/SPS/N/MYS/29
06 พฤษภาคม 2557
มาตรการปกติ
สินค้าแป้งทำอาหาร
สาระสำคัญ : การแก้ไขระเบียบที่มีอยู่และข้อเสนอระเบียบใหม่ เพื่อแก้ไขมาตรฐานที่เกี่ยวข้องกับแป้งสาลี ที่รวมถึงรายละเอียดของผลิตภัณฑ์และวัตถุเจือปนอาหารที่อนุญาตให้ใช้ในผลิตภัณฑ์ใกล้เคียง
เอกสารฉบับเต็ม: 


วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




มาเลเซีย G/SPS/N/MYS/30
06 พฤษภาคม 2557
มาตรการปกติ
สินค้าอาหารสูตรต่อเนื่องสำหรับทารกในทางการแพทย์
สาระสำคัญ : ร่างแก้ไขระเบียบใหม่อาหารสูตรต่อเนื่องสำหรับทารกในทางการแพทย์ โดยมีเงื่อนไขเฉพาะสำหรับอาหาร 5 กลุ่ม ดังนี้ - อาหารสูตรต่อเนื่องสำหรับทารกที่ป้องกันการอาเจียน (Anti-regurgitation) - อาหารสูตรต่อเนื่องสำหรับทารกแบบปราศจากน้ำตาลแลคโตส (Lactose free) - อาหารสูตรต่อเนื่องสำหรับทารกที่ได้จากถั่วเหลือง - นมสูตรที่มีการย่อยโปรตีนอย่างละเอียด (Extensively hydrolysed protein) - นมสำหรับทารกที่คลอดก่อนกำหนด (Preterm Formula)
เอกสารฉบับเต็ม: 


วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/53
15 เมษายน 2557
มาตรการปกติ
สินค้าพืชและผลิตภัณฑ์พืช
สาระสำคัญ : ร่างระเบียบในการกำหนดรายชื่อของพืชและผลิตภัณฑ์พืชควบคุม รวมถึงมาตรการที่เกี่ยวข้องในการประเมินความเสี่ยงศัตรูพืชก่อนนำเข้ามายังเวียดนาม
วันที่มีผลบังคับใช้ : 1 ม.ค. 58
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/253
07 เมษายน 2557
มาตรการปกติ
สินค้าสินค้าปลาทูน่า
สาระสำคัญ : มาตรฐานแห่งชาติของฟิลิปปินส์สำหรับปลาทูน่าแช่เย็นและแช่แข็ง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ความเข้าใจในขอบเขตของมาตรฐาน คำอธิบายผลิตภัณฑ์ ส่วนประกอบที่สำคัญและปัจจัยด้านคุณภาพ วัตถุเจือปนอาหาร สุขอนามัยและการจัดการ ข้อกำหนดฉลากสินค้า วิธีสุ่มตัวอย่าง การตรวจสอบและวิเคราะห์ การกำหนดข้อบกพร่อง และข้อกำหนดของผลิตภัณฑ์ที่ยอมรับได้
เอกสารฉบับเต็ม: 


วันที่มีผลบังคับใช้ : 9 มิ.ย. 57
ประเทศคู่ค้า




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/92
07 เมษายน 2557
มาตรการปกติ
สินค้าสัตว์ปีก
สาระสำคัญ : ประกาศกระทรวงเกษตรที่เกี่ยวข้องกับมาตรการกักกันสัตว์นำเข้าและส่งออกสัตว์ปีกมายัง/จาก/ภายในอาณาเขตของอินโดนีเซียเพื่อป้องกันการแพร่กระจายของโรคผ่านทางสัตว์ปีก ขอบเขตของระเบียบนี้คือ 1. การนำเข้าและส่งออกสัตว์ปีกมายังหรือจากอินโดนีเซียต้องปฏิบัติตามข้อกำหนดดังนี้ a. ต้องมีเอกสารกักกันดังต่อไปนี้ - ใบรับรองสุขภาพสัตว์ที่ออกโดยหน่วยงานรับรองจากประเทศต้นทาง (สำหรับการนำเข้าสัตว์ปีกจากต่างประเทศมายังอินโดนีเซีย) - ใบรับรองสุขภาพสัตว์ที่ออกโดยสัตวแพทย์ ณ ด่านออก (สำหรับการนำเข้าสัตว์ปีกจากต่างประเทศมายังอินโดนีเซีย) b. ควรนำเข้าและส่งออกผ่านด่านนำเข้าและส่งออกที่กำหนด c. ควรแสดงเอกสารกักกันยังเจ้าหน้าที่กักกัน ณ ด่านนำเข้าและส่งออก d. อยู่ภายใต้ประกาศกักกันที่ปฏิบัติโดยเจ้าหน้าที่กักกัน 2. การนำเข้าและส่งออกสัตว์ปีกภายในอินโดนีเซียต้องปฏิบัติตามข้อกำหนดดังนี้ a. อยู่ภายใต้ประกาศกักกันที่ปฏิบัติโดยเจ้าหน้าที่กักกัน ณ ด่านนำเข้าและส่งออก b. ในกรณีของการส่งออกสัตว์ปีกในรูปลักษณะบุคคลถือเข้ามา สามารถยกเว้นใบรับรองสุขภาพสัตว์ได้
วันที่มีผลบังคับใช้ : 18 มี.ค. 57
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/252
07 เมษายน 2557
มาตรการปกติ
สินค้าปลาหมึกแช่เย็นและแช่แข็ง
สาระสำคัญ : มาตรฐานแห่งชาติของฟิลิปปินส์สำหรับปลาหมึกสดและแช่แข็ง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ความเข้าใจในขอบเขตของมาตรฐาน คำอธิบายผลิตภัณฑ์ ส่วนประกอบที่สำคัญและปัจจัยด้านคุณภาพ วัตถุเจือปนอาหาร สุขอนามัยและการจัดการ ข้อกำหนดฉลากสินค้า วิธีสุ่มตัวอย่าง การตรวจสอบและวิเคราะห์ การกำหนดข้อบกพร่อง และข้อกำหนดของผลิตภัณฑ์ที่ยอมรับได้
เอกสารฉบับเต็ม: 


วันที่มีผลบังคับใช้ : 9 มิ.ย. 57
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/243/Add.1
20 มีนาคม 2557
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกเลี้ยง เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ยกเลิกการห้ามนำเข้าชั่วคราวสำหรับ สัตว์ปีกเลี้ยง เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ จาก Young รัฐ New South Wales ประเทศออสเตรเลียมายังประเทศฟิลิปปินส์ ซึ่งหลังจากพบการระบาดของไข้หวัดนกสายพันธุ์รุนแรง (HPAI) สายพันธุ์ H7N2 จึงมีการประเมินความเสี่ยงการนำเข้าสัตว์ปีกและผลิตภัณฑ์จากออสเตรเลียจาก Young รัฐ New South Wales ทั้งนี้มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2557
วันที่มีผลบังคับใช้ : 27 ก.พ. 57
ออสเตรเลีย




มาเลเซีย G/SPS/N/MYS/27
10 มีนาคม 2557
มาตรการปกติ
สินค้าผลิตภัณฑ์แปรรูปหรือทำแห้ง เช่น ถั่วเหลือง ข้าวโพด เมล็ดกาแฟ ใบยาสูบ ส้ม มะนาว กล้วย เป็นต้น
สาระสำคัญ : มาเลเซียเสนอแก้ไขข้อกำหนดการนำเข้าพืช ผลิตภัณฑ์พืชใหม่ ตามระเบียบกักกันและตรวจสอบของมาเลเซีย 2554 โดยระเบียบนี้กำหนดให้การนำเข้าพืชทุกชนิดมายังมาเลเซียต้องมีใบอนุญาตการนำเข้า ร่วมกับใบรับรองสุขอนามัยพืชที่มีการรับรองเพิ่มเติมของสินค้าที่ระบุว่าสินค้าได้ผ่านการฆ่าเชื้อหรือมาตรการที่เหมาะสมก่อนการนำเข้า
วันที่มีผลบังคับใช้ : 1 ก.ค. 57
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/251
27 กุมภาพันธ ์ 2557
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกป่าและพื้นบ้านรวมทั้ง ลูกไก่ ไข่และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : การห้ามนำการนำเข้าชั่วคราวเข้าสัตว์ปีกป่าและพื้นบ้านรวมทั้ง ลูกไก่ ไข่และน้ำเชื้อจาก Jeollabuk-do และ Jeollanam-do ประเทศเกาหลีใต้ เนื่องจากตรวจพบไข้หวัดนกสายพันธุ์รุนแรง ชนิด H5N8
วันที่มีผลบังคับใช้ : 16 ม.ค. 57
เกาหลีใต้ (Jeollabuk-do และ Jeollanam-do)




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/245/Add.1
26 กุมภาพันธ ์ 2557
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกป่าและพื้นบ้านรวมทั้ง ลูกไก่ ไข่และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : แจ้งยกเลิกการห้ามนำเข้าชั่วคราวสำหรับสัตว์ปีกพื้นบ้าน สัตว์ปีกป่า รวมลูกไก่ และน้ำเชื้อ จากประเทศเยอรมนี (ใน Landkreis Greiz, commune Mohlsdorf) (ตามประกาศ Memorandum Order No. 2 ,series 2014) เนื่องจากได้ผ่านกาประเมินการนำเข้าสัตว์ปีกและผลิตภัณฑ์ของมาตรฐาน OIE (บทที่ 10.4) ซึ่งพบว่ามีความเสี่ยงต่ำมากต่อการปนเปื้อนเชื้อไข้หวัดนก H5 จากพื้นที่ดังกล่าว
เอกสารฉบับเต็ม: 


วันที่มีผลบังคับใช้ : 16 ม.ค. 57
เยอรมนี (Landkreis Greiz, commune Mohlsdorf (Thuringia)




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/247/Add.1
26 กุมภาพันธ ์ 2557
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกป่าและพื้นบ้านรวมทั้ง ลูกไก่ ไข่และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : แจ้งยกเลิกการห้ามนำเข้าชั่วคราวสำหรับสัตว์ปีกพื้นบ้าน สัตว์ปีกป่า รวมลูกไก่ และน้ำเชื้อ จากประเทศโปรตุเกส(ใน Municipality of M?rtola, Region of Alentejo) (ตามประกาศ Memorandum Order No. 2 ,series 2014) เนื่องจากได้ผ่านกาประเมินการนำเข้าสัตว์ปีกและผลิตภัณฑ์ของมาตรฐาน OIE (บทที่ 10.4) ซึ่งพบว่ามีความเสี่ยงต่ำมากต่อการปนเปื้อนเชื้อไข้หวัดนก H5 จากพื้นที่ดังกล่าว
เอกสารฉบับเต็ม: 


วันที่มีผลบังคับใช้ : 16 ม.ค. 57
โปรตุเกส (Municipality of M?rtola, Region of Alentejo)




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/248/Add.1
26 กุมภาพันธ ์ 2557
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกป่าและพื้นบ้านรวมทั้ง ลูกไก่ ไข่และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : แจ้งยกเลิกการห้ามนำเข้าชั่วคราวสำหรับสัตว์ปีกพื้นบ้าน สัตว์ปีกป่า รวมลูกไก่ และน้ำเชื้อ จากประเทศเยอรมนี (ใน Commune of Blumberg, Kreis Scharzwald-Baar, Land Baden-Wurttemburg) (ตามประกาศ Memorandum Order No. 2 ,series 2014) เนื่องจากได้ผ่านกาประเมินการนำเข้าสัตว์ปีกและผลิตภัณฑ์ของมาตรฐาน OIE (บทที่ 10.4) ซึ่งพบว่ามีความเสี่ยงต่ำมากต่อการปนเปื้อนเชื้อไข้หวัดนก H5N3 จากพื้นที่ดังกล่าว
เอกสารฉบับเต็ม: 


วันที่มีผลบังคับใช้ : 16 ม.ค. 57
เยอรมนี (Commune of Blumberg, Kreis Scharzwald-Baar, Land Baden-Wurttemburg)




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/236/Add.2
26 กุมภาพันธ ์ 2557
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกป่าและพื้นบ้านรวมทั้ง ลูกไก่ ไข่และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : แจ้งยกเลิกการห้ามนำเข้าชั่วคราวสำหรับสัตว์ปีกพื้นบ้าน สัตว์ปีกป่า รวมลูกไก่ และน้ำเชื้อ จากรัฐ Arkansas สหรัฐอเมริกา (ตามประกาศ Memorandum Order No. 2 ,series 2014) เนื่องจากได้ผ่านกาประเมินการนำเข้าสัตว์ปีกและผลิตภัณฑ์ของมาตรฐาน OIE (บทที่ 10.4) ซึ่งพบว่ามีความเสี่ยงต่ำมากต่อการปนเปื้อนเชื้อไข้หวัดนก H7N7 จากพื้นที่ดังกล่าว
เอกสารฉบับเต็ม: 


วันที่มีผลบังคับใช้ : 27 ม.ค. 57
รัฐ Arkansas สหรัฐอเมริกา




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/242/Add.1
26 กุมภาพันธ ์ 2557
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกป่าและพื้นบ้านรวมทั้ง ลูกไก่ ไข่และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : แจ้งยกเลิกการห้ามนำเข้าชั่วคราวสำหรับสัตว์ปีกพื้นบ้าน สัตว์ปีกป่า รวมลูกไก่ และน้ำเชื้อ จากประเทศอิตาลี (จังหวัด Salerno เขต Campania) (ตามประกาศ Memorandum Order No. 2 ,series 2014) เนื่องจากได้ผ่านกาประเมินการนำเข้าสัตว์ปีกและผลิตภัณฑ์ของมาตรฐาน OIE (บทที่ 10.4) ซึ่งพบว่ามีความเสี่ยงต่ำมากต่อการปนเปื้อนเชื้อไข้หวัดนก H5 จากพื้นที่ดังกล่าว
เอกสารฉบับเต็ม: 


วันที่มีผลบังคับใช้ : 16 ม.ค. 57
อิตาลี (จังหวัด Salerno เขต Campania)




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/220/Add.1
25 กุมภาพันธ ์ 2557
มาตรการปกติ
สินค้าสัตว์ปีกป่าและพื้นบ้านรวมทั้ง ลูกไก่ ไข่และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : แจ้งยกเลิกการห้ามนำเข้าชั่วคราวสำหรับสัตว์ปีกพื้นบ้าน สัตว์ปีกป่า รวมลูกไก่ และน้ำเชื้อ จากประเทศอิตาลี (ใน Modena, Region of Emilia Romagna) (ตามประกาศ Memorandum Order No. 2 ,series 2014) เนื่องจากได้ผ่านกาประเมินการนำเข้าสัตว์ปีกและผลิตภัณฑ์ของมาตรฐาน OIE (บทที่ 10.4) ซึ่งพบว่ามีความเสี่ยงต่ำมากต่อการปนเปื้อนเชื้อไข้หวัดนก H5N1 จากพื้นที่ดังกล่าว
เอกสารฉบับเต็ม: 


วันที่มีผลบังคับใช้ : 16 ม.ค. 57
อิตาลี (Modena, Region of Emilia Romagna)




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/231/Add.1
25 กุมภาพันธ ์ 2557
มาตรการปกติ
สินค้าสัตว์ปีกป่าและพื้นบ้านรวมทั้ง ลูกไก่ ไข่และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : แจ้งยกเลิกการห้ามนำเข้าชั่วคราวสำหรับสัตว์ปีกพื้นบ้าน สัตว์ปีกป่า รวมลูกไก่ และน้ำเชื้อ จากประเทศเดนมาร์ค (ใน Viborg) (ตามประกาศ Memorandum Order No. 2 ,series 2014) เนื่องจากได้ผ่านกาประเมินการนำเข้าสัตว์ปีกและผลิตภัณฑ์ของมาตรฐาน OIE (บทที่ 10.4) ซึ่งพบว่ามีความเสี่ยงต่ำมากต่อการปนเปื้อนเชื้อไข้หวัดนก H5 จากพื้นที่ดังกล่าว
เอกสารฉบับเต็ม: 


วันที่มีผลบังคับใช้ : 16 ม.ค. 57
เดนมาร์ค (Viborg)




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/232/Add.1
25 กุมภาพันธ ์ 2557
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกป่าและพื้นบ้านรวมทั้ง ลูกไก่ ไข่และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : แจ้งยกเลิกการห้ามนำเข้าชั่วคราวสำหรับสัตว์ปีกพื้นบ้าน สัตว์ปีกป่า รวมลูกไก่ และน้ำเชื้อ จากประเทศเนเธอร์แลนด์ (ใน Leusden, Utrecht) (ตามประกาศ Memorandum Order No. 2 ,series 2014) เนื่องจากได้ผ่านกาประเมินการนำเข้าสัตว์ปีกและผลิตภัณฑ์ของมาตรฐาน OIE (บทที่ 10.4) ซึ่งพบว่ามีความเสี่ยงต่ำมากต่อการปนเปื้อนเชื้อไข้หวัดนก H5N1 จากพื้นที่ดังกล่าว
เอกสารฉบับเต็ม: 


วันที่มีผลบังคับใช้ : 16 ม.ค. 57
เนเธอร์แลนด์(Leusden, Utrecht)




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/237/Add.1
25 กุมภาพันธ ์ 2557
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกป่าและพื้นบ้านรวมทั้ง ลูกไก่ ไข่และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : แจ้งยกเลิกการห้ามนำเข้าชั่วคราวสำหรับสัตว์ปีกพื้นบ้าน สัตว์ปีกป่า รวมลูกไก่ และน้ำเชื้อ จากประเทศเนเธอร์แลนด์ (ใน Tzum และ Friesland) (ตามประกาศ Memorandum Order No. 2 ,series 2014) เนื่องจากได้ผ่านกาประเมินการนำเข้าสัตว์ปีกและผลิตภัณฑ์ของมาตรฐาน OIE (บทที่ 10.4) ซึ่งพบว่ามีความเสี่ยงต่ำมากต่อการปนเปื้อนเชื้อไข้หวัดนก H7 จากพื้นที่ดังกล่าว
เอกสารฉบับเต็ม: 


วันที่มีผลบังคับใช้ : 16 ม.ค. 57
เนเธอร์แลนด์ (Tzum และ Friesland)




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/241/Add.1
25 กุมภาพันธ ์ 2557
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกป่าและพื้นบ้านรวมทั้ง ลูกไก่ ไข่และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : แจ้งยกเลิกการห้ามนำเข้าชั่วคราวสำหรับสัตว์ปีกพื้นบ้าน สัตว์ปีกป่า รวมลูกไก่ และน้ำเชื้อ จากประเทศอิตาลี (ใน Province of Brescia, Lombardy Region ) (ตามประกาศ Memorandum Order No. 2 ,series 2014) เนื่องจากได้ผ่านกาประเมินการนำเข้าสัตว์ปีกและผลิตภัณฑ์ของมาตรฐาน OIE (บทที่ 10.4) ซึ่งพบว่ามีความเสี่ยงต่ำมากต่อการปนเปื้อนเชื้อไข้หวัดนก H5 จากพื้นที่ดังกล่าว
เอกสารฉบับเต็ม: 


วันที่มีผลบังคับใช้ : 16 ม.ค. 57
อิตาลี (Province of Brescia, Lombardy Region)




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/229/Add.1
25 กุมภาพันธ ์ 2557
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกป่าและพื้นบ้านรวมทั้ง ลูกไก่ ไข่และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : แจ้งยกเลิกการห้ามนำเข้าชั่วคราวสำหรับสัตว์ปีกพื้นบ้าน สัตว์ปีกป่า รวมลูกไก่ และน้ำเชื้อ จากประเทศเยอรมัน (ใน Schleswig-Holstein, District of Stormarn และ Hessen, District of Waldeck-Frackenberg) (ตามประกาศ Memorandum Order No. 2 ,series 2014) เนื่องจากได้ผ่านกาประเมินการนำเข้าสัตว์ปีกและผลิตภัณฑ์ของมาตรฐาน OIE (บทที่ 10.4) ซึ่งพบว่ามีความเสี่ยงต่ำมากต่อการปนเปื้อนเชื้อไข้หวัดนก H7N7 จากพื้นที่ดังกล่าว
เอกสารฉบับเต็ม: 


วันที่มีผลบังคับใช้ : 16 ม.ค. 57
เยอรมนี (Schleswig-Holstein, District of Stormarn and Hessen, District of Waldeck-Frackenberg)




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/219/Add.1
25 กุมภาพันธ ์ 2557
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกป่าและพื้นบ้านรวมทั้ง ลูกไก่ ไข่และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : แจ้งยกเลิกการห้ามนำเข้าชั่วคราวสำหรับสัตว์ปีกพื้นบ้าน สัตว์ปีกป่า รวมลูกไก่ และน้ำเชื้อ จากประเทศเยอรมัน (ใน Brandenburg) (ตามประกาศ Memorandum Order No. 2 ,series 2014) เนื่องจากได้ผ่านกาประเมินการนำเข้าสัตว์ปีกและผลิตภัณฑ์ของมาตรฐาน OIE (บทที่ 10.4) ซึ่งพบว่ามีความเสี่ยงต่ำมากต่อการปนเปื้อนเชื้อไข้หวัดนก H5N3 และ H5N2 จากพื้นที่ดังกล่าว
เอกสารฉบับเต็ม: 


วันที่มีผลบังคับใช้ : 16 ม.ค. 57
เยอรมนี (Brandenburg)




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/249/Add.1
23 กุมภาพันธ ์ 2557
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกป่าและพื้นบ้านรวมทั้ง ลูกไก่ ไข่และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : แจ้งยกเลิกการห้ามนำเข้าชั่วคราวสำหรับสัตว์ปีกพื้นบ้าน สัตว์ปีกป่า รวมลูกไก่ และน้ำเชื้อ จากประเทศเนเธอร์แลนด์ (ใน หมู่บ้าน St-Annen จังหวัด Groningen) (ตามประกาศ Memorandum Order No. 2 ,series 2014) เนื่องจากได้ผ่านกาประเมินการนำเข้าสัตว์ปีกและผลิตภัณฑ์ของมาตรฐาน OIE (บทที่ 10.4) ซึ่งพบว่ามีความเสี่ยงต่ำมากต่อการปนเปื้อนเชื้อไข้หวัดนก H5N3 จากพื้นที่ดังกล่าว
เอกสารฉบับเต็ม: 


วันที่มีผลบังคับใช้ : 16 ม.ค. 57
เนเธอร์แลนด์ (หมู่บ้าน St-Annen จังหวัด Groningen)




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/52
21 กุมภาพันธ ์ 2557
มาตรการปกติ
สินค้าปลามีชีวิตที่ได้นำเข้าเป็นอาหารไปยังเวียดนาม
สาระสำคัญ : แจ้งเวียนกฎระเบียบที่เกี่ยวกับกับการประเมินความเสี่ยงและการจัดการความเสี่ยงของสินค้าประมงมีชีวิตซึ่งต้องการนำเข้าเพื่อเป็นอาหารไปยังเวียดนาม
วันที่มีผลบังคับใช้ : มิ.ย. 57
ประเทศคู่ค้า




สิงคโปร์ G/SPS/N/SGP/53
19 กุมภาพันธ ์ 2557
มาตรการปกติ
สินค้าม้า
สาระสำคัญ : เงื่อนไขในการส่งออกม้ามายังสิงคโปร์ได้รับการแก้ไขดังนี้ เกณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับการนำเข้าม้าชั่วคราวและถาวรมายังสิงคโปร์ - ไม่พบรายงานการติดเชื้อไวรัส Hendra ในประเทศต้นกำเนิด 3 เดือนก่อนส่งออก หรือ - ถ้ามีการตรวจพบไวรัส Hendra ในประเทศต้นกำเนิด 3 เดือนก่อนส่งออก i. ในกรณีที่ม้าไม่ได้รับการฉีดวัคซีน ม้าต้องได้รับการกักกันเป็นเวลา 21 วันก่อนการส่งออก ภายใต้การกำกับดูแลของสัตวแพทย์ และต้องได้รับการทดสอบการติดเชื้อไวรัส Hendra โดยวิธี Elisa และมีผลลบในช่วงระยะเวลา 14 วันก่อนส่งออก ii. ในกรณีที่ม้าได้รับวัคซีน (โดยต้องเป็นวัคซีนชนิดล่าสุดและมีการแสดงหลักฐานใบรับรองการฉีดวัคซีนและมีการลงทะเบียนในฐานข้อมูลการฉีดวัคซีน) โดยม้าต้องได้รับการกักกันเป็นเวลา 21 วันก่อนการส่งออก ภายใต้การดูแลของสัตวแพทย์และต้องไม่มีการแสดงอาการของการติดเชื้อไวรัส Hendra ในระหว่างการกักกัน
วันที่มีผลบังคับใช้ : 19 ก.พ. 57
ประเทศคู่ค้า




สิงคโปร์ G/SPS/N/SGP/52
14 กุมภาพันธ ์ 2557
มาตรการปกติ
สินค้าอาหาร
สาระสำคัญ : AVA ได้ทบทวนกฎระเบียบด้านอาหาร (Food Regulations) เรียบร้อยแล้วและได้เสนอแก้ไขดังนี้ a) อนุญาตให้ใช้สารปรุงแต่งอาหารชนิดใหม่ดังนี้ 1) Chromium picolinate เป็นแหล่งแร่ธาตุโครเมียม 2) เอ็นไซม์ Serine protease (trypsin) ที่ได้จาก Fusarium venenatum ดัดแปลงพันธุกรรม 3) เอ็นไซม์ Polygalacturonase ที่ได้จากเชื้อรา Aspergillus niger เอ็นไซม์ Invertase ที่ได้จาก Saccharomyces cerevisiae b) กำหนดปริมาณปรอทสูงสุดในปลากินเนื้อ(predatory fish) ที่ 1 ppm c) อนุญาตให้ใช้ phytosterols, phytosterol esters, phytostanols และ phytostanols ในชนิดอาหารเพิ่ม เช่น 1) ไขมันและน้ำมันพืชต้องไม่มีส่วนประกอบไม่เกิน 20 กรัมของไขมันอิ่มตัวต่อไขมันทั้งหมด 100 กรัม และใน มาการีนและ fat spreads ต้องไม่เกิน 27 กรัมของไขมันอิ่มตัวต่อไขมันทั้งหมด และ 2) ในอาหารอื่นๆ ต้องมีส่วนประกอบไม่เกิน 3 กรัมของไขมันทั้งหมด 100 กรัม หรือ 1.5 กรัมของไขมันทั้งหมดต่อ 100 มิลลิกรัม
วันที่มีผลบังคับใช้ : 1 มิ.ย.57
ประเทศคู่ค้า




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/91
10 กุมภาพันธ ์ 2557
มาตรการปกติ
สินค้าผลิตภัณฑ์ที่มีแหล่งกำเนิดจากสัตว์
สาระสำคัญ : ร่างกฤษฎีกากระทรวงเกษตรเกี่ยวกับมาตรการกักกันสัตว์และการควบคุมดูแลการนำเข้าและส่งออกผลิตภัณฑ์ที่มีแหล่งกำเนิดจากสัตว์เพื่อการบริโภคจากต่างประเทศที่เข้ามาและออกจากอินโดนีเซีย หรือจากพื้นที่หนึ่งมายังพื้นที่อื่นๆภายในอินโดนีเซีย ซึ่งกฎระเบียบที่พิจารณาว่าผลิตภัณฑ์ที่แหล่งกำเนิดจากสัตว์เพื่อบริโภคเป็นพาหะต่อโรคสัตว์กักกัน จึงมีความจำเป็นที่จะใช้มาตรการกักกันสัตว์เพื่อสร้างความมั่นใจว่าผลิตภัณฑ์ที่มีแหล่งกำเนิดจากสัตว์เพื่อบริโภคนั้นจะไม่สามารถถ่ายทอดโรคสัตว์ โดยกฎระเบียบนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อรับรองว่าผลิตภัณฑ์ที่มีแหล่งกำเนิดจากสัตว์เพื่อบริโภคที่นำเข้าหรือส่งออกจากต่างประเทศมายังหรือออกจากอินโดนีเซีย หรือจากพื้นที่หนึ่งไปยังอีกพื้นที่หนึ่งในอินโดนีเซีย ปลอดโรคจากสัตว์กักกันและคำนึงถึงสุขอนามัยของสัตว์ โดยมีเงื่อนไขดังนี้ 1. ข้อกำหนดด้านการกักกัน (มาตรา 4, 5, 6, 7) การนำเข้าและส่งออกผลิตภัณฑ์ที่มีแหล่งกำเนิดจากสัตว์เพื่อบริโภคจากต่างประเทศมายังหรือออกจากอินโดนีเซีย หรือจากพื้นที่หนึ่งไปยังอีกพื้นที่หนึ่งในอินโดนีเซียต้องผ่านข้อกำหนดดังนี้ a. ต้องมีเอกสารกักกันดังต่อไปนี้ 1) ใบรับรองสุขอนามัยที่ออกโดยหน่วยงานที่มีอำนาจ (CA) ในประเทศแหล่งกำเนิด (สำหรับการนำเข้าผลิตภัณฑ์ที่มีต้นกำเนิดจากสัตว์จากต่างประเทศมายังอินโดนีเซีย 2) ใบรับรองสุขอนามัยที่ออกโดยสัตวแพทย์ด้านกักกัน ณ ด่านส่งออกสินค้า (สำหรับการส่งออกผลิตภัณฑ์ที่มีต้นกำเนิดจากสัตว์จากอินโดนีเซียหรือนำเข้าและส่งออกผลิตภัณฑ์ที่มีต้นกำเนิดจากสัตว์จากพื้นที่หนึ่งไปยังอีกพื้นที่หนึ่งในอินโดนีเซีย) 3). จดหมายถ้อยแถลงระบุถึงการบันทึกอุณหภูมิสำหรับผลิตภัณฑ์ที่มีแหล่งกำเนิดจากสัตว์ที่ออกโดยผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการขนส่ง 4). จดหมายถ้อยแถลงที่ระบุว่าไม่มีการปนเปื้อนระหว่างขนส่งที่ออกโดยมีส่วนเกี่ยวข้องในการขนส่ง 5). ใบขนส่ง/ใบขนส่งทางอากาศ 6). แบบสำแดงรายละเอียดของนำเข้า b. ใบรับรองฮาลาลที่ออกโดย the Indonesia Islamic Council (MUI) หรือหน่วยงานที่ได้รับการรับรองโดย MUI c. ควรนำเข้าและส่งออกผ่านด่านทางเข้าหรือทางออกที่กำหนดไว้ d. ควรนำมายื่นหรือแสดงต่อเจ้าหน้าที่กักกันที่ด่านทางเข้าหรือทางออกเพื่อตรวจสอบ 2. ข้อกำหนดด้านกักกันบนพื้นฐานของระดับความเสี่ยง (มาตรา 9) a. นอกเหนือจากข้อกำหนดในข้อ 1 การนำเข้าและส่งออกผลิ
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/90
03 กุมภาพันธ ์ 2557
มาตรการปกติ
สินค้าวัสดุชีวภาพสำหรับการขยายพันธุ์ (Reproductive biological material)
สาระสำคัญ : ระเบียบนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็นมาตรการกักการนำเข้าและ/หรือส่งออกวัสดุชีวภาพสำหรับการขยายพันธุ์มายัง/จากหรือภายในอินโดนีเซีย เพื่อสร้างความมั่นใจว่าวัสดุชีวภาพสำหรับการขยายพันธุ์ที่นำเข้าและ/หรือส่งออกมายัง/จากอินโดนีเซียปลอดจากโรคสัตว์กักกันที่สามารถส่งผ่านทางวัสดุชีวภาพสำหรับการขยายพันธุ์ ขอบเขตของระเบียบรวมถึง a. ข้อกำหนดในการนำเข้า: ข้อกำหนดการกักกัน ข้อกำหนดทางเทคนิคและการจัดการโรค ข้อกำหนดทางสถานะและสถานการณ์โรคสัตว์กักกันในประเทศต้นกำเนิด ข้อกำหนดในการบรรจุ ข้อกำหนดในการเก็บรักษา ข้อกำหนดในการขนส่ง และข้อกำหนดด้านเอกสาร b. ข้อกำหนดในการนำเข้าและ/หรือส่งออกระหว่างพื้นที่ในอินโดนีเซีย ข้อกำหนดทางสถานะและสถานการณ์โรคสัตว์กักกันในประเทศต้นกำเนิด ข้อกำหนดในการบรรจุหีบห่อ ข้อกำหนดในการเก็บรักษา ข้อกำหนดในการขนส่ง และข้อกำหนดด้านเอกสาร c. ข้อกำหนดในการส่งออก: d. วิธีประเมินในประเทศและพื้นที่ต้นกำเนิด - ขั้นตอนการตรวจสอบสินค้าก่อนการนำเข้า (Pre-shipment Inspection) ในประเทศแหล่งกำเนิด (ค่าพารามิเตอร์ของการตรวจสอบสินค้าก่อนนำเข้าการตรวจสอบ การประเมินวัสดุชีวภาพสำหรับการขยายพันธุ์สัตว์ผู้ให้ (donor animal) วัสดุบรรจุภัณฑ์ การเก็บรักษา การขนส่ง และการรายงานผลการประเมินในประเทศแหล่งกำเนิด) - ขั้นตอนการตรวจสอบในสถานผลิตสินค้า (In-line Inspection) (ค่าพารามิเตอร์ของการประเมิน การประเมินวัสดุชีวภาพสำหรับการขยายพันธุ์ สัตว์ผู้ให้ (donor animal) วัสดุบรรจุภัณฑ์ การเก็บรักษา การขนส่ง และการรายงานผลการประเมินในประเทศแหล่งกำเนิด) e. มาตรการกักกันสำหรับการนำเข้าและ/หรือส่งออกวัสดุชีวภาพสำหรับการขยายพันธุ์มายัง/จากหรือภายในอินโดนีเซีย
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/84
27 มกราคม 2557
มาตรการปกติ
สินค้าสารที่ทำให้เกิดโฟม (Foaming agent)
สาระสำคัญ : ระเบียบที่เกี่ยวกับปริมาณสูงสูดของการใช้สารที่ทำให้เกิดโฟมในอาหารแปรรูป -รายชื่อของสารที่ทำให้เกิดโฟมที่อนุญาตให้ใช้มีดังนี้ 1.Xanthan gum (INS.415) 2.Microcrystalline cellulose (INS.460 (i)) และ 3.Metyl ethyl cellulose (INS.465) -ปริมาณสูงสุดของสารที่ทำให้เกิดโฟมได้ระบุไว้ในภาคผนวก 1 ซึ่งเป็นส่วนสำคัญของระเบียบนี้ -ต้องมีใบรับรองการวิเคราะห์ในการใช้สารที่ทำให้เกิดโฟมในอาหารแปรรูป -ชนิดและวิธีการใช้สารที่ทำให้เกิดโฟมนอกเหนือจากสารที่ระบุในภาคผนวกที่ 1 สามารถใช้ได้ภายหลังการอนุมัติจากหัวหน้า NADFC -สารที่ทำให้เกิดโฟมและอาหารที่มีส่วนประกอบของสารที่ทำให้เกิดโฟมที่ได้ผ่านการอนุมัติทางการตลาดแล้วต้องปรับให้สอดคล้องกับระเบียบนี้ภายใน 1 ปีนับจากวันที่ประกาศเป็นกฎหมาย -สารที่ทำให้เกิดโฟมและอาหารที่มีส่วนประกอบของสารที่ทำให้เกิดโฟมที่ส่งก่อนระเบียบนี้จะดำเนินการขึ้นกับประกาศกฎกระทรวงสาธารณสุขสาธารณสุข หมายเลข No.722/Menkes/Per/IX/1988 ที่เกี่ยวกับวัตถุเจือปนอาหารตามที่แก้ไขโดยประกาศกฎกระทรวงสาธารณสุขสาธารณสุข หมายเลขNo.1168/Menkes/Per/X/1999 โดยจะมีระยะเวลาอนุญาตให้ใช้ 1 ปี
วันที่มีผลบังคับใช้ : 5 เม.ย. 56 (ประกาศในประกาศของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาของอินโดนีเซียหมายเลข 22/2013 ในวันที่ 5 เม.ย. 56 และมีผลบังคับใช้ในวันที่ประกาศ)
ประเทศคู่ค้า




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/82
27 มกราคม 2557
มาตรการปกติ
สินค้าอิมัลซิไฟเออร์
สาระสำคัญ : ระเบียบที่เกี่ยวกับปริมาณสูงสูดของการใช้อิมัลซิไฟเออร์ในอาหารแปรรูป -รายชื่อของอิมัลซิไฟเออร์อนุญาตให้ใช้ระบุอยู่ในบทความที่ 3 -ปริมาณสูงสุดของอิมัลซิไฟเออร์ได้ระบุไว้ในภาคผนวก 1 ซึ่งเป็นส่วนสำคัญของระเบียบนี้ -ต้องมีใบรับรองการวิเคราะห์ในการใช้อิมัลซิไฟเออร์ในอาหารแปรรูป -ชนิดและวิธีการใช้อิมัลซิไฟเออร์นอกเหนือจากสารที่ระบุในภาคผนวกที่ 1 สามารถใช้ได้ภายหลังการอนุมัติจากหัวหน้า NADFC -อิมัลซิไฟเออร์และอาหารที่มีส่วนประกอบอิมัลซิไฟเออร์ที่ได้ผ่านการอนุมัติทางการตลาดแล้วต้องปรับให้สอดคล้องกับระเบียบนี้ภายใน 1 ปีนับจากวันที่ประกาศเป็นกฎหมาย - อิมัลซิไฟเออร์และอาหารที่มีส่วนประกอบของอิมัลซิไฟเออร์ที่ส่งก่อนระเบียบนี้จะดำเนินการขึ้นกับประกาศกฎกระทรวงสาธารณสุข หมายเลข No.722/Menkes/Per/IX/1988 ที่เกี่ยวกับวัตถุเจือปนอาหารตามที่แก้ไขโดยประกาศกฎกระทรวงสาธารณสุข หมายเลข No.1168/Menkes/Per/X/1999 โดยจะมีผลบังคับใช้ภายใน 1 ปี
วันที่มีผลบังคับใช้ : 5 เม.ย. 56 (ประกาศในประกาศของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาของอินโดนีเซียหมายเลข 20/2013 ในวันที่ 5 เม.ย. 56 และมีผลบังคับใช้ในวันที่ประกาศ)
ประเทศคู่ค้า




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/75
27 มกราคม 2557
มาตรการปกติ
สินค้าสารกันฟอง (Anti-foaming)
สาระสำคัญ : ระเบียบที่เกี่ยวกับปริมาณสูงสูดของการใช้สารกันฟองในอาหารแปรรูป รายชื่อของสารกันฟองที่อนุญาตให้ใช้มีดังนี้ 1.Calcium alginate (INS.404) และ 2.Mono- and di-glycerides of fatty acids (INS.471) -ปริมาณสูงสุดของสารกันฟองได้ระบุไว้ในภาคผนวก 1 ซึ่งเป็นส่วนสำคัญของระเบียบนี้ -ต้องมีใบรับรองการวิเคราะห์ในการใช้สารกันฟองในอาหารแปรรูป -ชนิดและวิธีการใช้สารกันฟองนอกเหนือจากสารที่ระบุในภาคผนวกที่ 1 สามารถใช้ได้ภายหลังการอนุมัติจากหัวหน้า NADFC -สารกันฟองและอาหารที่มีส่วนประกอบของสารกันฟองที่ได้ผ่านการอนุมัติทางการตลาดแล้วต้องปรับให้สอดคล้องกับระเบียบนี้ภายใน 1 ปีนับจากวันที่ประกาศเป็นกฎหมาย -สารกันฟองและอาหารที่มีส่วนประกอบของสารกันฟองที่ส่งก่อนระเบียบนี้จะดำเนินการขึ้นกับประกาศกฎกระทรวงสาธารณสุข หมายเลข No.722/Menkes/Per/IX/1988 ที่เกี่ยวกับวัตถุเจือปนอาหารตามที่แก้ไขโดยประกาศกฎกระทรวงสาธารณสุข หมายเลข No.1168/Menkes/Per/X/1999 โดยจะมีระยะเวลาอนุญาตให้ใช้ 1 ปี
วันที่มีผลบังคับใช้ : 5 เม.ย. 56 (ประกาศในประกาศของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาของอินโดนีเซียหมายเลข 13/2013 ในวันที่ 5 เม.ย. 56 และมีผลบังคับใช้ในวันที่ประกาศ)
ประเทศคู่ค้า




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/68
27 มกราคม 2557
มาตรการปกติ
สินค้าวัตถุเจือปนอาหาร สารตัวนำ (Carrier)
สาระสำคัญ : ระเบียบที่เกี่ยวกับปริมาณสูงสูดของการใช้วัตถุเจือปนอาหารประเภทสารตัวนำในอาหารแปรรูป รายชื่อของสารตัวนำที่อนุญาตให้ใช้มีดังนี้ 1.Sucrose acetate isobutyrate (INS.444) 2.Triethyl citrate (INS.1505) 3.Propylene glycol (INS.1520) และ 4.Polyethylene glycol (INS.1521) -ปริมาณสูงสุดของ Carrier ได้ระบุไว้ในภาคผนวก 1 ซึ่งเป็นส่วนสำคัญของระเบียบนี้ -ต้องมีใบรับรองถึงการใช้สารตัวนำในอาหารแปรรูป -ชนิดและวิธีการใช้สารตัวนำ นอกเหนือจากสารที่ระบุในภาคผนวกที่ 1 สามารถใช้ได้ภายหลังการอนุมัติจากหัวหน้า NADFC - สารตัวนำและอาหารที่มีส่วนประกอบของสาร Carrier ที่ได้ผ่านการอนุมัติทางการตลาดแล้วต้องปรับให้สอดคล้องกับระเบียบนี้ภายใน 1 ปีนับจากวันที่ประกาศเป็นกฎหมาย - สารตัวนำและอาหารที่มีส่วนประกอบของสารตัวนำที่ส่งก่อนระเบียบนี้จะดำเนินการขึ้นกับประกาศกฎกระทรวงสาธารณสุข หมายเลขNo.722/Menkes/Per/IX/1988 ที่เกี่ยวกับวัตถุเจือปนอาหารตามที่แก้ไขโดยประกาศกฎกระทรวงสาธารณสุข หมายเลขNo.1168/Menkes/Per/X/1999 โดยจะมีระยะเวลาอนุญาตให้ใช้ 1 ปี
วันที่มีผลบังคับใช้ : 5 เม.ย. 56 (ประกาศในประกาศของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาของอินโดนีเซียหมายเลข 6/2013 ในวันที่ 5 เม.ย. 56 และมีผลบังคับใช้ในวันที่ประกาศ)
ประเทศคู่ค้า




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/83
27 มกราคม 2557
มาตรการปกติ
สินค้าสารป้องกันการเปลื่ยนแปลงสี (Colour retention agent)
สาระสำคัญ : ระเบียบที่เกี่ยวกับปริมาณสูงสูดของการใช้สารป้องกันการ เปลี่ยนแปลงสีในอาหารแปรรูป -รายชื่อของสารป้องกันการเปลื่ยนแปลงสีที่อนุญาตให้ใช้มีดังนี้ 1.Magnesium carbonate (INS.504 (i)) และ 2.Magnesium hydroxide (INS.528) -ปริมาณสูงสุดของสารป้องกันการเปลื่ยนแปลงสีได้ระบุไว้ในภาคผนวก 1 ซึ่งเป็นส่วนสำคัญของระเบียบนี้ -ต้องมีใบรับรองการวิเคราะห์ในการใช้สารป้องกันการ เปลื่ยนแปลงสีในอาหารแปรรูป -ชนิดและวิธีการใช้สารป้องกันการเปลื่ยนแปลงสีนอกเหนือจากสารที่ระบุในภาคผนวกที่ 1 สามารถใช้ได้ภายหลังการอนุมัติจากหัวหน้า NADFC -สารป้องกันการเปลื่ยนแปลงสีและอาหารที่มีส่วนประกอบของสารป้องกันการเปลื่ยนแปลงสีที่ได้ผ่านการอนุมัติทางการตลาดแล้วต้องปรับให้สอดคล้องกับระเบียบนี้ภายใน 1 ปีนับจากวันที่ประกาศเป็นกฎหมาย -สารป้องกันการเปลื่ยนแปลงสีและอาหารที่มีส่วนประกอบของสารป้องกันการเปลื่ยนแปลงสีที่ส่งก่อนระเบียบนี้จะดำเนินการขึ้นกับประกาศกฎกระทรวงสาธารณสุขสาธารณสุข หมายเลข No.722/Menkes/Per/IX/1988 ที่เกี่ยวกับวัตถุเจือปนอาหารตามที่แก้ไขโดยประกาศกฎกระทรวงสาธารณสุขสาธารณสุข หมายเลข No.1168/Menkes/Per/X/1999 โดยจะมีระยะเวลาอนุญาตให้ใช้ 1 ปี
วันที่มีผลบังคับใช้ : 5 เม.ย. 56 (ประกาศในประกาศของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาของอินโดนีเซียหมายเลข 21/2013 ในวันที่ 5 เม.ย. 56 และมีผลบังคับใช้ในวันที่ประกาศ)
ประเทศคู่ค้า




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/76
27 มกราคม 2557
มาตรการปกติ
สินค้าPropellant
สาระสำคัญ : ระเบียบที่เกี่ยวกับปริมาณสูงสูดของการใช้ Propellant ในอาหารแปรรูป รายชื่อของ Propellant ที่อนุญาตให้ใช้มีดังนี้ 1.Nitrogen (INS.941) 2.Dinitrogen monoxide (INS.942) และ 3.Propane (INS.944) -ปริมาณสูงสุดของ Propellant ได้ระบุไว้ในภาคผนวก 1 ซึ่งเป็นส่วนสำคัญของระเบียบนี้ -ต้องมีใบรับรองการวิเคราะห์ในการใช้ Propellant ในอาหารแปรรูป -ชนิดและวิธีการใช้ Propellant นอกเหนือจากสารที่ระบุในภาคผนวกที่ 1 สามารถใช้ได้ภายหลังการอนุมัติจากหัวหน้า NADFC - Propellant และอาหารที่มีส่วนประกอบ Propellant ที่ได้ผ่านการอนุมัติทางการตลาดแล้วต้องปรับให้สอดคล้องกับระเบียบนี้ภายใน 1 ปีนับจากวันที่ประกาศเป็นกฎหมาย - Propellant และอาหารที่มีส่วนประกอบของ Propellant ที่ส่งก่อนระเบียบนี้จะดำเนินการขึ้นกับประกาศกฎกระทรวงสาธารณสุข หมายเลข No.722/Menkes/Per/IX/1988 ที่เกี่ยวกับวัตถุเจือปนอาหารตามที่แก้ไขโดยประกาศกฎกระทรวงสาธารณสุข หมายเลขNo.1168/Menkes/Per/X/1999 โดยจะมีระยะเวลาอนุญาตให้ใช้ 1 ปี
วันที่มีผลบังคับใช้ : 5 เม.ย. 56 (ประกาศในประกาศของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาของอินโดนีเซียหมายเลข 14/2013 ในวันที่ 5 เม.ย. 56 และมีผลบังคับใช้ในวันที่ประกาศ)
ประเทศคู่ค้า




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/69
27 มกราคม 2557
มาตรการปกติ
สินค้าวัตถุเจือปนอาหารที่ใช้ผสมในแป้ง (Flour treatment agent)
สาระสำคัญ : ระเบียบที่เกี่ยวกับปริมาณสูงสูดของการใช้วัตถุเจือปนอาหารที่ใช้ผสมในแป้งในอาหารแปรรูป รายชื่อของวัตถุเจือปนอาหารที่ใช้ผสมในแป้งที่อนุญาตให้ใช้มีดังนี้ 1.L-Ammonium lactate (INS.328) 2.Sodium stearoyl-2-lactylate (INS.481 (i)) 3.Ammonium chloride (INS.510) 4.Calcium sulphate (INS.516) 5.Calcium oxide (INS.529) 6.alpha-Amylase จาก Bacillus licheniformis (carbohydrase) (INS.1100) 7.alpha-Amylase จาก Aspergillus oryzae var. (INS.1100) 8.alpha-Amylase จาก Bacillus stearothermophilus (INS.1100) 9.alpha-Amylase จาก Bacillus stearothermophilus แสดงใน Bacillus subtilis (INS.1100) 10.alpha-Amylase จาก Bacillus subtilis (INS.1100) 11.alpha-Amylase จาก Bacillus megaterium แสดงใน Bacillus subtilis (INS.1100) 12.Protease จาก Aspergillus oryzae var. (INS.1101 (i)) 13.Papain (INS.1101 (ii)) และ 14.Bromelain (INS.1101 (iii)) -ปริมาณสูงสุดของวัตถุเจือปนอาหารที่ใช้ผสมในแป้ง ได้ระบุไว้ในภาคผนวก 1 ซึ่งเป็นส่วนสำคัญของระเบียบนี้ -ต้องมีใบรับรองการวิเคราะห์ในการใช้วัตถุเจือปนอาหารที่ใช้ผสมในแป้ง ในอาหารแปรรูป -ชนิดและวิธีการใช้วัตถุเจือปนอาหารที่ใช้ผสมในแป้ง นอกเหนือจากสารที่ระบุในภาคผนวกที่ 1 สามารถใช้ได้ภายหลังการอนุมัติจากหัวหน้า NADFC -วัตถุเจือปนอาหารที่ใช้ผสมในแป้งและอาหารที่มีส่วนประกอบของสารวัตถุเจือปนอาหารที่ใช้ผสมในแป้ง ที่ได้ผ่านการอนุมัติทางการตลาดแล้วต้องปรับให้สอดคล้องกับระเบียบนี้ภายใน 1 ปีนับจากวันที่ประกาศเป็นกฎหมาย -วัตถุเจือปนอาหารที่ใช้ผสมในแป้งและอาหารที่มีส่วนประกอบของสารวัตถุเจือปนอาหารที่ใช้ผสมในแป้ง ที่ส่งก่อนระเบียบนี้จะดำเนินการขึ้นกับประกาศกฎกระทรวงสาธารณสุข หมายเลขNo.722/Menkes/Per/IX/1988 ที่เกี่ยวกับวัตถุเจือปนอาหารตามที่แก้ไขโดยประกาศกฎกระทรวงสาธารณสุข หมายเลข No.1168/Menkes/Per/X/1999 โดยจะมีระยะเวลาอนุญาตให้ใช้ 1 ปี
วันที่มีผลบังคับใช้ : 5 เม.ย. 56 (ประกาศในประกาศของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาของอินโดนีเซียหมายเลข 7/2013 ในวันที่ 5 เม.ย. 56 และมีผลบังคับใช้ในวันที่ประกาศ)
ประเทศคู่ค้า




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/84
27 มกราคม 2557
มาตรการปกติ
สินค้าสารที่ทำให้เกิดโฟม (Foaming agent)
สาระสำคัญ : ระเบียบที่เกี่ยวกับปริมาณสูงสูดของการใช้สารที่ทำให้เกิดโฟมในอาหารแปรรูป -รายชื่อของสารที่ทำให้เกิดโฟมที่อนุญาตให้ใช้มีดังนี้ 1.Xanthan gum (INS.415) 2.Microcrystalline cellulose (INS.460 (i)) และ 3.Metyl ethyl cellulose (INS.465) -ปริมาณสูงสุดของสารที่ทำให้เกิดโฟมได้ระบุไว้ในภาคผนวก 1 ซึ่งเป็นส่วนสำคัญของระเบียบนี้ -ต้องมีใบรับรองการวิเคราะห์ในการใช้สารที่ทำให้เกิดโฟมในอาหารแปรรูป -ชนิดและวิธีการใช้สารที่ทำให้เกิดโฟมนอกเหนือจากสารที่ระบุในภาคผนวกที่ 1 สามารถใช้ได้ภายหลังการอนุมัติจากหัวหน้า NADFC -สารที่ทำให้เกิดโฟมและอาหารที่มีส่วนประกอบของสารที่ทำให้เกิดโฟมที่ได้ผ่านการอนุมัติทางการตลาดแล้วต้องปรับให้สอดคล้องกับระเบียบนี้ภายใน 1 ปีนับจากวันที่ประกาศเป็นกฎหมาย -สารที่ทำให้เกิดโฟมและอาหารที่มีส่วนประกอบของสารที่ทำให้เกิดโฟมที่ส่งก่อนระเบียบนี้จะดำเนินการขึ้นกับประกาศกฎกระทรวงสาธารณสุขสาธารณสุข หมายเลข No.722/Menkes/Per/IX/1988 ที่เกี่ยวกับวัตถุเจือปนอาหารตามที่แก้ไขโดยประกาศกฎกระทรวงสาธารณสุขสาธารณสุข หมายเลขNo.1168/Menkes/Per/X/1999 โดยจะมีระยะเวลาอนุญาตให้ใช้ 1 ปี
วันที่มีผลบังคับใช้ : 5 เม.ย. 56 (ประกาศในประกาศของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาของอินโดนีเซียหมายเลข 22/2013 ในวันที่ 5 เม.ย. 56 และมีผลบังคับใช้ในวันที่ประกาศ)
ประเทศคู่ค้า




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/77
27 มกราคม 2557
มาตรการปกติ
สินค้าสารที่ทำให้ข้น (Thickener)
สาระสำคัญ : ระเบียบที่เกี่ยวกับปริมาณสูงสูดของการใช้ สารที่ทำให้ข้นในอาหารแปรรูป รายชื่อของสารที่ทำให้ข้นที่อนุญาตให้ใช้มีดังนี้ 1.Calcium acetate (INS.263) 2.Sodium lactate (INS.325) 3.Calcium lactate (INS.327) 4.Alginic acid (INS.400) 5.Sodium alginate (INS.401) 6.Potassium alginate (INS.402) 7.Calcium alginate (INS.404) 8.Propylene glycol alginate (INS.405) 9.Agar (INS.406) 10.Carrageenan(INS.407) 11.Processed eucheuma seaweed (INS.407a) 12.Locust bean gum(INS.410) 13.Guar gum(INS.412) 14.Tragacanth gum (INS.413) 15.Arabic gum (INS.414) 16.Xanthan gum (INS.415) 17.Karaya gum (INS.416) 18.Tara gum (INS.417) 19.Gellan gum (INS.418) 20.Gum ghatti (INS.419) 21.Glycerol (INS.422) 22.Edible gelatin (INS.428) 23.Pectins (INS.440) 24.Glycerol ester of wood rosin (INS.445 (iii)) 25.alpha-Cyclodextrin (INS.457) 26.gamma-Cyclodextrin (INS.458) 27.Microcrystalline cellulose (INS.460 (i)) 28.Powdered cellulose (INS.460 (ii)) 29.Methyl cellulose (INS.461) 30.Ethyl cellulose (INS.462) 31.Hydroxypropyl cellulose (INS.463) 32.Hydroxypropyl methyl cellulose (INS.464) 33.Methyl ethyl cellulose (INS.465) 34.Sodium carboxymethyl cellulose (INS.466) 35.Sodium carboxymethyl cellulose, enzymatically hydrolysed (INS.469) 36.Mono- and di-glycerides of fatty acids (INS.471) 37.Potassium chloride (INS.508) 38.Calcium chloride (INS.509) 39.Calcium sulphate (INS.516) 40.Potassium hydroxide (INS.525) 41.Bromelain (INS.1101 (iii)) 42.Polydextroses (INS.1200) 43.Dextrins (INS.1400) 44.Acid treated starch (INS.1401) 45.Alkaline treated starch (INS.1402) 46.Bleached starch (INS.1403) 47.Oxidized starch (INS.1404) 48.Enzymed treated starch (INS.1405) 49.Mono starch phosphate (INS.1410) 50.Distarch phosphate (INS.1412) 51.Phosphate distarch phosphate (INS.1413) 52.Acetylated Distarch Phosphate (INS.1414) 53.Starch Acetate (INS.1420) 54.Acetylated Distarch Adipate (INS.1422) 55.Hydroxypropyl starch(INS.1440) 56.Hydroxypropyl distarch phosphate (INS.1442)
วันที่มีผลบังคับใช้ : 5 เม.ย. 56 (ประกาศในประกาศของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาของอินโดนีเซียหมายเลข 15/2013 ในวันที่ 5 เม.ย. 56 และมีผลบังคับใช้ในวันที่ประกาศ)
ประเทศคู่ค้า




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/70
27 มกราคม 2557
มาตรการปกติ
สินค้าวัตถุที่ใช้ในการปรับ pH ของอาหารให้มีความเป็นกรด (acidity regulator)
สาระสำคัญ : ระเบียบที่เกี่ยวกับปริมาณสูงสูดของการใช้วัตถุที่ใช้ในการปรับ pH ของอาหารให้มีความเป็นกรดในอาหารแปรรูป รายชื่อของวัตถุที่ใช้ในการปรับ pH ของอาหารให้มีความเป็นกรดที่อนุญาตให้ใช้มีดังนี้ 1.Calcium carbonate (INS.170 (i)) 2.Acetic acid (INS.260) 3.Sodium acetate (INS.262 (i)) 4.Calcium acetate (INS.263) 5.Lactic acid (INS.270) 6.Malic acid (INS.296) 7.Fumaric acid (INS.297) 8.Sodium lactate (INS.325) 9.Potassium lactate (INS.326) 10.Calcium lactate (INS.327) 11.L-ammonium lactate (INS.328) 12.Citric acid and its salts (INS.330-333) 13.Tartaric acid and potassium hydrogen tartrate (INS.334 and 336 (i)) 14.Orthophosphoric acid (INS.338) 15.Sodium hydrogen malate (INS.350 (i)) 16.Sodium malate (INS.350 (ii)) 17.Calcium DL- malate (INS.352 (ii)) 18.Adipic acid and its salts (INS.355-357) 19.Sodium carbonate (INS.500 (i)) 20.Sodium hydrogen carbonate (INS.500 (ii)) 21.Potassium carbonate (INS.501 (i)) 22.Potassium hydrogen carbonate (INS.501 (ii)) 23.Ammonium carbonate (INS.503 (i)) 24.Ammonium hydrogen carbonate (INS.503 (ii)) 25.Magnesium carbonate (INS.504 (i)) 26.Hydrochloric acid (INS.507) 27.Sodium sulphate (INS.514 (i)) 28.Potassium sulphate (INS.515 (ii)) 29.Calcium sulphate (INS.516) 30.Sodium hydroxide (INS.524) 31.Potassium hydroxide (INS.525) 32.Calcium hydroxide (INS.526) 33.Magnesium hydroxide (INS.528) 34.Calcium oxide (INS.575) 35.Glucono delta lactone (INS.575) และ 36.Calcium gluconate (INS.578) -ปริมาณสูงสุดของวัตถุที่ใช้ในการปรับ pH ของอาหารให้มีความเป็นกรดได้ระบุไว้ในภาคผนวก 1 ซึ่งเป็นส่วนสำคัญของระเบียบนี้ -ต้องมีใบรับรองการวิเคราะห์ในการใช้วัตถุที่ใช้ในการปรับ pH ของอาหารให้มีความเป็นกรดในอาหารแปรรูป -ชนิดและวิธีการใช้วัตถุที่ใช้ในการปรับ pH ของอาหารให้มีความเป็นกรดนอกเหนือจากสารที่ระบุในภาคผนวกที่ 1 สามารถใช้ได้ภายหลังการอนุมัติจากหัวหน้า NADFC -วัตถุที่ใช้ในการปรับ pH ของอาหารให้มีความเป็นกรดและอาหารที่มีส่วนประกอบของสารวัตถุที่ใช้ในการปรับ pH ของอาหารให้มีความเป็นกรดที่ได้ผ่านการอนุมัติทางการตลาดแล้วต้องปรับ
วันที่มีผลบังคับใช้ : 5 เม.ย. 56 (ประกาศในประกาศของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาของอินโดนีเซียหมายเลข 8/2013 ในวันที่ 5 เม.ย. 56 และมีผลบังคับใช้ในวันที่ประกาศ)
ประเทศคู่ค้า




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/84
27 มกราคม 2557
มาตรการปกติ
สินค้าสารชูรส (Flavour enhancer)
สาระสำคัญ : ระเบียบที่เกี่ยวกับปริมาณสูงสูดของการใช้สารชูรสในอาหารแปรรูป -รายชื่อของสารชูรสที่อนุญาตให้ใช้มีดังนี้ 1.L-Glutamic acid and its salts (INS.620, 621, 622, 623) 2.Guanylic acid and its salts (INS.626, 627, 628, 629) 3.Inosinic acid and its salts (INS.630, 631, 632, 633) และ 4.Salts of 5-ribonucleotides (INS.634, 635) -ปริมาณสูงสุดของสารชูรสได้ระบุไว้ในภาคผนวก 1 ซึ่งเป็นส่วนสำคัญของระเบียบนี้ -ต้องมีใบรับรองวิเคราะห์ในการใช้สารชูรสในอาหารแปรรูป -ชนิดและวิธีการใช้สารชูรสนอกเหนือจากสารที่ระบุในภาคผนวกที่ 1 สามารถใช้ได้ภายหลังการอนุมัติจากหัวหน้า NADFC -สารชูรสและอาหารที่มีส่วนประกอบของสารชูรสที่ได้ผ่านการอนุมัติทางการตลาดแล้วต้องปรับให้สอดคล้องกับระเบียบนี้ภายใน 1 ปีนับจากวันที่ประกาศเป็นกฎหมาย -สารชูรสและอาหารที่มีส่วนประกอบของสารชูรสที่ส่งก่อนระเบียบนี้จะดำเนินการขึ้นกับประกาศกฎกระทรวงสาธารณสุขสาธารณสุข No.722/Menkes/Per/IX/1988 ที่เกี่ยวกับวัตถุเจือปนอาหารตามที่แก้ไขโดยประกาศกฎกระทรวงสาธารณสุขสาธารณสุขNo.1168/Menkes/Per/X/1999 โดยจะมีระยะเวลาอนุญาตให้ใช้ 1 ปี
วันที่มีผลบังคับใช้ : 5 เม.ย. 56 (ประกาศในประกาศของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาของอินโดนีเซียหมายเลข 23/2013 ในวันที่ 5 เม.ย. 56 และมีผลบังคับใช้ในวันที่ประกาศ)
ประเทศคู่ค้า




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/78
27 มกราคม 2557
มาตรการปกติ
สินค้าเกลืออิมัลซิไฟเออร์
สาระสำคัญ : ระเบียบที่เกี่ยวกับปริมาณสูงสูดของการใช้เกลือ อิมัลซิไฟเออร์ในอาหารแปรรูป รายชื่อของเกลืออิมัลซิไฟเออร์ที่อนุญาตให้ใช้มีดังนี้ 1.Sodium dihydrogen citrate (INS.311 (i)) 2.Trisodium citrate (INS.331 (iii)) 3.Potassium dihydrogen citrate (INS.332 (i)) 4.Tripotassium citrate (INS.332 (ii)) 5.Monosodium orthophosphate (INS.339 (i)) 6.Disodium orthophosphate (INS.339 (ii)) 7.Trisodium orthophosphate (INS.339 (iii)) 8.Monopotassium orthophosphate (INS.340 (i)) 9.Dipotassium orthophosphate (INS.340 (ii)) 10.Tripotassium orthophosphate(INS.340 (iii)) 11.Edible gelatin (INS.428) 12.Disodium diphosphate (INS.450 (i) 13.Tetrasodium diphosphate (INS.450 (iii)) 14.Tetrapotassium diphosphate (INS.450 (v)) 15.Dicalcium diphosphate (INS.450 (vi)) 16.Sodium tripolyphosphate (INS.451 (i)) 17.Potassium tripolyphosphate (INS. 451 (ii)) 18.Sodium polyphosphate (INS. 452 (i)) 19.Potassium polyphosphate (INS.452 (ii)) 20.Calcium polyphosphates (INS.452 (iv)) 21.Acetic and fatty acid esters of glycerol (INS.472a) 22.Lactic and fatty acid esters of glycerol (INS.472b) 23.Citric and fatty acid esters of glycerol (INS.472c) 24.Diacetyltartaric and fatty acid esters of glycerol (INS.472e) และ 25.Sodium gluconate (INS.576) -ปริมาณสูงสุดของเกลืออิมัลซิไฟเออร์ได้ระบุไว้ในภาคผนวก 1 ซึ่งเป็นส่วนสำคัญของระเบียบนี้ -ต้องมีใบรับรองการวิเคราะห์ในการใช้เกลืออิมัลซิไฟเออร์ในอาหารแปรรูป -ชนิดและวิธีการใช้เกลืออิมัลซิไฟเออร์นอกเหนือจากสารที่ระบุในภาคผนวกที่ 1 สามารถใช้ได้ภายหลังการอนุมัติจากหัวหน้า NADFC -เกลืออิมัลซิไฟเออร์และอาหารที่มีส่วนประกอบเกลืออิมัลซิไฟเออร์ที่ได้ผ่านการอนุมัติทางการตลาดแล้วต้องปรับให้สอดคล้องกับระเบียบนี้ภายใน 1 ปีนับจากวันที่ประกาศเป็นกฎหมาย -เกลืออิมัลซิไฟเออร์และอาหารที่มีส่วนประกอบของ เกลืออิมัลซิไฟเออร์ที่ส่งก่อนระเบียบนี้จะดำเนินการขึ้นกับประกาศกฎกระทรวงสาธารณสุข หมายเลขNo.722/Menkes/Per/IX/1988 ที่เกี่ยวกับวัตถุเจือปนอาหารตามที่แก้ไขโดยประกาศกฎกระทรวงสาธารณสุข หมายเลข No.1168/Menkes/Per/X/1999 โดยจะมีระยะเวลาอนุญาตให้ใช้ 1 ปี
วันที่มีผลบังคับใช้ : 5 เม.ย. 56 (ประกาศในประกาศของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาของอินโดนีเซียหมายเลข 16/2013 ในวันที่ 5 เม.ย. 56 และมีผลบังคับใช้ในวันที่ประกาศ)
ประเทศคู่ค้า




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/68
27 มกราคม 2557
มาตรการปกติ
สินค้าวัตถุเจือปนอาหาร สารตัวนำ (Carrier)
สาระสำคัญ : ระเบียบที่เกี่ยวกับปริมาณสูงสูดของการใช้วัตถุเจือปนอาหารประเภทสารตัวนำในอาหารแปรรูป รายชื่อของสารตัวนำที่อนุญาตให้ใช้มีดังนี้ 1.Sucrose acetate isobutyrate (INS.444) 2.Triethyl citrate (INS.1505) 3.Propylene glycol (INS.1520) และ 4.Polyethylene glycol (INS.1521) -ปริมาณสูงสุดของ Carrier ได้ระบุไว้ในภาคผนวก 1 ซึ่งเป็นส่วนสำคัญขอ
วันที่มีผลบังคับใช้ :





อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/86
27 มกราคม 2557
มาตรการปกติ
สินค้าสารที่ทำให้คงตัว (Stabilizer)
สาระสำคัญ : ระเบียบที่เกี่ยวกับปริมาณสูงสูดของการใช้สารที่ทำให้คงตัวในอาหารแปรรูป -รายชื่อของสารที่ทำให้คงตัวที่อนุญาตให้ใช้ระบุอยู่ในบทความที่ 3 -ปริมาณสูงสุดของสารที่ทำให้คงตัวได้ระบุไว้ในภาคผนวก 1 ซึ่งเป็นส่วนสำคัญของระเบียบนี้ -ต้องมีใบรับรองการวิเคราะห์ในการใช้สารที่ทำให้คงตัวในอาหารแปรรูป -ชนิดและวิธีการใช้สารที่ทำให้คงตัวนอกเหนือจากสารที่ระบุในภาคผนวกที่ 1 สามารถใช้ได้ภายหลังการอนุมัติจากหัวหน้า NADFC -สารที่ทำให้คงตัวและอาหารที่มีส่วนประกอบสารที่ทำให้คงตัวที่ได้ผ่านการอนุมัติทางการตลาดแล้วต้องปรับให้สอดคล้องกับระเบียบนี้ภายใน 1 ปีนับจากวันที่ประกาศเป็นกฎหมาย - สารที่ทำให้คงตัวและอาหารที่มีส่วนประกอบของสารที่ทำให้คงตัวที่ส่งก่อนระเบียบนี้จะดำเนินการขึ้นกับประกาศกฎกระทรวงสาธารณสุขสาธารณสุข หมายเลขNo.722/Menkes/Per/IX/1988 ที่เกี่ยวกับวัตถุเจือปนอาหารตามที่แก้ไขโดยประกาศกฎกระทรวงสาธารณสุขสาธารณสุข หมายเลข No.1168/Menkes/Per/X/1999 โดยจะมีระยะเวลาอนุญาตให้ใช้ 1 ปี
วันที่มีผลบังคับใช้ : 6 พ.ค. 56 (ประกาศในประกาศของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาของอินโดนีเซียหมายเลข 24/2013 ในวันที่ 6 พ.ค. 56 และมีผลบังคับใช้ในวันที่ประกาศ)
ประเทศคู่ค้า




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/79
27 มกราคม 2557
มาตรการปกติ
สินค้าPackaging gas
สาระสำคัญ : ระเบียบที่เกี่ยวกับปริมาณสูงสูดของการใช้ Packaging gas ในอาหารแปรรูป รายชื่อของ Packaging gas ที่อนุญาตให้ใช้มีดังนี้ 1.Carbon dioxide (INS.290) และ 2.Nitrogen (INS.941) -ปริมาณสูงสุดของ Packaging gas ได้ระบุไว้ในภาคผนวก 1 ซึ่งเป็นส่วนสำคัญของระเบียบนี้ -ต้องมีใบรับรองการวิเคราะห์ในการใช้ Packaging gas ในอาหารแปรรูป -ชนิดและวิธีการใช้ Packaging gas นอกเหนือจากสารที่ระบุในภาคผนวกที่ 1 สามารถใช้ได้ภายหลังการอนุมัติจากหัวหน้า NADFC -Packaging gas และอาหารที่มีส่วนประกอบ Packaging gas ที่ได้ผ่านการอนุมัติทางการตลาดแล้วต้องปรับให้สอดคล้องกับระเบียบนี้ภายใน 1 ปีนับจากวันที่ประกาศเป็นกฎหมาย - Packaging gas และอาหารที่มีส่วนประกอบของ Packaging gas ที่ส่งก่อนระเบียบนี้จะดำเนินการขึ้นกับประกาศกฎกระทรวงสาธารณสุข หมายเลขNo.722/Menkes/Per/IX/1988 ที่เกี่ยวกับวัตถุเจือปนอาหารตามที่แก้ไขโดยประกาศกฎกระทรวงสาธารณสุข หมายเลข No.1168/Menkes/Per/IX/1999 โดยจะมีผลบังคับใช้ภายใน 1 ปี
วันที่มีผลบังคับใช้ : 5 เม.ย. 56 (ประกาศในประกาศของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาของอินโดนีเซียหมายเลข 17/2013 ในวันที่ 5 เม.ย. 56 และมีผลบังคับใช้ในวันที่ประกาศ)
ประเทศคู่ค้า




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/71
27 มกราคม 2557
มาตรการปกติ
สินค้าสารที่ช่วยให้เนื้อแน่นและกรอบ (Firming agent)
สาระสำคัญ : ระเบียบที่เกี่ยวกับปริมาณสูงสูดของการใช้สารที่ช่วยให้เนื้อแน่นและกรอบในอาหารแปรรูป รายชื่อของสารที่ช่วยให้เนื้อแน่นและกรอบที่อนุญาตให้ใช้มีดังนี้ 1.Calcium lactate (INS.327) 2.Tricalcium citrate (INS.333 (iii)) 3.Potassium chloride (INS.508) 4.Calcium chloride (INS.509) 5.Calcium sulphate (INS.516) และ 6.Calcium gluconate (INS.578) -ปริมาณสูงสุดของสารที่ช่วยให้เนื้อแน่นและกรอบ ได้ระบุไว้ในภาคผนวก 1 ซึ่งเป็นส่วนสำคัญของระเบียบนี้ -ต้องมีใบรับรองการวิเคราะห์ในการใช้สารที่ช่วยให้เนื้อแน่นและกรอบ ในอาหารแปรรูป -ชนิดและวิธีการใช้สารที่ช่วยให้เนื้อแน่นและกรอบ นอกเหนือจากสารที่ระบุในภาคผนวกที่ 1 สามารถใช้ได้ภายหลังการอนุมัติจากหัวหน้า NADFC -สารที่ช่วยให้เนื้อแน่นและกรอบและอาหารที่มีส่วนประกอบของสารที่ช่วยให้เนื้อแน่นและกรอบ ที่ได้ผ่านการอนุมัติทางการตลาดแล้วต้องปรับให้สอดคล้องกับระเบียบนี้ภายใน 1 ปีนับจากวันที่ประกาศเป็นกฎหมาย -สารที่ช่วยให้เนื้อแน่นและกรอบและอาหารที่มีส่วนประกอบของสารที่ช่วยให้เนื้อแน่นและกรอบที่ส่งก่อนระเบียบนี้จะดำเนินการขึ้นกับประกาศกฎกระทรวงสาธารณสุข หมายเลข No.722/Menkes/Per/IX/1988 ที่เกี่ยวกับวัตถุเจือปนอาหารตามที่แก้ไขโดยประกาศกฎกระทรวงสาธารณสุข หมายเลขNo.1168/Menkes/Per/X/1999 โดยจะมีระยะเวลาอนุญาตให้ใช้ 1 ปี
วันที่มีผลบังคับใช้ : 5 เม.ย. 56 (ประกาศในประกาศของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาของอินโดนีเซียหมายเลข 9/2013 ในวันที่ 5 เม.ย. 56 และมีผลบังคับใช้ในวันที่ประกาศ)
ประเทศคู่ค้า




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/87
27 มกราคม 2557
มาตรการปกติ
สินค้าสารเพิ่มปริมาณ (Bulking agent)
สาระสำคัญ : ระเบียบที่เกี่ยวกับปริมาณสูงสูดของการใช้สารเพิ่มปริมาณในอาหารแปรรูป -รายชื่อของสารเพิ่มปริมาณที่อนุญาตให้ใช้มีดังนี้ 1.Sodium lactate (INS.325) 2.Alginic acid (INS.400) 3.Sodium alginate (INS.401) 4.Propylene glycol alginate (INS.405) 5.Agar (INS.406) 6.Carrageenan (INS.407) 7.Guar gum (INS.412) 8.Tragacanth gum (INS.413) 9.Arabic gum (INS.414) 10.Karaya gum (INS.416) 11.Glycerol ester of wood rosin (INS.445 (iii)) 12.Microcrystalline cellulose (INS.460 (i)) 13.Powdered cellulose (INS.460 (ii)) 14.Methyl cellulose (INS.461) 15.Ethyl cellulose (INS.462) 16.Hydroxypropyl methyl cellulose (INS.464) 17.Sodium carboxymethyl cellulose (INS.466) 18.Mono- and di-glycerides of fatty acids (INS.471) 19.Calcium sulphate (INS.516) 20.Polydextroses (INS.1200) 21.Acid treated starch (INS.1401) 22.Alkaline treated starch (INS.1402) 23.Bleached starch (INS.1403) 24.Oxidized starch (INS.1404) 25.Enzymed treated starch (INS.1405) 26.Mono starch phosphate (INS.1410) 27.Distarch phosphate (INS.1412) 28.Phosphate distarch phosphate (INS.1413) 29.Acetylated distrarch phosphate (INS.1414) 30.Acetylated distarch adipate (INS.1422) 31.Hydroxypropyl starch (INS.1440) และ 32.Hydroxypropyl distarch phosphate (INS.1442) -ปริมาณสูงสุดของสารเพิ่มปริมาณได้ระบุไว้ในภาคผนวก 1 ซึ่งเป็นส่วนสำคัญของระเบียบนี้ -ต้องมีใบรับรองการวิเคราะห์ในการใช้สารเพิ่มปริมาณในอาหารแปรรูป -ชนิดและวิธีการใช้สารเพิ่มปริมาณนอกเหนือจากสารที่ระบุในภาคผนวกที่ 1 สามารถใช้ได้ภายหลังการอนุมัติจากหัวหน้า NADFC -สารเพิ่มปริมาณและอาหารที่มีส่วนประกอบสารเพิ่มปริมาณที่ได้ผ่านการอนุมัติทางการตลาดแล้วต้องปรับให้สอดคล้องกับระเบียบนี้ภายใน 1 ปีนับจากวันที่ประกาศเป็นกฎหมาย - สารเพิ่มปริมาณและอาหารที่มีส่วนประกอบของสารเพิ่มปริมาณที่ส่งก่อนระเบียบนี้จะดำเนินการขึ้นกับประกาศกฎกระทรวงสาธารณสุขสาธารณสุข หมายเลขNo.722/Menkes/Per/IX/1988 ที่เกี่ยวกับวัตถุเจือปนอาหารตามที่แก้ไขโดยประกาศกฎกระทรวงสาธารณสุขสาธารณสุขหมายเลข No.1168/Menkes/Per/X/1999 โดยจะมีระยะเวลาอนุญาตให้ใช้ 1 ปี
วันที่มีผลบังคับใช้ : 6 พ.ค. 56 (ประกาศในประกาศของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาของอินโดนีเซียหมายเลข 25/2013 ในวันที่ 6 พ.ค. 56 และมีผลบังคับใช้ในวันที่ประกาศ)
ประเทศคู่ค้า




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/80
27 มกราคม 2557
มาตรการปกติ
สินค้าSequestrant
สาระสำคัญ : ระเบียบที่เกี่ยวกับปริมาณสูงสูดของการใช้ Sequestrant ในอาหารแปรรูป รายชื่อของ Sequestrant ที่อนุญาตให้ใช้มีดังนี้ 1.Calcium disodium ethylene diamine tetra acetate (INS.385) 2.Isopropyl citrates (INS.384) 3.Sodium gluconate (INS.576) และ 4.Potassium gluconate (INS.577) -ปริมาณสูงสุดของ Sequestrant ได้ระบุไว้ในภาคผนวก 1 ซึ่งเป็นส่วนสำคัญของระเบียบนี้ -ต้องมีใบรับรองการวิเคราะห์ในการใช้ Sequestrant ในอาหารแปรรูป -ชนิดและวิธีการใช้ Sequestrant นอกเหนือจากสารที่ระบุในภาคผนวกที่ 1 สามารถใช้ได้ภายหลังการอนุมัติจากหัวหน้า NADFC - Sequestrant และอาหารที่มีส่วนประกอบ Sequestrant ที่ได้ผ่านการอนุมัติทางการตลาดแล้วต้องปรับให้สอดคล้องกับระเบียบนี้ภายใน 1 ปีนับจากวันที่ประกาศเป็นกฎหมาย - Sequestrantและอาหารที่มีส่วนประกอบของ Sequestrant ที่ส่งก่อนระเบียบนี้จะดำเนินการขึ้นกับประกาศกฎกระทรวงสาธารณสุข หมายเลขNo.722/Menkes/Per/IX/1988 ที่เกี่ยวกับวัตถุเจือปนอาหารตามที่แก้ไขโดยประกาศกฎกระทรวงสาธารณสุข หมายเลข No.1168/Menkes/Per/X/1999 โดยจะมีระยะเวลาอนุญาตให้ใช้ 1 ปี
วันที่มีผลบังคับใช้ : 5 เม.ย. 56 (ประกาศในประกาศของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาของอินโดนีเซียหมายเลข 18/2013 ในวันที่ 5 เม.ย. 56 และมีผลบังคับใช้ในวันที่ประกาศ)
ประเทศคู่ค้า




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/72
27 มกราคม 2557
มาตรการปกติ
สินค้าสารกันการรวมตัวเป็นก้อน (anticaking agent)
สาระสำคัญ : ระเบียบที่เกี่ยวกับปริมาณสูงสูดของการใช้สารกันการรวมตัวเป็นก้อนในอาหารแปรรูป รายชื่อของสารกันการรวมตัวเป็นก้อนที่อนุญาตให้ใช้มีดังนี้ 1.Calcium carbonate (INS.170 (i)) 2.Tricalcium orthophosphate (INS.341 (iii)) 3.Microcrystalline cellulose (INS.460 (i) 4.Powdered cellulose (INS.460 (ii) 5.Myristic, palmitic and stearic acids และเกลือ(INS.470 (i), 470 (iii) 6.Salts of oleic acid กับ calcium, potassium และ sodium (INS.470 (ii)) 7.Sodium carbonate (INS.500 (i)) 8.Magnesium carbonate (INS.504 (i)) 9.Magnesium oxide (INS.530) 10.Sodium ferrocyanide (INS.535) 11.Potassium ferrocyanide (INS.536) 12.Calcium ferrocyanide (INS.538) 13.Silicon dioxide, amorphous (INS.551) 14.Calcium silicate (INS.552) 15.Sodium aluminosilicate (INS.554) และ 16.Magnesium silicate (INS.553 (i)) -ปริมาณสูงสุดของสารกันการรวมตัวเป็นก้อนได้ระบุไว้ในภาคผนวก 1 ซึ่งเป็นส่วนสำคัญของระเบียบนี้ -ต้องมีใบรับรองถึงการใช้สารกันการรวมตัวเป็นก้อนในอาหารแปรรูป -ชนิดและวิธีการใช้สารกันการรวมตัวเป็นก้อนนอกเหนือจากสารที่ระบุในภาคผนวกที่ 1 สามารถใช้ได้ภายหลังการอนุมัติจากหัวหน้า NADFC -สารกันการรวมตัวเป็นก้อนและอาหารที่มีส่วนประกอบของสารกันการรวมตัวเป็นก้อนที่ได้ผ่านการอนุมัติทางการตลาดแล้วต้องปรับให้สอดคล้องกับระเบียบนี้ภายใน 1 ปีนับจากวันที่ประกาศเป็นกฎหมาย -สารกันการรวมตัวเป็นก้อนและอาหารที่มีส่วนประกอบของสารกันการรวมตัวเป็นก้อนที่ส่งก่อนระเบียบนี้จะดำเนินการขึ้นกับประกาศกฎกระทรวงสาธารณสุข หมายเลข No.722/Menkes/Per/IX/1988 ที่เกี่ยวกับวัตถุเจือปนอาหารตามที่แก้ไขโดยประกาศกฎกระทรวงสาธารณสุข หมายเลข No.1168/Menkes/Per/X/1999 โดยจะมีระยะเวลาอนุญาตให้ใช้ 1 ปี
วันที่มีผลบังคับใช้ : 5 เม.ย. 56 (ประกาศในประกาศของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาของอินโดนีเซียหมายเลข 10/2013 ในวันที่ 5 เม.ย. 56 และมีผลบังคับใช้ในวันที่ประกาศ)
ประเทศคู่ค้า




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/73
27 มกราคม 2557
มาตรการปกติ
สินค้าสารที่ทำให้ขึ้นฟู (raising agent)
สาระสำคัญ : ระเบียบที่เกี่ยวกับปริมาณสูงสูดของการใช้สารที่ทำให้ขึ้นฟูในอาหารแปรรูป รายชื่อของสารที่ทำให้ขึ้นฟูที่อนุญาตให้ใช้มีดังนี้ 1.Sodium carbonate (INS.500 (i)) 2.Sodium hydrogen carbonate (INS.500 (ii)) 3.Potassium hydrogen carbonate (INS.501 (ii)) 4.Ammonium carbonate (INS.503 (i)) 5.Ammonium hydrogen carbonate (INS.503 (ii)) 6.Sodium aluminium phosphate (INS.541 (i)) 7.Glucono delta lactone (INS.575) 8.Dextrins (INS.1400) และ 9.Starch acetate (INS.1420) -ปริมาณสูงสุดของสารที่ทำให้ขึ้นฟูได้ระบุไว้ในภาคผนวก 1 ซึ่งเป็นส่วนสำคัญของระเบียบนี้ -ต้องมีใบรับรองการวิเคราะห์ในการใช้สารที่ทำให้ขึ้นฟูในอาหารแปรรูป -ชนิดและวิธีการใช้สารที่ทำให้ขึ้นฟูนอกเหนือจากสารที่ระบุในภาคผนวกที่ 1 สามารถใช้ได้ภายหลังการอนุมัติจากหัวหน้า NADFC -สารที่ทำให้ขึ้นฟูและอาหารที่มีส่วนประกอบของสารที่ทำให้ขึ้นฟูที่ได้ผ่านการอนุมัติทางการตลาดแล้วต้องปรับให้สอดคล้องกับระเบียบนี้ภายใน 1 ปีนับจากวันที่ประกาศเป็นกฎหมาย -สารที่ทำให้ขึ้นฟูและอาหารที่มีส่วนประกอบของสารที่ทำให้ขึ้นฟูที่ส่งก่อนระเบียบนี้จะดำเนินการขึ้นกับระเบียบของประกาศกฎกระทรวงสาธารณสุข หมายเลขNo.722/Menkes/Per/IX/1988 ที่เกี่ยวกับวัตถุเจือปนอาหารตามที่แก้ไขโดยระเบียบของประกาศกฎกระทรวงสาธารณสุข หมายเลข No.1168/Menkes/Per/X/1999 โดยจะมีระยะเวลาอนุญาตให้ใช้ 1 ปี
วันที่มีผลบังคับใช้ : 5 เม.ย. 56 (ประกาศในประกาศของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาของอินโดนีเซียหมายเลข 11/2013 ในวันที่ 5 เม.ย. 56 และมีผลบังคับใช้ในวันที่ประกาศ)
ประเทศคู่ค้า




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/66
27 มกราคม 2557
มาตรการปกติ
สินค้าวัตถุเจือปนอาหารประเภทสารที่ให้ก๊าซคาร์บอนได ออกไซด์
สาระสำคัญ : ระเบียบที่เกี่ยวกับปริมาณสูงสูดของการใช้วัตถุเจือปนอาหารประเภทสารที่ให้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในอาหารแปรรูปดังนี้ -ชื่อของสารที่ให้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่อนุญาตให้ใช้ในอาหารได้แก่ คาร์บอนไดออกไซด์ (INS 290) -ปริมาณสูงสุดของสารที่ให้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้ระบุไว้ในภาคผนวก 1 ซึ่งเป็นส่วนสำคัญของระเบียบนี้ -ต้องมีใบรับรองการวิเคราะห์ในการใช้สารที่ให้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในอาหารแปรรูป -ชนิดและวิธีการใช้สารที่ให้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์นอกเหนือจากสารที่ระบุในภาคผนวกที่ 1 สามารถใช้ได้ภายหลังการอนุมัติจากหัวหน้า NADFC - สารที่ให้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และอาหารที่มีส่วนประกอบของสารที่ให้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่ได้ผ่านการอนุมัติทางการตลาดแล้วต้องปรับปรุงให้สอดคล้องกับระเบียบนี้ภายใน 1 ปีนับจากวันที่ประกาศเป็นกฎหมาย - สารที่ให้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และอาหารที่มีส่วนประกอบของสารที่ให้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่ส่งก่อนระเบียบนี้จะดำเนินการขึ้นกับประกาศกฎกระทรวงสาธารณสุข หมายเลข No.722/Menkes/Per/IX/1988 ที่เกี่ยวกับวัตถุเจือปนอาหารตามที่แก้ไขโดยประกาศกฎกระทรวงสาธารณสุข หมายเลขNo.1168/Menkes/Per/X/1999 โดยจะมีระยะเวลาอนุญาตให้ใช้ 1 ปี
วันที่มีผลบังคับใช้ : 5 เม.ย. 56 (ประกาศในประกาศของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาของอินโดนีเซียหมายเลข 4/2013 ในวันที่ 5 เม.ย. 56 และมีผลบังคับใช้ในวันที่ประกาศ)
ประเทศคู่ค้า




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/88
27 มกราคม 2557
มาตรการปกติ
สินค้าสารให้สี (Colouring agent)
สาระสำคัญ : ระเบียบที่เกี่ยวกับปริมาณสูงสูดของการใช้สารให้สีในอาหารแปรรูป -รายชื่อของสารให้สีที่อนุญาตให้ใช้มีดังนี้ a.สีธรรมชาติ 1.Kurkumin CI. No. 75300 (Curcumin) 2.Riboflavin (Riboflavins) 3.Karmin dan ekstrak cochineal CI. No. 75470 (Carmines and cochineal extract) 4.Klorofil CI. No. 75810 (Chlorophyll) 5.Klorofil dan klorofilin tembaga kompleks CI. No. 75810 (Chlorophylls and chlorophyllins, copper complexes) 6.Karamel I (Caramel I plain) 7.Karamel III amonia proses (Caramel III ammonia process) 8.Karamel IV amonia sulfit proses (Caramel IV-sulphite ammonia process) 9.Karbon tanaman CI. 77266 (Vegetable carbon) 10.Beta-karoten (sayuran) CI. No. 75130 (Carotenes, beta (vegetable)) 11.Ekstrak anato CI. No. 75120 (berbasis bixin) (Annatto extracts, bixin based) 12.Karotenoid (Carotenoids) 13.Merah bit (Beet red) 14.Antosianin (Anthocyanins) และ 15.Titanium dioksida CI. No. 77891 (Titanium dioxide) b.สีสังเคราะห์ 1.Tartrazin CI. No. 19140 (Tartrazine) 2.Kuning kuinolin CI. No. 47005 (Quinoline yellow) 3.Kuning FCF CI. No. 15985 (Sunset yellow FCF) 4.Karmoisin CI. No. 14720 (Azorubine (carmoisine)) 5.Ponceau 4R CI. No. 16255 (Ponceau 4R(cochineal red A)) 6.Eritrosin CI. No. 45430 (Erythrosine) 7.Merah allura CI. No. 16035 (Allura red AC) 8.Indigotin CI. No. 73015 (Indigotine(indigo carmine)) 9.Biru berlian FCF CI No. 42090 (Brilliant blue FCF) 10.Hijau FCF CI. No. 42053 (Fastgreen FCF) และ 11.Coklat HT CI. No. 20285 (Brown HT) -ปริมาณสูงสุดของสารเพิ่มปริมาณได้ระบุไว้ในภาคผนวก 1 ซึ่งเป็นส่วนสำคัญของระเบียบนี้ -ต้องมีใบรับรองการวิเคราะห์ในการใช้สารให้สีในอาหารแปรรูป -ชนิดและวิธีการใช้สารให้สีนอกเหนือจากสารที่ระบุในภาคผนวกที่ 1 สามารถใช้ได้ภายหลังการอนุมัติจากหัวหน้า NADFC -สารให้สีและอาหารที่มีส่วนประกอบสารให้สีที่ได้ผ่านการอนุมัติทางการตลาดแล้วต้องปรับให้สอดคล้องกับระเบียบนี้ภายใน 1 ปีนับจากวันที่ประกาศเป็นกฎหมาย - สารให้สีและอาหารที่มีส่วนประกอบของสารให้สีที่ส่งก่อนระเบียบนี้จะดำเนินการขึ้นกับประกาศกฎกระทรวงสาธารณสุข หมายเลข No.722/Menkes/Per/
วันที่มีผลบังคับใช้ : 5 มิ.ย. 56 (ประกาศในประกาศของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาของอินโดนีเซียหมายเลข 37/2013 ในวันที่ 5 มิ.ย. 56 และมีผลบังคับใช้ในวันที่ประกาศ)
ประเทศคู่ค้า




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/81
27 มกราคม 2557
มาตรการปกติ
สินค้าสารที่ทำให้เกิดเจล (Gelling agent)
สาระสำคัญ : ระเบียบที่เกี่ยวกับปริมาณสูงสูดของการใช้สารที่ทำให้เกิดเจลในอาหารแปรรูป รายชื่อของสารที่ทำให้เกิดเจลอนุญาตให้ใช้มีดังนี้ 1.Alginic acid (INS.400) 2.Sodium alginate (INS.401) 3.Potassium alginate (INS.402) 4.Calcium alginate (INS.404) 5.Agar (INS.406) 6.Carrageenan (INS.407) 7.Processed eucheuma seaweed (INS.407a) 8.Gellan gum (INS.418) 9.Edible gelatin (INS.428) และ 10.Pectins (INS.440) -ปริมาณสูงสุดของสารที่ทำให้เกิดเจลได้ระบุไว้ในภาคผนวก 1 ซึ่งเป็นส่วนสำคัญของระเบียบนี้ -ต้องมีใบรับรองการวิเคราะห์การใช้สารที่ทำให้เกิดเจลในอาหารแปรรูป -ชนิดและวิธีการใช้สารที่ทำให้เกิดเจลนอกเหนือจากสารที่ระบุในภาคผนวกที่ 1 สามารถใช้ได้ภายหลังการอนุมัติจากหัวหน้า NADFC -สารที่ทำให้เกิดเจลและอาหารที่มีส่วนประกอบสารที่ทำให้เกิดเจลที่ได้ผ่านการอนุมัติทางการตลาดแล้วต้องปรับให้สอดคล้องกับระเบียบนี้ภายใน 1 ปีนับจากวันที่ประกาศเป็นกฎหมาย - สารที่ทำให้เกิดเจลและอาหารที่มีส่วนประกอบของ สารที่ทำให้เกิดเจลที่ส่งก่อนระเบียบนี้จะดำเนินการขึ้นกับประกาศกฎกระทรวงสาธารณสุข หมายเลขNo.722/Menkes/Per/IX/1988 ที่เกี่ยวกับวัตถุเจือปนอาหารตามที่แก้ไขโดยประกาศกฎกระทรวงสาธารณสุข หมายเลขNo.1168/Menkes/Per/X/1999 โดยจะมีระยะเวลาอนุญาตให้ใช้ 1 ปี
วันที่มีผลบังคับใช้ : 5 เม.ย. 56 (ประกาศในประกาศของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาของอินโดนีเซียหมายเลข 19/2013 ในวันที่ 5 เม.ย. 56 และมีผลบังคับใช้ในวันที่ประกาศ)
ประเทศคู่ค้า




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/74
27 มกราคม 2557
มาตรการปกติ
สินค้าสารเคลือบผิว (Glazing agent )
สาระสำคัญ : ระเบียบที่เกี่ยวกับปริมาณสูงสูดของการใช้สารเคลือบผิวในอาหารแปรรูป รายชื่อของสารเคลือบผิวที่อนุญาตให้ใช้มีดังนี้ 1.Beeswax (INS.901) 2.Candelilla Wax Potassium Lactate (INS.902) 3.Carnauba Wax (INS.903) 4.Shellac (INS.904) และ 5.Microcrystaline Wax (INS.905c(i)) -ปริมาณสูงสุดของสารเคลือบผิวได้ระบุไว้ในภาคผนวก 1 ซึ่งเป็นส่วนสำคัญของระเบียบนี้ -ต้องมีใบรับรองการวิเคราะห์ในการใช้สารที่ทำให้ขึ้นฟูในอาหารแปรรูป -ชนิดและวิธีการใช้สารเคลือบผิวนอกเหนือจากสารที่ระบุในภาคผนวกที่ 1 สามารถใช้ได้ภายหลังการอนุมัติจากหัวหน้า NADFC -สารเคลือบผิวและอาหารที่มีส่วนประกอบของสารเคลือบผิวที่ได้ผ่านการอนุมัติทางการตลาดแล้วต้องปรับให้สอดคล้องกับระเบียบนี้ภายใน 1 ปีนับจากวันที่ประกาศเป็นกฎหมาย -สารเคลือบผิวและอาหารที่มีส่วนประกอบของสารเคลือบผิวที่ส่งก่อนระเบียบนี้จะดำเนินการขึ้นกับประกาศกฎกระทรวงสาธารณสุข หมายเลขNo.722/Menkes/Per/IX/1988 ที่เกี่ยวกับวัตถุเจือปนอาหารตามที่แก้ไขโดยประกาศกฎกระทรวงสาธารณสุข หมายเลข No.1168/Menkes/Per/X/1999 โดยจะมีระยะเวลาอนุญาตให้ใช้ 1 ปี
วันที่มีผลบังคับใช้ : 5 เม.ย. 56 (ประกาศในประกาศของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาของอินโดนีเซียหมายเลข 12/2013 ในวันที่ 5 เม.ย. 56 และมีผลบังคับใช้ในวันที่ประกาศ)
ประเทศคู่ค้า




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/67
27 มกราคม 2557
มาตรการปกติ
สินค้าวัตถุเจือปนอาหาร สารคงความชื้น (humectant)
สาระสำคัญ : ระเบียบที่เกี่ยวกับปริมาณสูงสูดของการใช้วัตถุเจือปนอาหาร สารคงความชื้น (humectant) ในอาหารแปรรูป รายชื่อของ humectant ที่อนุญาตให้ใช้มีดังนี้ 1.Sodium Lactate (INS.325) 2.Potassium Lactate (INS.326) 3.Sodium Hydrogen Malate (INS.350 (i)) 4.Sodium Malate (INS.350 (ii)) 5.Glyserols (INS.422) 6.Polydextroses (INS.1200) และ 7.Triacetin (INS.1518) -ปริมาณสูงสุดของ Humectant ได้ระบุไว้ในภาคผนวก 1 ซึ่งเป็นส่วนสำคัญของระเบียบนี้ -ต้องมีใบรับรองการวิเคราะห์ในการใช้ Humectant ในอาหารแปรรูป -ชนิดและวิธีการใช้ Humectant นอกเหนือจากสารที่ระบุในภาคผนวกที่ 1 สามารถใช้ได้ภายหลังการอนุมัติจากหัวหน้า NADFC - Humectant และอาหารที่มีส่วนประกอบของสาร Humectant ที่ได้ผ่านการอนุมัติทางการตลาดแล้วต้องปรับให้สอดคล้องกับระเบียบนี้ภายใน 1 ปีนับจากวันที่ประกาศเป็นกฎหมาย - Humectant และอาหารที่มีส่วนประกอบของสาร Humectant ที่ส่งก่อนระเบียบนี้จะดำเนินการขึ้นกับประกาศกฎกาศกระทรวงสาธารณสุข หมายเลขNo.722/Menkes/Per/IX/1988 ที่เกี่ยวกับวัตถุเจือปนอาหารตามที่แก้ไขโดยประกาศกฎกระทรวงสาธารณสุข หมายเลขNo.1168/Menkes/Per/X/1999 โดยจะมีระยะเวลาอนุญาตให้ใช้ 1 ปี
วันที่มีผลบังคับใช้ : 5 เม.ย. 56 (ประกาศในประกาศของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาของอินโดนีเซียหมายเลข 5/2013 ในวันที่ 5 เม.ย. 56 และมีผลบังคับใช้ในวันที่ประกาศ)
ประเทศคู่ค้า




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/89
27 มกราคม 2557
มาตรการปกติ
สินค้าAntioxidant
สาระสำคัญ : ระเบียบที่เกี่ยวกับปริมาณสูงสูดของการใช้ Antioxidant ในอาหารแปรรูป -รายชื่อของ Antioxidant ที่อนุญาตให้ใช้มีดังนี้ 1.Ascorbic acid 2.Sodium ascorbate 3.Calcium ascorbate 4.Potassium ascorbate 5.Ascorbyl palmitate 6.Ascorbyl stearate 7.Tocopherol 8.Propyl gallate 9.Erythorbic acid 10.Sodium erythorbate 11.Tertiary butylhydroquinone (TBHQ) 12.Butylated hydroxyanisole (BHA) และ 13.Butylated hydroxytoluene (BHT) -ปริมาณสูงสุดของ Antioxidant ได้ระบุไว้ในภาคผนวก 1 ซึ่งเป็นส่วนสำคัญของระเบียบนี้ -ต้องมีใบรับรองการวิเคราะห์ในการใช้ Antioxidant ในอาหารแปรรูป -ชนิดและวิธีการใช้ Antioxidant นอกเหนือจากสารที่ระบุในภาคผนวกที่ 1 สามารถใช้ได้ภายหลังการอนุมัติจากหัวหน้า NADFC -Antioxidant และอาหารที่มีส่วนประกอบของ Antioxidant ที่ได้ผ่านการอนุมัติทางการตลาดแล้วต้องปรับให้สอดคล้องกับระเบียบนี้ภายใน 1 ปีนับจากวันที่ประกาศเป็นกฎหมาย - Antioxidant และอาหารที่มีส่วนประกอบของ Antioxidant ที่ส่งก่อนระเบียบนี้จะดำเนินการขึ้นกับประกาศกฎกระทรวงสาธารณสุข หมายเลข No.722/Menkes/Per/IX/1988 ที่เกี่ยวกับวัตถุเจือปนอาหารตามที่แก้ไขโดยประกาศกฎกระทรวงสาธารณสุข หมายเลข No.1168/Menkes/Per/X/1999 โดยจะมีระยะเวลาอนุญาตให้ใช้ 1 ปี
วันที่มีผลบังคับใช้ : 5 มิ.ย. 56 (ประกาศในประกาศของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาของอินโดนีเซียหมายเลข 38/2013 ในวันที่ 5 มิ.ย. 56 และมีผลบังคับใช้ในวันที่ประกาศ)
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/250
22 มกราคม 2557
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าไก่มีชีวิต เนื้อไก่ ลูกไก่ ไข่และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ฟิลิปปินส์ห้ามนำเข้า (ชั่วคราว) สัตว์ปีกเลี้ยง สัตว์ปีกป่า รวมถึงลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ จากประเทศจีน เนื่องจากพบการระบาดของไข้หวัดนกสายพันธุ์รุนแรง (HPAI) สายพันธุ์ H5N2 ตั้งแต่วันที่ 21 ธ.ค. 56
วันที่มีผลบังคับใช้ : 10 ม.ค. 57
จีน




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/246
16 มกราคม 2557
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าโคกระบือ สุกร แพะ แกะ และผลิตภัณฑ์
สาระสำคัญ : ฟิลิปปินส์ได้แจ้งระงับการนำเข้าชั่วคราวสำหรับสัตว์ที่อ่อนแอต่อโรคปากและเท้าเปื่อย และผลิตภัณฑ์จากสัตว์ดังกล่าวที่มีแหล่งกำเนิดจากอิสราเอล เนี่องจากมีรายงานว่าพบการระบาดโรคปากและเท้าเปื่อยในฝูงโคใน Majadal Shams, Golan, HAZAFON บริเวณชายแดนไซเรียน
เอกสารฉบับเต็ม: 


วันที่มีผลบังคับใช้ : 22 พ.ย. 56
อิสราเอล




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/247
16 มกราคม 2557
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกมีชีวิต ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ฟิลิปปินส์ได้แจ้งระงับการนำเข้าชั่วคราวสำหรับสัตว์ปีกป่าและพื้นบ้านรวมทั้ง ลูกไก่ ไข่และน้ำเชื้อ ที่มีแหล่งกำเนิดจากรัฐ Municipality of Mertola, Region of Alentejo ประเทศโปรตุเกส เนี่องจากมีรายงานว่าพบการระบาดไข้หวัดนกชนิด LPAI สายพันธุ์ H7
เอกสารฉบับเต็ม: 


วันที่มีผลบังคับใช้ : 4 ธ.ค.56
โปรตุเกส




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/248
16 มกราคม 2557
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกมีชีวิต ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ฟิลิปปินส์ได้แจ้งระงับการนำเข้าชั่วคราวสำหรับสัตว์ปีกป่าและพื้นบ้านรวมทั้ง ลูกไก่ ไข่และน้ำเชื้อ ที่มีแหล่งกำเนิดจาก Commune of Blumberg, Kreis Scharwald-Baar, Land Baden-Wurttemburgประเทศเยอรมนี เนี่องจากมีรายงานว่าพบการระบาดไข้หวัดนกชนิด LPAI สายพันธุ์ H5N3
เอกสารฉบับเต็ม: 


วันที่มีผลบังคับใช้ : 5 ธ.ค.56
เยอรมนี




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/249
16 มกราคม 2557
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกมีชีวิต ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ฟิลิปปินส์ได้แจ้งระงับการนำเข้าชั่วคราวสำหรับสัตว์ปีกป่าและพื้นบ้านรวมทั้ง ลูกไก่ ไข่และน้ำเชื้อ ที่มีแหล่งกำเนิดจาก Village of St-Annen, Province of Groningen ประเทศเนเธอแลนด์ เนี่องจากมีรายงานว่าพบการระบาดไข้หวัดนกชนิด LPAI สายพันธุ์ H5N3
เอกสารฉบับเต็ม: 


วันที่มีผลบังคับใช้ : 4 ธ.ค.56
เนเธอแลนด์




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/245
10 มกราคม 2557
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ฟิลิปปินส์ห้ามนำเข้า (ชั่วคราว) สัตว์ปีกเลี้ยง สัตว์ปีกป่า รวมถึงลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ จาก Landkreis Greiz, หน่วยการปกครอง Mohlsdorf (Thuringia) ประเทศเยอรมัน เนื่องจากพบการระบาดของไข้หวัดนกสายพันธุ์ไม่รุนแรง (LPAI) สายพันธุ์ H5 ตั้งแต่วันที่ 19 พ.ย. 56
วันที่มีผลบังคับใช้ : 19 พ.ย. 56
เยอรมัน




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/243
02 ธันวาคม 2556
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีก เนื อไก่ ลูกไก่ ไข่ และนาเชื้อ
สาระสำคัญ : ฟิลิปปินส์ห้ามนาเข้า (ชั่วคราว) สัตว์ปีกเลี ยง เนื อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และนาเชื อ จาก Young รัฐ New South Wales ประเทศออสเตรเลีย เนื่องจากพบการระบาดของไข้หวัดนกสายพันธุ์รุนแรง (HPAI) สายพันธุ์ H7N2 ตั งแต่วันที่ 16 ต.ค. 56
วันที่มีผลบังคับใช้ : 17 ต.ค. 56
ออสเตรเลีย




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/242
29 พฤศจิกายน 2556
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกพื้นบ้านและสัตว์ปีกป่า รวมถึง ลูกไก่แรกฟัก ไข่ น้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ฟิลิปปินส์ห้ามนำเข้า (ชั่วคราว) สัตว์ปีกพื้นบ้านและสัตว์ปีกป่า รวมถึง ลูกไก่แรกฟัก ไข่ น้ำเชื้อจากจังหวัด Salerno เขต Campania ประเทศอิตาลี เนื่องจากตรวจพบการระบาดของไข้หวัดนกสายพันธุ์ไม่รุนแรง (LPAI) สายพันธุ์ H5 ในจังหวัด Salerno เขต Campania ประเทศอิตาลี โดยมาตรการมีผลตั้งแต่วันที่ 22 ต.ค. 56
วันที่มีผลบังคับใช้ : 22 ต.ค. 56
อิตาลี




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/236/Add.1
27 พฤศจิกายน 2556
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกพื้นบ้านและสัตว์ปีกป่า รวมถึง ลูกไก่แรกฟัก ไข่ น้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ฟิลิปปินส์ยกเลิกการห้ามนำเข้าชั่วคราวในสัตว์ปีกพื้นบ้านและสัตว์ปีกป่า รวมถึงผลิตภัณฑ์เนื้อ ลูกไก่แรกฟัก ไข่ น้ำเชื้อ ที่มาจาก Scott Country รัฐ Arkansas สหรัฐอเมริกา เนื่องจาก OIE ได้แจ้งว่ารัฐ Arkansas สามารถควบคุมโรคไข้หวัดนกได้แล้ว
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
สหรัฐอเมริกา




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/241
27 พฤศจิกายน 2556
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกพื้นบ้านและสัตว์ปีกป่า รวมถึง ลูกไก่แรกฟัก ไข่ น้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ฟิลิปปินส์ห้ามนำเข้า (ชั่วคราว) สัตว์ปีกพื้นบ้านและสัตว์ปีกป่า รวมถึง ลูกไก่แรกฟัก ไข่ น้ำเชื้อจากจังหวัด Brescia เขต Lombardy ประเทศอิตาลี เนื่องจากตรวจพบการระบาดของไข้หวัดนกสายพันธุ์ไม่รุนแรง (LPAI) สายพันธุ์ H5 ในจังหวัด Brescia เขต Lombardy ประเทศอิตาลี ตั้งแต่วันที่ 17 ต.ค. 56
วันที่มีผลบังคับใช้ : 17 ต.ค. 56
อิตาลี-




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/240
08 ตุลาคม 2556
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าโคกระบือ หมู แพะและแกะ
สาระสำคัญ : ฟิลิปปินส์ห้ามการนำเข้าชั่วคราวของสัตว์ที่มีความเสี่ยงต่อโรคปากเท้าเปื่อย ผลิตภัณฑ์จากสัตว์ และผลิตภัณฑ์ผลพลอยได้จากสัตว์จาก Mpumalanga แอฟริกาใต้ เนื่องจากตรวจพบการระบาดของโรคปากเท้าเปื่อยในหมู่บ้าน Mpumalanga ประเทศแอฟริกาใต้
วันที่มีผลบังคับใช้ : 22 ส.ค. 56
แอฟริกาใต้




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/238/Rev.1
07 ตุลาคม 2556
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีก เนื้อไก่ ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ฟิลิปปินส์ห้ามนำเข้า (ชั่วคราว) สัตว์ปีกเลี้ยง นกป่า รวมไปถึงเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ จากไต้หวัน เนื่องจากยังพบการระบาดของไข้หวัดนกสายพันธุ์ไม่รุนแรง (LPAI) สายพันธุ์ H5N3 ใน Yuli, Hua-Lienเขตปกครองไต้หวัน ตั้งแต่วันที่ 2 ส.ค. 56
วันที่มีผลบังคับใช้ : 16 ก.ย. 56
ไต้หวัน




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/238
20 กันยายน 2556
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีก เนื้อไก่ ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ฟิลิปปินส์ห้ามนำเข้า (ชั่วคราว) สัตว์ปีกพื้นบ้าน สัตว์ปีกป่า รวมไปถึงลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ จากไต้หวัน เนื่องจากพบการระบาดของไข้หวัดนก (LPAI) สายพันธุ์ H5N3 ใน Yuli Hua-Lien ตั้งแต่วันที่ 6 ส.ค. 56
วันที่มีผลบังคับใช้ : 6 ส.ค. 56
ไต้หวัน




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/239
16 กันยายน 2556
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีก, ลูกไก่, ไข่ และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ประเทศฟิลิปปินส์ห้ามนำเข้า (ชั่วคราว) สัตว์ปีกพื้นบ้าน สัตว์ปีกป่า รวมไปถึงลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ จากเมือง Ostellato Ferrara Mordano Bologna Emilia-Romagna ประเทศอิตาลี ตั้งแต่วันที่ 22 ส.ค. 56 เนื่องจากพบการระบาดของไข้หวัดนกสายพันธุ์ H7 ในฟาร์มไก่เชิงพาณิชย์ในเมือง Ferrara Mordano Bologna Emilia-Romagna ประเทศอิตาลี
วันที่มีผลบังคับใช้ : 22 ส.ค. 56
อิตาลี




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/237
13 กันยายน 2556
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ประเทศฟิลิปปินส์ห้ามนำเข้า (ชั่วคราว) สัตว์ปีกพื้นบ้าน สัตว์ปีกป่า รวมไปถึงลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ จากเมือง Tzum และ Friesland ประเทศเนเธอร์แลนด์ เนื่องจากพบการระบาดของโรคไข้หวัดนกชนิด LPAI สายพันธุ์ H7 ในสัตว์ปีกภายในประเทศ ตั้งแต่วันที่ 2 ส.ค. 56
เอกสารฉบับเต็ม: 
http://members.wto.org/crnattachments/2013/sps/PHL/13_3617_00_e.pdf

วันที่มีผลบังคับใช้ : 6 ส.ค. 56
เนเธอร์แลนด์




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/223/Add.1
13 กันยายน 2556
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : กรมวิชาการเกษตรฟิลิปปินส์ได้ประกาศยกเลิกระงับการนำเข้าชั่วคราวสัตว์ปีกพื้นบ้านและสัตว์ปีกป่า รวมถึงลูกไก่อายุ ไข่ และน้ำเชื้อที่มาจาก Lochem, Province of Gelderland ประเทศเนเธอร์แลนด์ ภายหลังการตรวจสอบแล้ว ไม่พบเชื้อไข้หวัดนก เชื้อสาย H7N7 ในสัตว์ปีกและผลิตภัณฑ์จากเมือง Lochem, Province of Gelderland ประเทศเนเธอร์แลนด์ ซึ่งมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 6 ส.ค. 56
เอกสารฉบับเต็ม: 
http://members.wto.org/crnattachments/2013/sps/PHL/13_3619_00_e.pdf

วันที่มีผลบังคับใช้ : 6 ส.ค.56
เนเธอร์แลนด์




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/224/Add.1
13 กันยายน 2556
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ฟิลิปปินส์ได้ประกาศยกเลิกระงับการนำเข้าชั่วคราวสัตว์ปีกพื้นบ้านและสัตว์ปีกป่า รวมถึงลูกไก่อายุ ไข่ และน้ำเชื้อที่มาจากเมือง Zeewolde, Flevoland ประเทศเนเธอร์แลนด์ ภายหลังการตรวจสอบแล้ว ไม่พบเชื้อไข้หวัดนก เชื้อสาย H7N7 ในสัตว์ปีกและผลิตภัณฑ์จากเมือง เมือง Zeewolde, Flevoland ประเทศเนเธอร์แลนด์ซึ่งมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 15 ส.ค. 56
เอกสารฉบับเต็ม: 
http://members.wto.org/crnattachments/2013/sps/PHL/13_3620_00_e.pdf

วันที่มีผลบังคับใช้ : 15 ส.ค. 56
เนเธอร์แลนด์




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/65
10 กันยายน 2556
มาตรการปกติ
สินค้าผลิตภัณฑ์อินทรีย์
สาระสำคัญ : ร่างกฎระเบียบกระทรวงเกษตรฉบับที่ 64 ปี 2556 เกี่ยวกับระบบการจัดการฟาร์มอินทรีย์ ซึ่งอ้างอิงมาตรฐาน ISO เรื่อง Organic Food System ร่างกฎระเบียบมีเป้าหมาย : เพื่อควบคุมผลิตภัณฑ์อินทรีย์ รับรองและปกป้องผลผลิตอินทรีย์ที่ไม่เป็นไปตามข้อกำหนด รักษาสิ่งแวดล้อม เป็นการเพิ่มมูลค่าและการแข่งขัน ร่างกฎระเบียบนี้มีขอบเขต ได้แก่ – การผลิตสินค้าอินทรีย์ ทั้งพืชและสัตว์ - วิธีการผลิตปุ๋ยและสารกำจัดศัตรูพืช - การรับรอง ซึ่งแต่ละหน่วยผลิตต้องปฏิบัติตามระบบเกษตรอินทรีย์ที่อาจยื่นการรับรองจากหน่วยงานที่ได้รับการรับรองจากคณะกรรมการการรับรองแห่งชาติ (National Acrreditation Committee:KAN) - การติดฉลาก ให้สินค้าอินทรีย์ทุกชนิดที่ผ่านการรับรองและจำหน่ายในอินโดนีเซียทั้งสินค้าภายในและนำเข้าต้องมีตราโลโก้ประทับ (Indonesia organic logo) ส่วนผลิตภัณฑ์ที่นำกลับบรรจุหีบห่ออีกครั้งห้ามติดตราโลโก้ก่อนที่จะได้รับการรับรอง
เอกสารฉบับเต็ม: 
http://members.wto.org/crnattachments/2013/sps/IDN/13_3514_00_x.pdf

วันที่มีผลบังคับใช้ : 1 ปี หลังประกาศฯ
ประเทศคู่ค้า




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/64
04 กันยายน 2556
มาตรการปกติ
สินค้าโกโก้
สาระสำคัญ : ร่างกฎระเบียบกระทรวงเกษตรเกี่ยวกับข้อกำหนดด้านคุณภาพและการตลาดของโกโก้ ซึ่งเป็นไปตามข้อกำหนดของ Article 28 ของกฎหมายฉบับที่ 18 ปี 2004 ในเรื่องการปลูก ทั้งนี้เพื่อรับรองคุณภาพในการจำหน่ายเมล็ดโกโก้ ร่างกฎระเบียบนี้มีขอบเขต ได้แก่ ข้อกำหนดด้านคุณภาพและการจัดการ การตลาด การควบคุม
เอกสารฉบับเต็ม: 
http://members.wto.org/crnattachments/2013/sps/IDN/13_3509_00_x.pdf

วันที่มีผลบังคับใช้ : 24 เดือนหลังประกาศฯ
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/51
02 กันยายน 2556
มาตรการปกติ
สินค้าG/SPS/N/VNM/51
สาระสำคัญ : แจ้งเวียนกระบวนการตรวจสอบและการยกเลิกการรับรองพืชดัดแปลงพันธุกรรมซึ่งนำมาผลิตอาหารมนุษย์ และอาหารสัตว์ ซึ่งประกอบด้วย 4 บท 16 มาตรา และ 11 ภาคผนวก ที่อธิบายรายละเอียดข้อกำหนด แบบฟอร์มและเนื้อหาที่เกี่ยวข้อง เมื่อใช้ขึ้นทะเบียนรับรอง
เอกสารฉบับเต็ม: 
http://www.spsvietnam.gov.vn/EnglishSPS/Lists/Documents,notification/Attachments/57/Thong%20tu%20food_feed_EN_Gui%20VP%20SPS_29Aug.pdf

วันที่มีผลบังคับใช้ : ก.พ. 57
ประเทศคู่ค้า




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/63
02 สิงหาคม 2556
มาตรการปกติ
สินค้าผลิตภัณฑ์พืชสวน
สาระสำคัญ : กฏกระทรวงเกษตรฯฉบับที่ 47/Permentan/OT.140/4/2013 เกี่ยวกับการนำเข้าผลิตภัณฑ์พืชสวน (ซึ่งเดิมเคยแจ้งแล้วตาม G/SPS/N/IDN/55) สรุปสาระสำคัญได้ดังนี้ 1. กฎระเบียบนี้ได้กำหนดให้ใช้กับผลิตภัณฑ์พืชสวนนำเข้าจำนวน 39 ชนิด (ซึ่งเดิมกำหนดไว้ 57 ชนิด) คือลดไป 18 ชนิด จากกฎระเบียบฉบับเดิม โดยกฎระเบียบฉบับนี้จะไม่รวมกระเทียม กระเทียมผง พริกป่น กะหล่ำปลี พืชสกุล chrysanthemum ดอกเฮลิโคเนีย ดอกกล้วยไม้ และ ผลิตภัณฑ์พืชสวนบางชนิด 2. การยื่นเสนอขอสมัครรับใบ RIPH สามารถใช้บริการของระบบอิเล็กทรอนิกส์บนเว็บไซต์ one stop service INATRADE ของกระทรวงพาณิชย์อินโดนีเซีย 3. ใบ RIPH จะมีการออก 2 ครั้งในหนึ่งปี คือช่วงเดือนมกราคมถึงมิถุนายน และกรกฎาคมถึงธันวาคม ใบ RIPH นี้จะใช้กับผลิตภัณฑ์พืชสวนสดที่ใช้เป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรม ผลิตภัณฑ์แปรรูปแล้วที่ใช้เป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรม ขณะที่ผลิตภัณฑ์แปรรูปเพื่อการบริโภคที่ออกแล้วหนึ่งครั้งสามารถใช้ได้ภายในหนึ่งช่วงเวลาสำหรับหนึ่งบริษัท 4. หากต้องการใบ RIPH ที่ออกช่วงมกราคมถึงมิถุนายนต้องยื่นสมัครก่อนสิ้นเดือนธันวาคมในปีที่ผ่านมา และหากต้องการใบ RIPH ที่ออกในช่วงกรกฎาคมถึงธันวาคม ต้องยื่นสมัครก่อนสิ้นเดือนมิถุนายนของปีปัจจุบัน 5. ทั้งนี้ให้ยกเลิกกฏกระทรวงเกษตรฯฉบับที่ 60/Permentan/OT.140/49/2012
วันที่มีผลบังคับใช้ : 3 เม.ย. 56
ประเทศคู่ค้า




สิงคโปร์ G/SPS/N/SPG/51
24 กรกฎาคม 2556
มาตรการปกติ
สินค้าหมาและแมว
สาระสำคัญ : เงื่อนไขทางด้านสัตวแพทย์สำหรับการนำเข้าหมาและแมวจากประเทศต่างๆ ภายใต้กลุ่มซี โดยจะใช้กับการนำเข้าของไทเปทันที เนื่องจากรายงาน OIE พบว่าโรคพิษสุนัขบ้าในเฟอร์เร็ทป่าเมื่อเดือนพฤษภาคม พฤศจิกายน ธันวาคม 2555
เอกสารฉบับเต็ม: 
http://www.ava.gov.sg/AnimalsPetSector/ImportExportTransOfAnimalRelatedPrd/PetsPersonal/

วันที่มีผลบังคับใช้ : 19 ก.ค. 56
ไทเป




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/48/Add.1
19 กรกฎาคม 2556
มาตรการปกติ
สินค้าอาหารไก่ นกกระทาชนิดสำเร็จรูปและอัดเม็ด
สาระสำคัญ : ร่างมาตรฐานแห่งชาติกำหนดปริมาณสูงสุดของสารพิษจากเชื้อรา (aflatoxin b1, aflatoxin total) โลหะหนัก (Arsenic, cadmium, lead, mercury) และจุลินทรีย์ (Total bacteria, Coliforms, Staphylococcus aureus, Clostridium perfringens, E. coli (Escherichia coli) and, Salmonella)ในอาหารไก่ นกกระทาชนิดสำเร็จรูปและอัดเม็ด แก้ไขวันที่ได้รับความเห็นชอบและตีพิมพ์เป็น 30 ก.ย.56
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/48/Add.1
19 กรกฎาคม 2556
มาตรการปกติ
สินค้าอาหารไก่ นกกระทาชนิดสำเร็จรูปและอัดเม็ด
สาระสำคัญ : ร่างมาตรฐานแห่งชาติกำหนดปริมาณสูงสุดของสารพิษจากเชื้อรา (aflatoxin b1, aflatoxin total) โลหะหนัก (Arsenic, cadmium, lead, mercury) และจุลินทรีย์ (Total bacteria, Coliforms, Staphylococcus aureus, Clostridium perfringens, E. coli (Escherichia coli) and, Salmonella)ในอาหารไก่ นกกระทาชนิดสำเร็จรูปและอัดเม็ด แก้ไขวันที่ได้รับความเห็นชอบและตีพิมพ์เป็น 30 ก.ย.56
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/49/Add.1
19 กรกฎาคม 2556
มาตรการปกติ
สินค้าสารพิษจากเชื้อรา โลหะหนัก และจุลินทรีย์
สาระสำคัญ : ร่างมาตรฐานแห่งชาติกำหนดปริมาณสูงสุดของสารพิษจากเชื้อรา (aflatoxin b1, aflatoxin total) โลหะหนัก (Arsenic, cadmium, lead, mercury) และจุลินทรีย์ (Total bacteria, Coliforms, Staphylococcus aureus, Clostridium perfringens, E. coli (Escherichia coli) and, Salmonella)ในอาหารหมูชนิดสำเร็จรูปและอัดเม็ด แก้ไขวันที่ได้รับความเห็นชอบและตีพิมพ์เป็น 30 ก.ย.56
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/50/Add.1
19 กรกฎาคม 2556
มาตรการปกติ
สินค้าสารพิษจากเชื้อรา โลหะหนัก และจุลินทรีย์
สาระสำคัญ : ร่างมาตรฐานแห่งชาติกำหนดปริมาณสูงสุดของสารพิษจากเชื้อรา (aflatoxin b1, aflatoxin total) โลหะหนัก (Arsenic, cadmium, lead, mercury) และจุลินทรีย์ (Total bacteria, Coliforms, Staphylococcus aureus, Clostridium perfringens, E. coli (Escherichia coli) and, Salmonella)ในอาหารเป็ดและเป็ดเทศชนิดสำเร็จรูปและอัดเม็ด แก้ไขวันที่ได้รับความเห็นชอบและตีพิมพ์เป็น 30 ก.ย.56
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/47/Add.1
19 กรกฎาคม 2556
มาตรการปกติ
สินค้าอาหารโคกระบือชนิดสำเร็จรูปและอัดเม็ด
สาระสำคัญ : ร่างมาตรฐานแห่งชาติกำหนดปริมาณสูงสุดของสารพิษจากเชื้อรา (aflatoxin b1, aflatoxin total) โลหะหนัก (Arsenic, cadmium, lead, mercury) และจุลินทรีย์ (Total bacteria, Coliforms, Staphylococcus aureus, Clostridium perfringens, E. coli (Escherichia coli) and, Salmonella)ในอาหารโคกระบือชนิดสำเร็จรูปและอัดเม็ด แก้ไขวันที่ได้รับความเห็นชอบและตีพิมพ์เป็น 30 ก.ย.56
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/236
16 กรกฎาคม 2556
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าปีกพื้นบ้านและสัตว์ปีกป่า รวมถึงผลิตภัณฑ์เนื้อ ลูกไก่แรกฟัก ไข่ น้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ห้ามนำเข้าในสัตว์ปีกพื้นบ้านและสัตว์ปีกป่า รวมถึงผลิตภัณฑ์เนื้อ ลูกไก่แรกฟัก ไข่ น้ำเชื้อ ที่มาจาก Arkansas, สหรัฐอเมริกา เนื่องจากพบการระบาด ของไข้หวัดนก H7N7ไก่เนื้อ
วันที่มีผลบังคับใช้ : 24 มิ.ย.56
สหรัฐอเมริกา




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/47
12 กรกฎาคม 2556
มาตรการปกติ
สินค้าอาหารโคกระบือชนิดสำเร็จรูปและอัดเม็ด
สาระสำคัญ : ร่างมาตรฐานแห่งชาติกำหนดปริมาณสูงสุดของสารพิษจากเชื้อรา (aflatoxin b1, aflatoxin total) โลหะหนัก (Arsenic, cadmium, lead, mercury) และจุลินทรีย์ (Total bacteria, Coliforms, Staphylococcus aureus, Clostridium perfringens, E. coli (Escherichia coli) and, Salmonella)ในอาหารโคกระบือชนิดสำเร็จรูปและอัดเม็ด
วันที่มีผลบังคับใช้ : 28 ก.พ. 57
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/48
12 กรกฎาคม 2556
มาตรการปกติ
สินค้าอาหารไก่ นกกระทาชนิดสำเร็จรูปและอัดเม็ด
สาระสำคัญ : ร่างมาตรฐานแห่งชาติกำหนดปริมาณสูงสุดของสารพิษจากเชื้อรา (aflatoxin b1, aflatoxin total) โลหะหนัก (Arsenic, cadmium, lead, mercury) และจุลินทรีย์ (Total bacteria, Coliforms, Staphylococcus aureus, Clostridium perfringens, E. coli (Escherichia coli) and, Salmonella) ในอาหารไก่ นกกระทาชนิดสำเร็จรูปและอัดเม็ด
วันที่มีผลบังคับใช้ : 28 ก.พ. 57
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/49
12 กรกฎาคม 2556
มาตรการปกติ
สินค้าอาหารสุกรชนิดสำเร็จรูปและอัดเม็ด
สาระสำคัญ : ร่างมาตรฐานแห่งชาติกำหนดปริมาณสูงสุดของสารพิษจากเชื้อรา (aflatoxin b1, aflatoxin total) โลหะหนัก (Arsenic, cadmium, lead, mercury) และจุลินทรีย์ (Total bacteria, Coliforms, Staphylococcus aureus, Clostridium perfringens, E. coli (Escherichia coli) and, Salmonella)ในอาหารสุกรชนิดสำเร็จรูปและอัดเม็ด แก้ไขวันที่ได้รับความเห็นชอบและตีพิมพ์เป็น 30 ก.ย.56
วันที่มีผลบังคับใช้ : 28 ก.พ. 57
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/50
12 กรกฎาคม 2556
มาตรการปกติ
สินค้าอาหารเป็ดและเป็ดเทศชนิดสำเร็จรูปและอัดเม็ด
สาระสำคัญ : ร่างมาตรฐานแห่งชาติกำหนดปริมาณสูงสุดของสารพิษจากเชื้อรา (aflatoxin b1, aflatoxin total) โลหะหนัก (Arsenic, cadmium, lead, mercury) และจุลินทรีย์ (Total bacteria, Coliforms, Staphylococcus aureus, Clostridium perfringens, E. coli (Escherichia coli) and, Salmonella)ในอาหารเป็ดและเป็ดเทศชนิดสำเร็จรูปและอัดเม็ด
วันที่มีผลบังคับใช้ : 28 ก.พ. 57
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/233
09 กรกฎาคม 2556
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าโคกระบือมีชีวิตและผลิตภัณฑ์
สาระสำคัญ : ห้ามนำเข้าชั่วคราวสำหรับสัตว์ที่มีโรคปากเท้าเปื่อย และผลิตภัณฑ์ที่มาจากสัตว์เหล่านั้นที่ผลิตจากประเทศรัสเซีย ตั้งแต่ 29 พ.ค. 56 เนื่องจากพบการระบาดของโรคปากและเท้าเปื่อยที่ Province of Mavingo, District of Chiredzi, Mkwasine ประเทศซิมบับเว
วันที่มีผลบังคับใช้ : 29 พ.ค. 56
ซิมบับเว




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/235
09 กรกฎาคม 2556
มาตรการปกติ
สินค้าพริกปาปริก้าสด
สาระสำคัญ : ประกาศกรมวิชาการเกษตรฯในการนำเข้าพริกปาปริก้าสดจากเกาะเชจู เกาหลีใต้
วันที่มีผลบังคับใช้ : 20 ส.ค. 56
เกาหลีใต้




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/234
03 กรกฎาคม 2556
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าโคกระบือมีชีวิตและผลิตภัณฑ์
สาระสำคัญ : ห้ามนำเข้าชั่วคราวสำหรับสัตว์ที่มีโรคปากเท้าเปื่อย และผลิตภัณฑ์ที่มาจากสัตว์เหล่านั้นที่ผลิตจากประเทศรัสเซีย ตั้งแต่ 20 พ.ค. 56 เนื่องจากพบการระบาดของโรคปากและเท้าเปื่อยที่ Village of Akshoka, Akshokinsky, Urdzarsky, คาซัคสถานตะวันออก
วันที่มีผลบังคับใช้ : 20 พ.ค. 56
คาซัคสถาน




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/231
27 มิถุนายน 2556
มาตรการปกติ
สินค้าสัตว์ปีกมีชีวิต
สาระสำคัญ : ฟิลิปปินส์ประกาศห้ามนำเข้าในสัตว์ปีกพื้นบ้านและสัตว์ปีกป่า รวมถึง ลูกไก่แรกฟัก ไข่ น้ำเชื้อ ที่มาจาก Viborg, เดนมาร์ก เป็นการชั่วคราว เนื่องจากOIE รายงานว่าพบการระบาดของเชื้อไข้หวัดนก H7
เอกสารฉบับเต็ม: 
http://members.wto.org/crnattachments/2013/sps/PHL/13_2466_00_e.pdf

วันที่มีผลบังคับใช้ : 11 มิ.ย. 56
Viborg ประเทศเดนมาร์ก




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/232
27 มิถุนายน 2556
มาตรการปกติ
สินค้าสัตว์ปีกมีชีวิต
สาระสำคัญ : ฟิลิปปินส์ประกาศห้ามนำเข้าในสัตว์ปีกพื้นบ้านและสัตว์ปีกป่า รวมถึง ลูกไก่แรกฟัก ไข่ น้ำเชื้อ ที่มาจาก Leusden, Utrecht, เนเธอร์แลนด์ เป็นการชั่วคราว เนื่องจาก OIE รายงานว่าพบการระบาดของเชื้อไข้หวัดนก H7N1
เอกสารฉบับเต็ม: 
http://members.wto.org/crnattachments/2013/sps/PHL/13_2467_00_e.pdf

วันที่มีผลบังคับใช้ : 11 มิ.ย. 56
Leusden, Utrecht ประเทศเนเธอร์แลนด์




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/226
26 มิถุนายน 2556
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกมีชีวิต
สาระสำคัญ : ฟิลิปปินส์ประกาศยกเลิกห้ามนำเข้าในสัตว์ปีกพื้นบ้านและสัตว์ปีกป่า รวมถึงผลิตภัณฑ์เนื้อ ลูกไก่แรกฟัก ไข่ น้ำเชื้อ ที่มาจากรัฐ New South Wales,ออสเตรเลีย เนื่องจาก OIE ประกาศว่าขณะนี้รัฐ New South Wales ปลอดเชื้อไข้หวัดนก H7N7 HPNAI แล้ว
เอกสารฉบับเต็ม: 
http://members.wto.org/crnattachments/2013/sps/PHL/13_2440_00_e.pdf

วันที่มีผลบังคับใช้ : 1 ส.ค. 56
นิวเซาท์เวลส์ ประเทศออสเตรเลีย




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/227
26 มิถุนายน 2556
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าโค กระบือ
สาระสำคัญ : ฟิลิปปินส์ประกาศการห้ามนำเข้าชั่วคราวสำหรับสัตว์ที่มีโรคปากเท้าเปื่อย และผลิตภัณฑ์ที่มาจากสัตว์เหล่านั้นที่ผลิตจากประเทศรัสเซีย เนื่องจาก OIE รายงานเมื่อวันที่ 18 มี.ค.56 พบการระบาดของโตคปากและเท้าเปื่อย serotype A.
เอกสารฉบับเต็ม: 
http://members.wto.org/crnattachments/2013/sps/PHL/13_2441_00_e.pdf

วันที่มีผลบังคับใช้ : 22 มี.ค. 56
รัสเซีย




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/228
26 มิถุนายน 2556
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกมีชีวิต
สาระสำคัญ : ฟิลิปปินส์ประกาศห้ามนำเข้าชั่วคราวในสัตว์ปีกพื้นบ้านและสัตว์ปีกป่า รวมถึงผลิตภัณฑ์เนื้อ ลูกไก่แรกฟัก ไข่ น้ำเชื้อ ที่มาจากจีน เนื่องจาก OIE รายงานว่าพบการระบาดของเชื้อไข้หวัดนก H7N9
เอกสารฉบับเต็ม: 
http://members.wto.org/crnattachments/2013/sps/PHL/13_2442_00_e.pdf

วันที่มีผลบังคับใช้ : 17 เม.ย. 56
จีน




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/229
26 มิถุนายน 2556
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกมีชีวิต
สาระสำคัญ : ฟิลิปปินส์ประกาศห้ามนำเข้าชั่วคราวสัตว์ปีกพื้นบ้านและสัตว์ปีกป่า รวมถึง ลูกไก่แรกฟัก ไข่ น้ำเชื้อ ที่มาจากเยอรมนี เนื่องจาก OIE รายงานว่าพบการระบาดของเชื้อไข้หวัดนก H7N7
เอกสารฉบับเต็ม: 
http://members.wto.org/crnattachments/2013/sps/PHL/13_2443_00_e.pdf

วันที่มีผลบังคับใช้ : 24 เม.ย. 56
เยอรมนี




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/230
26 มิถุนายน 2556
มาตรการปกติ
สินค้ามันฝรั่ง
สาระสำคัญ : หนังสือเวียนแจ้งการนำเข้ามันฝรั่งสด (Table Stock) Solanum Tuberosum L. จากสหรัฐอเมริกา เพื่อบริโภคและใช้ในกระบวนการแปรรูป
วันที่มีผลบังคับใช้ : 5 ส.ค.56
สหรัฐอเมริกา




สิงคโปร์ G/SPS/N/SGP/50
24 มิถุนายน 2556
มาตรการปกติ
สินค้าข้อกำหนดด้านปศุสัตว์สำหรับการนำเข้าม้า
สาระสำคัญ : แก้ไขข้อกำหนดด้านปศุสัตว์สำหรับการนำเข้าม้า ดังต่อไปนี้ 1. สำหรับข้อกำหนดการนำเข้าม้าแบบชั่วคราวและถาวรในสิงค์โปร : ให้ยกเลิกข้อกำหนดสำหรับการฆ่าพยาธิ (broad spectrum anthelmintic treatment) ก่อนส่งออก 2.สำหรับข้อกำหนดการส่งกลับม้าและการระงับการนำเข้าชั่วคราวของม้าในสิงค์โปร : ให้ลดระยะเวลาจาก 3 เดือน เป็น 60 วัน สำหรับคอกม้า จำเป็นต้องปราศจากโรคต่อไปนี้ equine infectious anaemia, equine viral encephalomyelitis, horse pox, scabies, glanders, dourine, surra, strangles, epizootic lymphangitis, ulcerative lymphangitis, equine rhinopneumonitis, equine viral arteritis, equine piroplasmosis, equine influenza, vesicular stomatitis, Getah virus infection, anthrax, rabies, Hendra virus infection, Nipah virus infection, West Nile virus infection หรือโรคอื่นๆของม้าในประเทศผู้ส่งออก เพื่อให้มั่นใจว่าม้าที่นำเข้านั้นปลอดโรค
เอกสารฉบับเต็ม: 
http://www.ava.gov.sg/AnimalsPetSector/ImportExportTransOfAnimalRelatedPrd/PetsCommercial/

วันที่มีผลบังคับใช้ : 22 มิ.ย. 56
ประเทศคู่ค้า




ลาว G/SPS/N/LAO/1
06 มิถุนายน 2556
มาตรการปกติ
สินค้าอาหาร
สาระสำคัญ : เสนอแก้ไขกฎหมายอาหาร โดยกำหนดหลักเกณฑ์ กฎระเบียบและมาตรการในการจัดการ การเฝ้าสังเกต การตรวจจับของอาหารและธุรกิจอาหารเพื่อความมั่นใจ คุณภาพ ประสิทธิภาพและความปลอดภัยในการปกป้องสุขภาพของผู้บริโภค
เอกสารฉบับเต็ม: 
http://members.wto.org/crnattachments/2013/sps/LAO/13_2140_00_e.pdf

วันที่มีผลบังคับใช้ : 180 วัน หลังจากประกาศราชกิจจาฯ
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/225
30 พฤษภาคม 2556
มาตรการปกติ
สินค้าปุ๋ยอินทรีย์
สาระสำคัญ : ร่างมาตรฐานแห่งชาติของฟิลลิปปินส์เกี่ยวกับปุ๋ยอินทรีย์ มาตรฐานนี้ใช้กับ ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยหมัก สารเร่งการเจริญเติบโตของพืช และวัสดุเสริมอาหารที่เป็นพืชอินทรีย์
เอกสารฉบับเต็ม: 
http://members.wto.org/crnattachments/2013/sps/PHL/13_2078_00_e.pdf

วันที่มีผลบังคับใช้ : 13 ส.ค.56
ประเทศคู่ค้า




มาเลเซีย G/SPS/N/MYS/26/Add.3
07 พฤษภาคม 2556
มาตรการปกติ
สินค้า-
สาระสำคัญ : มาเลเซียได้แก้ไขข้อกำหนดการรับรองสุขภาพสัตว์สำหรับการนำเข้าปลาสวยงามมีชีวิตมายังมาเลเซีย ดังนี้ โดยแคนนาดาขอให้เพิ่มความรับผิดชอบและสร้างความเข้มแข็งของกฎระเบียบ แคนนาดาขอให้ปฏิบัติตามข้อกำหนดการรับรองเพื่อการส่งออกสัตว์น้ำสวยงามมาเพื่อควบคุมการนำเข้าสัตว์น้ำและเพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อโรค -บางส่วนของข้อกำหนดระบุว่าปลาสวยงามส่งออกที่อ่อนแอต่อโรคตามที่ระบุไว้ในตารางที่ 3 ต้องมีใบรับรองสุขภาพสัตว์น้ำโดยกรมประมง และผ่านการรับรองโดยแคนนาดา(CFTIA) -แคนนาดาร้องขอให้ประเทศผู้ส่งออกกำหนดมาตรการควบคุมการนำเข้าสัตว์น้ำก่อนจะได้รับอนุญาตส่งออกมายังแคนนาดา -การนำเข้าทั้งหมด (ปลาคาร์พ ปลาหมอสี ปลาทอง ปลาม้าลาย ปลาหางนกยูง) ต้องมีใบรับรองปลอดโรคที่เกี่ยวข้อง -ดังนั้น ประเทศผู้ส่งออกทั้งหมดจะต้องปฏิบัติตามข้อกำหนดการรับรองสุขภาพสัตว์ฉบับใหม่สำหรับนำเข้านำเข้าสัตว์น้ำสวยงามมีชีวิต เข้ามายังมาเลเซียโดยต้องระบุว่าปลอดโรคที่เกี่ยวข้องที่สัตว์น้ำนั้นอ่อนแอ
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/44
22 เมษายน 2556
มาตรการปกติ
สินค้าแก้ว อะนาเมล พอร์ซเลน ที่ใช้เป็นวัสดุสัมผัสอาหาร
สาระสำคัญ : ร่างกฎระเบียบทางเทคนิคเกี่ยวกับคุณภาพ สุขลักษณะ และความปลอดภัยของแก้ว พอร์ซเลน หรือ อะนาเมล ที่ใช้สัมผัสอาหารโดยตรง
วันที่มีผลบังคับใช้ : 30 มิ.ย. 57
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/43
22 เมษายน 2556
มาตรการปกติ
สินค้าอาหารที่มีจุดประสงค์พิเศษเพื่อเป็นยา
สาระสำคัญ : ร่างกฎระเบียบทางเทคนิคสำหรับอาหารที่มีจุดประสงค์พิเศษเพื่อเป็นยา ซึ่งมีข้อกำหนดด้านการจัดการ และข้อกำหนดพื้นฐานด้านความปลอดภัยและคุณภาพสำหรับอาหารที่มีจุดประสงค์พิเศษเพื่อเป็นยา (สำหรับเด็กอายุมากกว่า 1 ปี)
วันที่มีผลบังคับใช้ : 30 มิ.ย. 57
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/45
22 เมษายน 2556
มาตรการปกติ
สินค้าผลิตภัณฑ์กาแฟ
สาระสำคัญ : ร่างกฎระเบียบทางเทคนิคสำหรับผลิตภัณฑ์กาแฟ ซึ่งมีข้อกำหนดด้านการจัดการ และข้อกำหนดพื้นฐานด้านความปลอดภัยและคุณภาพสำหรับผลิตภัณฑ์กาแฟ
วันที่มีผลบังคับใช้ : 30 มิ.ย. 57
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/42
22 เมษายน 2556
มาตรการปกติ
สินค้าแฮมปรุงสุก
สาระสำคัญ : ร่างกฎระเบียบทางเทคนิคสำหรับแฮมปรุงสุก ได้กำหนดข้อกำหนดพื้นฐานด้านสุขอนามัยและความปลอดภัย
วันที่มีผลบังคับใช้ : 30 มิ.ย. 57
ประเทศคู่ค้า




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/62
19 เมษายน 2556
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกและผลิตภัณฑ์สัตว์ปีก
สาระสำคัญ : ประกาศฉุกเฉินโดยห้ามนำเข้าสัตว์ปีกและผลิตภัณฑ์ที่สามารถถ่ายทอดเชื้อไข้หวัดนกสายพันธุ์ H7N9 เนื่องจาก OIE มีรายงานการระบาดของไข้หวัดนกสายพันธุ์ LPAI ในนกพิราบในพื้นที่ Songjiang เป็นสาเหตุให้คนตาย ซึ่งมาตรการนี้จะใช้กับสัตว์ปีกและผลิตภัณฑ์ที่ขนส่งหลังวันที่ 3 เม.ย. 56 ส่วนสัตว์ปีกและผลิตภัณฑ์ที่ขนส่งก่อนวันที่ 4 เม.ย. 56 จะต้องมีหนังสือทางการแนบเช่น ใบรับรองสุขภาพออกโดยเจ้าหน้าที่รัฐของจีน ใบรับรองแหล่งกำเนิด และ ใบตราส่งสินค้า (bill of landing) ทั้งนี้รัฐบาลอินโดนีเซียจะประเมินสถานการณ์การระบาดของจีนทุก 3 ปี
วันที่มีผลบังคับใช้ : 10 เม.ย.56
จีน




สิงคโปร์ G/SPS/N/SPG/49
19 เมษายน 2556
มาตรการปกติ
สินค้าม้า
สาระสำคัญ : แก้ไขเงื่อนไขการนำเข้าม้า ในข้อ1) การเพิ่มเงื่อนไขการนำเข้ากรณีเป็นโรค Equine Influenza (EI) แก้ไขเป็น “ช่วง 90 วันก่อนส่งออกม้า ม้าจะต้องไม่ทรมานจากหรือต้องมาจากโรงเลี้ยงที่ไม่มีความเสี่ยงของโรค EI ทั้งนี้ต้องได้รับวัคซีนต่อต้านเชื้อ EI โดยประเทศผู้ส่งออกตั้งแต่วันทื่ 21 ถึง 90 วัน ก่อนส่งออกทางเรือ”
วันที่มีผลบังคับใช้ : 20 มิ.ย.56
ประเทศคู่ค้า




สิงคโปร์ G/SPS/N/SPG/48
17 เมษายน 2556
มาตรการปกติ
สินค้าแก้ไขกฎระเบียบอาหารปี 2556
สาระสำคัญ : แก้ไขกฎระเบียบอาหารปี 2556 โดยมีการทบทวนแก้ไขดังนี้ 1. อนุญาตให้ใช้สารปรุงแต่งอาหารใหม่ดังนี้ สาร Arabinogalactan, Alpha-amylase, aminopeptidase, cellulase, glucoamylase, glycerophospholipid, hemicellulase, hexose oxidase 2. ข้อกำหนดการใช้สารกันบูด dimethyl dicarbonate ซึ่งอนุญาตให้เติมในเครื่องดื่มที่ไม่มี แอลกอฮอลล์ได้ไม่เกิน 250 ppm 3. กำหนดปริมาณสูงสุดของสารปนเปื้อน ได้แก่ อัลฟ่าท็อกซิน บี1 ไม่เกิน 0.1 ppb ในอาหารทารกและเด็กเล็ก อัลฟ่าท็อกซิน เอ็ม1 ไม่เกิน 0.025 ppb ในอาหารทารกสูตรต่อเนื่อง สาร patulin ไม่เกิน 10 ppb ในอาหารเด็กและทารก สารเมลามีน ไม่เกิน 1 ppm ในนมผงสูตรต่อเนื่อง ไม่เกิน 0.15 ppm อาหารทารกสูตรต่อเนื่องชนิดเหลว ไม่เกิน 2.5 ppm ในอาหารอื่นๆ 4. อนุญาตให้ใช้สาร polydextrose ในอาหารทารกสูงสุด 0.2 g ต่อ100 ml เป็นต้น
วันที่มีผลบังคับใช้ : 1 ส.ค.56
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/224
09 เมษายน 2556
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกป่าและพื้นบ้าน ลูกไก่ ไข่และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ห้ามนำเข้า(ชั่วคราว)สัตว์ปีกป่าและพื้นบ้าน ลูกไก่ ไข่และน้ำเชื้อจาก Zeewolde, Province of Flevoland ประเทศเนเธอร์แลนด์ เนื่องจากพบโรคไข้หวัดนกสายพันธุ์ H7 ในฟาร์มไก่ไข่
วันที่มีผลบังคับใช้ : 21 มี.ค. 56
เนเธอร์แลนด์




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/222
05 เมษายน 2556
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกป่าและพื้นบ้าน ลูกไก่ ไข่และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ห้ามนำเข้า(ชั่วคราว)สัตว์ปีกป่าและพื้นบ้าน ลูกไก่ ไข่และน้ำเชื้อจาก Modena, Region of Emilia Romagna ประเทศอิตาลี เนื่องจากพบโรคไข้หวัดนกสายพันธุ์ H5 ในฟาร์มสัตว์ปีก
วันที่มีผลบังคับใช้ : 12 มี.ค. 56
อิตาลี




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/223
05 เมษายน 2556
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกป่าและพื้นบ้าน ลูกไก่ ไข่และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ห้ามนำเข้า(ชั่วคราว)สัตว์ปีกป่าและพื้นบ้าน ลูกไก่ ไข่และน้ำเชื้อจาก Lochem, Province of Gerderland ประเทศเนเธอร์แลนด์ เนื่องจากพบโรคไข้หวัดนกสายพันธุ์ H5N7 ในฟาร์มไก่ไข่
วันที่มีผลบังคับใช้ : 13 มี.ค. 56
เนเธอร์แลนด์




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/219
05 เมษายน 2556
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกป่าและพื้นบ้าน ลูกไก่ ไข่และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ห้ามนำเข้า(ชั่วคราว)สัตว์ปีกป่าและพื้นบ้าน ลูกไก่ ไข่และน้ำเชื้อจาก Schleswig-Holstein, District of Stormarn และ Hessen, District of Waldeck-Frackenberg ประเทศเยอรมัน เนื่องจากพบโรคไข้หวัดนกสายพันธุ์ H5N3 และ H5N2 เมื่อวันที่ 18 และ 30 ธ.ค. 55
วันที่มีผลบังคับใช้ : 16 ม.ค.56
เยอรมัน




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/220
05 เมษายน 2556
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกป่าและพื้นบ้าน ลูกไก่ ไข่และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ห้ามนำเข้า(ชั่วคราว)สัตว์ปีกป่าและพื้นบ้าน ลูกไก่ ไข่และน้ำเชื้อจาก Brandenburg ประเทศเยอรมัน เนื่องจากพบโรคไข้หวัดนกสายพันธุ์ H5N1 และ H5N2 เมื่อวันที 15 ก.พ. 56
วันที่มีผลบังคับใช้ : 20 ก.พ.56
เยอรมัน




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/221
05 เมษายน 2556
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกป่าและพื้นบ้าน ลูกไก่ ไข่และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ห้ามนำเข้า(ชั่วคราว)สัตว์ปีกป่าและพื้นบ้าน ลูกไก่ ไข่และน้ำเชื้อจาก Henley Brook, Western ประเทศออสเตรเลีย เนื่องจากพบโรคไข้หวัดนกสายพันธุ์ H5 ในฝูงเป็ด blackyard เมื่อวันที 15 ก.พ. 56
วันที่มีผลบังคับใช้ : 11 มี.ค. 56
ออสเตรเลีย




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/46
02 เมษายน 2556
มาตรการปกติ
สินค้าไอศกรีม
สาระสำคัญ : ร่างกฎระเบียบทางเทคนิคสำหรับไอศกรีม ซึ่งมีข้อกำหนดพื้นฐานด้านความปลอดภัยและคุณภาพสำหรับไอศครีม
วันที่มีผลบังคับใช้ : 30 มิ.ย. 57
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/41/Add.1
20 มีนาคม 2556
มาตรการปกติ
สินค้าพืช
สาระสำคัญ : ร่างกฎหมายกักพืชและอารักขาพืชของเวียดนาม ได้ขยายเวลาออกไปถึงวันที่ 5 เม.ย. 56
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




สิงคโปร์ G/SPS/N/SGP/26/Add.1
04 กุมภาพันธ ์ 2556
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้านก สัตว์ปีก และผลิตภัณฑ์สัตว์ปีก
สาระสำคัญ : สิงคโปร์ยังคงห้ามการนำเข้านก สัตว์ปีก และผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีกจากประเทศที่มีการติดเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ชนิด A subtype H5 หรือ H7 notifiable avian influenza (NAI) ตามมาตรการขององค์การโรคระบาดสัตว์ระหว่างประเทศ
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศที่มีการระบาดของเชื้อไข้หวัดนก




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/41
16 มกราคม 2556
มาตรการปกติ
สินค้าพืชและผลิตภัณฑ์พืช
สาระสำคัญ : แจ้งร่างกฏหมายการอารักขาพืชและการกักกันพืชได้กำหนดกรอบการทำงานในการป้องกันพืชและกิจกรรมด้านการกักกัน (รวมการควบคุม และการป้องกันศัตรูพืช)
เอกสารฉบับเต็ม: 


วันที่มีผลบังคับใช้ : 10 ก.ค. 57
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/217
21 ธันวาคม 2555
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกพื้นบ้านและสัตว์ปีกป่า และผลิตภัณฑ์ รวมถึง ลูกไก่อายุ 1 วัน ไข่ และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ฟิลิปปินส์ระงับการนำเข้าชั่วคราว สัตว์ปีกพื้นบ้านและสัตว์ปีกป่า และผลิตภัณฑ์ รวมถึง ลูกไก่อายุ 1 วัน ไข่ และน้ำเชื้อที่มาจากรัฐนิวเซาท์เวลส์ ประเทศออสเตรเลีย เนื่องจากพบการระบาดของโรคไข้หวัดนกสายพันธุ์ 7 เมื่อวันที่ 9 พ.ย. 55
เอกสารฉบับเต็ม: 
http://members.wto.org/crnattachments/2012/sps/PHL/12_4895_00_e.pdf

วันที่มีผลบังคับใช้ : 28 พ.ย. 55
รัฐนิวเซาท์เวลส์ประเทศออสเตรเลีย




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/218
21 ธันวาคม 2555
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกพื้นบ้านและสัตว์ปีกป่า และผลิตภัณฑ์ รวมถึง ลูกไก่อายุ 1 วัน ไข่ และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ฟิลิปปินส์ระงับการนำเข้าชั่วคราวสัตว์ปีกพื้นบ้านและสัตว์ปีกป่า รวมไปถึงรวมไปถึงเนื้อสัตว์ปีก ลูกเจี๊ยบอายุ 1 วัน ไข่ และน้ำเชื้อ ที่มาจากไต้หวัน
เอกสารฉบับเต็ม: 
http://members.wto.org/crnattachments/2012/sps/PHL/12_4896_00_e.pdf

วันที่มีผลบังคับใช้ : 28 พ.ย. 55
ไต้หวัน




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/210/Add.1
21 ธันวาคม 2555
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกพื้นบ้านและสัตว์ปีกป่า และผลิตภัณฑ์ รวมถึง ลูกไก่อายุ 1 วัน ไข่ และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : กรมวิชาการเกษตรฟิลิปปินส์ ได้ประกาศยกเลิกระงับการนำเข้าชั่วคราวสัตว์ปีกพื้นบ้านและสัตว์ปีกป่า และผลิตภัณฑ์ รวมถึง ลูกไก่อายุ 1 วัน ไข่ และน้ำเชื้อที่มาจากไต้หวัน ซึ่งมีผลบังคับใช้ 7 พ.ย.55 เนื่องจากมีการประเมินความเสี่ยงการปนเปื้อนจากการนำเข้าสัตว์ปีกและผลิตภัณฑ์จากไต้หวัน แล้วปรากฎว่าความเสี่ยงอยู่ในระดับน้อยมากมาก (negligible)
เอกสารฉบับเต็ม: 
http://members.wto.org/crnattachments/2012/sps/PHL/12_4894_00_e.pdf

วันที่มีผลบังคับใช้ : 28 พ.ย. 55
ไต้หวัน




เวียดนาม เวียดนาม
19 ธันวาคม 2555
มาตรการปกติ
สินค้าเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เบียร์ soft drink นมแปรรูป น้ำมันพืช แป้ง (flour starch) เค้ก แยม และบรรจุภัณฑ์ของสินค้าดังกล่าว
สาระสำคัญ : เอกสารแนวทางเกี่ยวกับขั้นตอนการตรวจสอบของเวียดนาม สำหรับอาหารนำเข้าภายใต้ความรับผิดชอบของกระทรวงอุตสาหกรรมและการค้า
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/36
29 พฤศจิกายน 2555
มาตรการปกติ
สินค้าวัสดุสัมผัสอาหาร
สาระสำคัญ : กฎระเบียบทางเทคนิคเกี่ยวกับสุขลักษณะสำหรับแก้วและเซรามิกที่นำมาใช้เป็นวัสดุสัมผัสอาหารโดยตรง
วันที่มีผลบังคับใช้ : ก.ค.56
ประเทศคู่ค้า




บรูไน G/SPS/N/BRN/3/Rev.1
29 พฤศจิกายน 2555
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรและประมง (สด) อาหารแปรรูป
สาระสำคัญ : บรูไนแจ้งระงับการนำเข้าอาหารจากญี่ปุ่น ได้ใช้มาตรการปกป้อง (precuationary measure) เพื่อปกป้องจากอาหารที่ปนเปื้อนสารกัมมันตรังสี ในการนำเข้าเนื้อสัตว์ อาหารทะเล นมและผลิตภัณฑ์นม ผลไม้และผัก (ทั้งสดและแปรรูป) หัวมันฝรั่งและมันเทศ ผลิตภัณฑ์จากสาหร่ายทะเลและชาเขียวจากกรณีโรงไฟฟ้า ฟูกุชิมา ไอบาระกิ โทชิกิ กันมา ไซตามะ คานาวะกะ โตเกียวและชิบะ ในประเทศญี่ปุ่น อย่างไรก็ตามการนำเข้าผลิตภัณฑ์นอกเหนือที่ระบุจากโรงงานไฟฟ้าดังกล่าว และผลิตภัณฑ์จากโรงงานไฟฟ้าอื่นในญี่ปุ่น ที่นำเข้ามายังบรูไนต้องมีการตรวจสอบและแสดงการนำเข้าอาหารมายังบรูไน โดยได้ต้องได้รับการตรวจสอบโดย CA ในญี่ปุ่น และต้องปฎิบัติตามรายงานการวิเคราะห์ภาวะกัมมันตภาพรังสี
เอกสารฉบับเต็ม: 
http://members.wto.org/crnattachments/2012/sps/BRN/12_4609_00_e.pdf

วันที่มีผลบังคับใช้ : 10 ต.ค. 55
ญี่ปุ่น




สิงคโปร์ G/SPS/N/SPG/46
27 พฤศจิกายน 2555
มาตรการปกติ
สินค้าสัตว์ทดลอง (ferret)
สาระสำคัญ : เงื่อนไขด้านสัตวแพทย์ในการนำเข้าสัตว์ทดลอง (ferret) มายังสิงคโปร์ ซึ่งมีการแก้ไขดังนี้ -ให้แทนที่คำว่า "AVA-approved inactivated vaccine" ด้วย "inactivated vaccine or recombinant vaccine acceptable to AVA" สำหรับการทำวัคซีนพิษสุขบ้าก่อนส่งออก ซึ่งวัคซีนพิษสุนัขบ้าต้องได้รับการรับรองในประเทศผู้ส่งออก
เอกสารฉบับเต็ม: 
http://members.wto.org/crnattachments/2012/sps/SGP/12_4557_03_e.pdf

วันที่มีผลบังคับใช้ : 23 ก.พ.56
ประเทศคู่ค้า




สิงคโปร์ G/SPS/N/SPG/45
27 พฤศจิกายน 2555
มาตรการปกติ
สินค้าสุนัขและแมว
สาระสำคัญ : เงื่อนไขด้านสัตวแพทย์ในการนำเข้าสุนัขและแมวมายังสิงคโปร์ ซึ่งมีการแก้ไขดังนี้ 1) เอาข้อกำหนดบังคับในการทำวัคซีนสำหรับ Chlamydophila felis ก่อนส่งออก ออกจากเงื่อนไขนี้ 2) ปรับปรุงกรอบเวลาสำหรับการฆ่าพาราสิตภายในและภายนอก ซึ่งทั้งสอง treatment สามารถดำเนินการได้ภายใน 2 ถึง 7 วัน แต่หากจะฆ่าเฉพาะพาราสิตภายในสามารถทำได้ภายใน 4 วัน ทั้งนี้การแก้ไขข้อกำหนดนี้มีผลกระทบน้อยต่อการฆ่าเชื้อ 3) ให้แทนที่คำว่า "AVA-approved inactivated vaccine" ด้วย "inactivated vaccine or recombinant vaccine acceptable to AVA" สำหรับการทำวัคซีนพิษสุนัขบ้าก่อนส่งออก ซึ่งวัคซีนพิษสุนัขบ้าต้องได้รับการรับรองจากประเทศผู้ส่งออก
เอกสารฉบับเต็ม: 
http://members.wto.org/crnattachments/2012/sps/SGP/12_4556_00_e.pdf
http://members.wto.org/crnattachments/2012/sps/SGP/12_4556_01_e.pdf
http://members.wto.org/crnattachments/2012/sps/SGP/12_4556_02_e.pdf
http://members.wto.org/crnattachments/2012/sps/SGP/12_4556_03_e.pdf

วันที่มีผลบังคับใช้ : 23 ก.พ.56
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/35
22 พฤศจิกายน 2555
มาตรการปกติ
สินค้าอาหารบรรจุเสร็จหรืออาหารสำเร็จรูป
สาระสำคัญ : ร่างประกาศสำหรับอาหารบรรจุเสร็จ 1) เนื้อหาและการติดฉลาก : ชื่อผลิตภัณฑ์ ส่วนประกอบ ปริมาณ วันหมดอายุ คำแนะนำ และคำเตือนความปลอดภัย การเก็บรักษา ชื่อและที่อยู่หรือหน่วยงาน แหล่งกำเนิด 2) เนื้อหาการติดฉลากสำหรับบางผลิตภัณฑ์ รวมทั้งวัตถุเจือปนอาหารสำหรับขายปลีก อาหารดัดแปลงพันธุกรรม อาหารฉายรังสี 3) ระเบียบอื่นๆ การติดฉลากโภชนาการ วิธีการติดฉลากอื่นๆ
วันที่มีผลบังคับใช้ : เม.ย. 56
ประเทศคู่ค้า




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/58
22 พฤศจิกายน 2555
มาตรการปกติ
สินค้าผลิตภัณฑ์พืชสวน(Horticulture product)
สาระสำคัญ : กฎกระทรวงการค้าฉบับที่ 60/M-DAG/PER/9/2012 ลงวันที่ 21 ก.ย. 55 เป็นการแก้ไขของกฎกระทรวงการค้า ฉบับที่ 30/M-DAG/PER/5/2012 เกี่ยวกับข้อกำหนดการนำเข้าผลิตภัณฑ์พืชสวน จุดประสงค์เพื่อเป็นการสนับสนุนความมั่นคงอาหาร เศรษฐกิจและเพื่อคุ้มครองผู้บริโภค ตามกฎหมายฉบับที่ 13 ขอบเขตประกอบด้วย 1) ขั้นตอนและข้อกำหนดสำหรับการนำเข้า 2) การบรรจุหีบห่อ 3) การติดฉลาก 4) การทวนสอบหรือตรวจสอบย้อนกลับผลิตภัณฑ์พืชสวน 5) การรายงาน 6) บทลงโทษ ซึ่งได้แจ้ง WTO ภายใต้กรอบความตกลงว่าด้วยความตกลงว่าด้วยวิธีการดำเนินการออกใบอนุญาตนำเข้า (Agreement on Import Licensing Procedures) ด้วย
วันที่มีผลบังคับใช้ : 28 ก.ย. 55
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/858/Add.2
13 พฤศจิกายน 2555
มาตรการปกติ
สินค้าระบบการรับรองผู้นำเข้าเนื้อสัตว์
สาระสำคัญ : ฟิลิปปินส์แจ้งขยายเวลาระบบการรับรองผู้นำเข้าเนื้อสัตว์ถึงวันที่ 4 ธ.ค. 55
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/56
06 พฤศจิกายน 2555
มาตรการปกติ
สินค้าสัตว์ที่สามารถถ่ายทอดโรคพิษสุนัขบ้า
สาระสำคัญ : (ร่าง) กระทรวงเกษตรฯเกี่ยวกับมาตรการกักกันสัตว์สำหรับการเคลี่อนย้ายสัตว์ที่สามารถถ่ายทอดโรคพิษสุนัขบ้ามายังประเทศอินโดนีเซีย เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดเข้ามายังอินโดนีเซีย ซึ่งการนำเข้าสัตว์ดังกล่าวต้องมาจากประเทศที่ปลอดจากโรคพิษสุนัขบ้าทั้งที่ใช้วัคซีนและไม่ใช้วัคซีน และจากประเทศที่ไม่ปลอดโรคพิษสุนัขบ้า โดยต้องปฎิบัติตามข้อกำหนดกักกันด้วย
วันที่มีผลบังคับใช้ : 6 เดือนหลังประกาศใช้
ประเทศคู่ค้า




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/55
23 ตุลาคม 2555
มาตรการปกติ
สินค้าผลิตภัณฑ์พืชสวน
สาระสำคัญ : ร่างกฎระเบียบเกี่ยวกับหลักเกณฑ์การรับรองสิทธิการนำเข้าผลิตภัณฑ์จากพืชสวน ( Import Recommendation of Horticultural Product-RIPH ) โดยกำหนดหลักเกณฑ์สำหรับผู้นำเข้า และตรวจสอบการรับรองการนำเข้าตามข้อกำหนดด้านอาหารปลอดภัย โดยมีขอบเขต ดังนี้ - ข้อกำหนด และการรับรองผู้ผลิต RIPH - การได้รับใบรับรอง RIPH - มาตรการด้านการควบคุม การอนุญาต กฎระเบียบนี้ครอบคลุมผลิตภัณฑ์พืชสวน (ผัก ผลไม้ และ ไม้ประดับ) และผลิตภัณฑ์พืชสวนแปรรูป 1.กฎระเบียบนี้ไม่ครอบคลุมผลิตภัณฑ์พืชสวนที่ได้ถือมา (hand-carried) รวมทั้งจุดผ่านแดนทั้ง 2 ประเทศซึ่งตั้งใจนำมาบริโภคเป็นการส่วนตัวซึ่งไม่เกิน 10 กิโลกรัมต่อคน 2.กฎระเบียบนี้จะไม่ใช้เมื่อมีการนำเข้าผลิตภัณฑ์พืชสวนทางเรือที่ได้นำเข้าก่อนวันที่ 28 ก.ย. 55 โดยตรวจสอบจากใบขนถ่ายสินค้า ใบขนถ่ายทางอากาศยาน และใบส่งของ การนำเข้าผลิตภัณฑ์พืชสวนนั้นสามารถดำเนินการหลังจากการอนุมัติการนำเข้าโดยกระทรวงการค้าซึ่งใบอนุมัติการนำเข้านี้ออกโดยกระทรวงการค้าหลังจากได้รับ RIPH จากกระทรวงเกษตร ผู้ออกใบ RIPH คืออธิบดี กรมการดำเนินงานการและการตลาดเกษตร ซึ่งปฏิบัติหน้าที่แทนรัฐมนตรีกระทรวงเกษตร
วันที่มีผลบังคับใช้ : 28 ก.ย. 55
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/215
04 ตุลาคม 2555
มาตรการปกติ
สินค้าปลาทะเลและกุ้งหมักเกลือ
สาระสำคัญ : ร่างมาตรฐาน Final Draft เกี่ยวกับปลาทะเลและกุ้งหมักเกลือใน Section 3.1 ที่ใช้เพื่อการบริโภค ใช้ประกอบอาหาร และใช้เพื่อการแปรรูป ใช้แทนที่ Administrative Order No. 18, series of 1970 ของ Bureau of Food and Drug และมาตรฐานนี้ไม่ครอบคลุมถึงผลิตภัณท์น้ำปลา patis หรือผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการหมักปลา
เอกสารฉบับเต็ม: 
http://members.wto.org/crnattachments/2012/sps/PHL/12_3904_00_e.pdf

วันที่มีผลบังคับใช้ : 11 ธ.ค. 55
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/216
04 ตุลาคม 2555
มาตรการปกติ
สินค้าปลาทะเลและกุ้งหมักเกลือ
สาระสำคัญ : ร่างมาตรฐาน Final Draft เกี่ยวกับปลาทะเลและกุ้งหมักเกลือใน Section 3.1 ที่ใช้เพื่อการบริโภค ใช้ประกอบอาหาร และใช้เพื่อการแปรรูป ใช้แทนที่ Administrative Order No. 18, series of 1970 ของ Bureau of Food and Drug และมาตรฐานนี้ไม่ครอบคลุมถึงผลิตภัณท์น้ำปลา patis หรือผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการหมักปลา มาตรฐานนี้ครอบคลุมถึงเกลือไอโอดีนที่ใช้เป็นส่วนประกอบในการผลิตอาหาร
วันที่มีผลบังคับใช้ : 11 ธ.ค. 55
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/85/Add.1
04 ตุลาคม 2555
มาตรการปกติ
สินค้าการรับรองกระบวนการสำหรับผู้นำเข้าเนื้อสัตว์
สาระสำคัญ : ร่างข้อกำหนดเพิ่มเติมเกี่ยวกับกลุ่มผู้ผลิตที่ระบุในSection III of DA Administrative Order No.26, series of 2005 เรื่องมาตรการควบคุมการนำเข้าเนื้อสัตว์ ซึ่งผู้ที่นำเข้าเนื้อสัตว์หรือผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์เพื่อใช้ในการแปรรูป จำหน่ายส่ง และจำหน่ายปลีก จะต้องผ่านขั้นตอนการตรวจสอบรับรองจาก Department of Agriculture-National Meat Inspection Service (DA-NMIS)
เอกสารฉบับเต็ม: 
http://members.wto.org/crnattachments/2012/sps/PHL/12_3906_00_e.pdf

วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/34
02 ตุลาคม 2555
มาตรการปกติ
สินค้าอาหารนำเข้าที่มีต้นกำเนิดจากพืช
สาระสำคัญ : ร่างกฎระเบียบ Decree No 38/2012/ND-CP ลงวันที่ 25 เมษายน 2555 เกี่ยวกับแนวนโยบายการปฏิบัติตามกฎหมายด้านอาหารปลอดภัย โดยแก้ไขและปรับปรุงบางมาตราในประกาศ 13/2011/TT-BNNPTNT T ดังนี้ ก. ย่อหน้าที่ 1 และ 2, มาตราที่ 1 ข. ย่อหน้าที่ 6, มาตราที่ 3 ค. ย่อหน้าที่ 1 (a, b), มาตราที่ 1 ง, มาตราที่ 10 จ. ย่อหน้าที่ 4, มาตราที่ 27 ฉ. ย่อหน้าที่ 5, มาตราที่ 28
วันที่มีผลบังคับใช้ : 45 วันหลังจากวันที่ตีพิมพ์
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/NPHL/211/Add.1
17 กันยายน 2555
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกพื้นบ้านและป่า และผลิตภัณฑ์รวมทั้งเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่
สาระสำคัญ : ฟิลิปปินส์แจ้งยกเลิกห้ามนำเข้าชั่วคราวสำหรับสัตว์ปีกพื้นบ้านและป่า และผลิตภัณฑ์รวมทั้งเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ จากเนเธอร์แลนด์ทั้งนี้มีผลบังคับใช้ 2 ส.ค. 55 เนื่องจากฟิลิปปินส์ก็ได้ประเมินความเสี่ยงการปนเปื้อนจากการนำเข้าเนื้อสัตว์ปีกจากเนเธอร์แลนด์แล้วปรากฎว่าความเสี่ยงอยู่ในระดับ negilible (น้อยมากมาก)
เอกสารฉบับเต็ม: 
http://members.wto.org/crnattachments/2012/sps/PHL/12_3679_00_e.pdf

วันที่มีผลบังคับใช้ : 2 ส.ค. 55
เนเธอร์แลนด์




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/214
14 กันยายน 2555
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกป่าและพื้นบ้านและผลิตภัณฑ์รวมทั้งเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ฟิลิปปินส์กำลังประกาศห้ามนำเข้าชัวคราวสำหรับสัตว์ปีกป่าและพื้นบ้านและผลิตภัณฑ์รวมทั้งเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่และน้ำเชื้อ จาก Utrecht เนเธอร์แลนด์ เนื่องพบเชื้อไข้หวัดนก LPAI serotype H7N7 เมื่อวันที่ 9 ส.ค. 55
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
Utrecht เนเธอร์แลนด์




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/56/Add.1
13 กันยายน 2555
มาตรการปกติ
สินค้าสัตว์ปีกพื้นบ้านและป่า และผลิตภัณฑ์รวมทั้งเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่
สาระสำคัญ : ฟิลิปปินส์แจ้งยกเลิกห้ามนำเข้าชั่วคราวสำหรับสัตว์ปีกพื้นบ้านและป่า และผลิตภัณฑ์รวมทั้งเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ จากประเทศไทยทั้งนี้มีผลบังคับใช้ 14 ส.ค. 55 ประเทศไทยได้แจ้ง OIE ว่าสามารถกำจัดเชื้อไข้หวัดนก HPAI ได้แล้ว ซึ่งฟิลิปปินส์ก็ได้ประเมินความเสี่ยงการปนเปื้อนจากการนำเข้าเนื้อสัตว์ปีกจากไทยแล้วปรากฎว่าความเสี่ยงอยู่ในระดับ negilible (น้อยมากมาก)
เอกสารฉบับเต็ม: 
http://members.wto.org/crnattachments/2012/sps/PHL/12_3630_00_e.pdf

วันที่มีผลบังคับใช้ : 14 ส.ค. 55
ไทย




มาเลเซีย G/SPS/N/MYS/26/Add.2
14 สิงหาคม 2555
มาตรการปกติ
สินค้าปลาสวยงามมีชีวิต
สาระสำคัญ : กรมประมงมาเลเซีย แก้ไข ข้อกำหนดการรับรองสุขภาพ ในการนำเข้าปลาสวยงามที่มีชีวิตเข้าสู่มาเลเซีย ซึ่งมีการแก้ไขเพียงเล็กน้อย การแก้ไขร่างกฎหมาย ในการปรับปรุงประสิทธิภาพ การดำเนินการภายในประเทศเพื่อควบคุมและพิจารณากฎระเบียบใหม่
เอกสารฉบับเต็ม: 
http://members.wto.org/crnattachments/2012/sps/MYS/12_3254_00_e.pdf

วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศมาเลเซีย




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/209/Add.1
03 สิงหาคม 2555
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าไข่ไก่ สัตว์ที่มีชีวิต สัตว์ปีก และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : Department of Agiculture (DA) อ้างถึง Memorandum order (MO) No.15 series of 2012 ฟิลิปปินส์ประกาศยกเลิกห้ามนำเข้าชั่วคราวสำหรับสัตว์ปีกพื้นบ้านและ สัตว์ป่าและผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีกรวมเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และ seimeen จากเมืองเมลเบิร์น รัฐวิคตอเรีย ประเทศประเทศออสเตรเลีย เนื่องจากกระทรวงเกษตรของแคนเบอร์รา ได้รายงานต่อ OIE แล้วว่าสามารถแก้ไขปัญหาโรคไข้หวัดนกแล้วซึ่งได้ปฏิบัติตามข้อกำหนดของ OIE แล้ว ซึ่งขณะนี้ออสเตรเลียปลอดจากเชื้อไข้หวัดนกสายพันธุ์ H5N3, LPAI นอกจากนี้ออสเตรเลียปลอดจากการปนเปื้อนของเชื้อไข้หวัดนกจากการนำเข้าสัตว์ปีกและผลิตภัณฑ์จากเมลเบิร์น
เอกสารฉบับเต็ม: 
http://members.wto.org/crnattachments/2012/sps/PHL/12_3070_00_e.pdf

วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ออสเตรเลีย




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/54/corr.1
23 กรกฎาคม 2555
มาตรการปกติ
สินค้าผลไม้สด และ/หรือผักที่กินผลสด (vegetable fruit)
สาระสำคัญ : กฎกระทรวงเกษตรฉบับที่ 42/Permentan/OT.140/6/2012 เกี่ยวกับมาตรการกักกันพืชสำหรับการนำเข้าผลไม้สด และ/หรือผักที่กินผล (vegetable fruiting) มายังอินโดนีเซีย กฎนี้เป็นการแก้ไขกฎกระทรวงเกษตร ฉบับที่ 37 Kpts/HK.060/1/2006 กฎนี้ครอบคลุมข้อกำหนดการกักกันพืชสำหรับการนำเข้าผลไม้สด และ/หรือผักที่กินผลสด และกำหนดด่านนำเข้า - ผลไม้สด และ/หรือผักที่กินผลสด ที่นำเข้ามายังอินโดนีเซีย จะต้อง 1) มีใบรับรองสุขอนามัยพืช (PC) จากประเทศแหล่งกำเนิด และ/หรือนำผ่านประเทศอินโดนีเซีย 2) ผ่านด่านนำเข้าตามที่กำหนด 3) ได้รับการแจ้งและยื่นเสนอโดยเจ้าหน้าที่กักกัน ณ ด่านนเข้าที่กำหนดสำหรับมาตรการกักกันพืช - ผลไม้ทั้งหมด 36 ชนิด ผักที่กินผล 6 ชนิด ที่นำเข้ามายังอินโดนีเซีย จำเป็นต้องใช้ข้อกำหนดพิเศษ - ผลไม้สด และ/หรือผักที่กินผลสด ที่นำเข้าอินโดนีเซียจากพื้นที่ผลิตในประเทศที่ปลอดแมลงวันผลไม้ซึ่งผ่านการพิจารณาโดย Director General of Indonesia Agriculture Quarantine (ภายใต้กระทรวงเกษตรฯ) หรือจากแปลงผลิตในประเทศแหล่งกำเนิดซึ่งไม่ปลอดแมลงวันผลไม้ - ผลไม้สด และ/หรือผักที่กินผลสด ที่นำเข้ามายังอินโดนีเซียจากแปลงผลิตในประเทศแหล่งกำเนิดที่ปลอดแมลงวันผลไม้จะต้องรับรองเพิ่มเติม (Additional declaration) มาพร้อมกับใบ PC ด้วย - ผลไม้สด และ/หรือผักที่กินผลสด ที่นำเข้ามายังอินโดนีเซียจากแปลงผลิตในประเทศแหล่งกำเนิด ซี่งไม่ปลอดแมลงวันผลไม้จะต้องมีวิธีป้องกัน/กำจัดโดย การใช้ความเย็น (cold treatment)/การรม (fumigation)/ การใช้ไอความร้อน (vopor heat treatment) ด้วยการฉายรังสี และต้องรับรองเพิ่มเติมพร้อมกับใบ PC ด้วย - การนำเข้า ผลไม้สด และ/หรือผักที่กินผลสด จะต้องนำเข้าที่ด่านดังต่อไปนี้ 1) ท่าเรือ Tanjung Pe
วันที่มีผลบังคับใช้ : 19 มิ.ย.55
ประเทศคู่ค้า




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/50/Add.1
19 กรกฎาคม 2555
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าเนื้อกระดูกป่น
สาระสำคัญ : อินโดนีเซียแจ้งยกเลิกห้ามนำเข้าเนื้อกระดูกป่น (Meat Bone Meal) จากสหรัฐอเมริกา ซึ่งเคยมีการระบาดของ BSE เมื่อ 24 เม.ย. 55 และได้ออกประกาศห้ามนำเข้าเนื้อกระดูกป่นตั้งแต่ 8 พ.ค. 55 แต่จากผลการศึกษาการวิเคราะห์ความเสี่ยงด้านสัตว์ และมีการทบทวนโดยคณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญด้าน BSE รวมทั้งมีการอภิปรายระหว่างอินโดนีเซียและสหรัฐฯ และมีผลให้ยกเลิกการห้ามนำเข้าเนื้อกระดูกป่นจากสหรัฐฯ แต่ทั้งนี้ยังมีซากสัตว์ กระดูกในเนื้อและเจลาติน(offal, bone in meat and gelatin of bone origin) ยังคงจำเป็นมีการประเมินความเสี่ยงเชิงลึกและอย่างรอบครอบเนื่องจากมีผลกระทบต่อสุขภาพมนุษย์
วันที่มีผลบังคับใช้ : 5 ก.ค. 55
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/33
16 กรกฎาคม 2555
มาตรการปกติ
สินค้าสัตว์บกและผลิตภัณฑ์ การสุ่มตัวอย่างเชื้อโรค
สาระสำคัญ : เวียดนามแจ้งเวียนขั้นตอนสำหรับกักกันและการตรวจสอบสัตว์บกและผลิตภัณฑ์ - ขั้นตอนการกักกันและตรวจสอบสัตว์บกและผลิตภัณฑ์เมื่อมีการขนส่งมาภายในประเทศเวียดนาม (การเคลื่อนย้ายภายใน) - ขั้นตอนการกักกันและตรวจสอบสัตว์บกและผลิตภัณฑ์เมื่อมีการนำเข้าและส่งออก - ขั้นตอนการกักกันและตรวจสอบสัตว์บกและผลิตภัณฑ์เมื่อมีการเคลื่อนย้ายผ่านเวียดนาม – การส่ง การรับการสุ่มตัวอย่างเชื้อโรคในผลิตภัณฑ์จากสัตว์ - แบบฟอร์มและรูปแบบสำหรับการสมัครการกักกันและการตรวจสอบ
วันที่มีผลบังคับใช้ : 45 วันหลังประกาศราชกิจจาฯ
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/32
13 กรกฎาคม 2555
มาตรการปกติ
สินค้าสาร ractopamine
สาระสำคัญ : เวียดนามแจ้งผ่อนปรนกฎระเบียบ (Deregulation) การกำหนดค่า MRL ของสาร ractopamine ตามที่กระทรวงสาธารณสุขเวียดนามได้ออกคำสั่ง Decision No. 46/2007/QÐ-BYT ลงวันที่ 19 ธันวาคม 2550
วันที่มีผลบังคับใช้ : 45 วันหลังจากประกาศฯ
ประเทศคู่ค้า




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/53
13 กรกฎาคม 2555
มาตรการปกติ
สินค้าผักประภทหัว(bulb)สด ได้แก่ หอมแดง กระเทียม หอมหัวใหญ่ และลีค
สาระสำคัญ : กฎกระทรวงเกษตรฉบับที่ 43/Permentan/OT.140/6/2012 เกี่ยวกับมาตรการกักกันพืชสำหรับการนำเข้าผักประเภทหัว(bulb)สด มายังอินโดนีเซีย กฎนี้เป็นการแก้ไขกฎกระทรวงเกษตรฉบับที่ 18/Permentan/OT.140/6/2008 กฎนี้ครอบคลุมข้อกำหนดการกักกันพืชสำหรับการนำเข้า ผักประภทหัว(bulb)สด และกำหนดด่านนำเข้า - ผักประภทหัว(bulb)สดที่นำเข้ามายังอินโดนีเซีย จะต้อง 1) มีใบรับรองสุขอนามัยพืช (PC) จากประเทศแหล่งกำเนิด และ/หรือนำผ่าน 2) ผ่านด่านนำเข้าตามที่กำหนด 3) ได้รับการแจ้งและยื่นเสนอโดยเจ้าหน้าที่กักกัน ณ ด่านนเข้าที่กำหนดสำหรับมาตรการกักกันพืช - ผักประเภทหัว(bulb)สดที่นำเข้ามายังอินโดนีเซีย จากพื้นที่ผลิตในประเทศที่ปลอดศัตรูพืชกักกันซึ่งผ่านการพิจารณาโดย Director General of Indonesia Agriculture Quarantine (ภายใต้กระทรวงเกษตรฯ) หรือจากแปลงผลิตในประเทศแหล่งกำเนิดซึ่งไม่ปลอดศัตรูพืช กักกัน - ผักประเภทหัว(bulb)สดที่นำเข้ามายังอินโดนีเซียจากแปลงผลิตในประเทศแหล่งกำเนิดที่ปลอดศัตรูพืชกักกันจะต้องรับรองเพิ่มเติม (Additional declaration) มาพร้อมกับใบ PC ทั้งนี้ผักประภทหัว(bulb)สด ต้องทำให้พ้นสภาพการมีชีวิต (devitalized) และต้องไม่มีดิน/ปุ๋ยหมักดินมาด้วย - ผักประเภทหัว(bulb)สดที่นำเข้ามายังอินโดนีเซียจากแปลงผลิตในประเทศแหล่งกำเนิด ซี่งไม่ปลอดศัตรูพืชกักกัน จะต้องมีวิธีป้องกัน/ฆ่าเชื้อโรคโดยการรมด้วยสารเคมีหรือการฉายรังสี และต้องรับรองทั้งนี้ผักประเภทหัว(bulb)สด ต้องทำให้พ้นสภาพการมีชีวิต และต้องไม่มีดิน/ปุ๋ยหมักดินมาด้วย เพิ่มเติมพร้อมกับใบ PC - การนำเข้า ผักประเภทหัว(bulb)สด จะต้องนำเข้าที่ด่านดังต่อไปนี้ 1) ท่าเรือ Tanjung Pe
วันที่มีผลบังคับใช้ : 19 มิ.ย.55
ประเทศคู่ค้า




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/54
13 กรกฎาคม 2555
มาตรการปกติ
สินค้าผลไม้สด และ/หรือผักที่กินผลสด (vegetable fruit)
สาระสำคัญ : กฎกระทรวงเกษตรฉบับที่ 42/Permentan/OT.140/6/2012 เกี่ยวกับมาตรการกักกันพืชสำหรับการนำเข้าผลไม้สด และ/หรือผักที่กินผล (vegetable fruiting) มายังอินโดนีเซีย กฎนี้เป็นการแก้ไขกฎกระทรวงเกษตรฉบับที่ 37/ Kpts/HK.060/1/2006 กฎนี้ครอบคลุมข้อกำหนดการกักกันพืชสำหรับการนำเข้าผลไม้สด และ/หรือผักที่กินผลสด และกำหนดด่านนำเข้า - ผลไม้สด และ/หรือผักที่กินผลสด ที่นำเข้ามายังอินโดนีเซีย จะต้อง 1) มีใบรับรองสุขอนามัยพืช (PC) จากประเทศแหล่งกำเนิด และ/หรือนำผ่านประเทศอินโดนีเซีย 2) ผ่านด่านนำเข้าตามที่กำหนด 3) ได้รับการแจ้งและยื่นเสนอโดยเจ้าหน้าที่กักกัน ณ ด่านนเข้าที่กำหนดสำหรับมาตรการกักกันพืช - ผลไม้ทั้งหมด 36 ชนิด ผักที่กินผล 6 ชนิด ที่นำเข้ามายังอินโดนีเซีย จำเป็นต้องใช้ข้อกำหนดพิเศษ - ผลไม้สด และ/หรือผักที่กินผลสด ที่นำเข้าอินโดนีเซียจากพื้นที่ผลิตในประเทศที่ปลอดแมลงวันผลไม้ซึ่งผ่านการพิจารณาโดย Director General of Indonesia Agriculture Quarantine (ภายใต้กระทรวงเกษตรฯ) หรือจากแปลงผลิตในประเทศแหล่งกำเนิดซึ่งไม่ปลอดแมลงวันผลไม้ - ผลไม้สด และ/หรือผักที่กินผลสด ที่นำเข้ามายังอินโดนีเซียจากแปลงผลิตในประเทศแหล่งกำเนิดที่ปลอดแมลงวันผลไม้จะต้องรับรองเพิ่มเติม (Additional declaration) มาพร้อมกับใบ PC ด้วย - ผลไม้สด และ/หรือผักที่กินผลสด ที่นำเข้ามายังอินโดนีเซียจากแปลงผลิตในประเทศแหล่งกำเนิด ซี่งไม่ปลอดแมลงวันผลไม้จะต้องมีวิธีป้องกัน/กำจัดโดย การใช้ความเย็น (cold treatment)/การรม (fumigation)/ การใช้ไอความร้อน (vopor heat treatment) ด้วยการฉายรังสี และต้องรับรองเพิ่มเติมพร้อมกับใบ PC ด้วย - การนำเข้า ผลไม้สด และ/หรือผักที่กินผลสด จะต้องนำเข้าที่ด่านดังต่อไปนี้ 1) ท่าเรือ Tanjung Pe
วันที่มีผลบังคับใช้ : 19 มิ.ย.55
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/31
02 กรกฎาคม 2555
มาตรการปกติ
สินค้ากฎระเบียบการจัดการสารกำจัดศัตรูพืช
สาระสำคัญ : เวียดนามกำลังประกาศใช้กฎระเบียบการจัดการสารกำจัดศัตรูพืช ซึ่งการขึ้นทะเบียนสารเคมี การผลิต การแปรรูป บรรจุหีบห่อ การส่งออก การนำเข้า การค้า การเก็บรักษา การขนส่ง การใช้ การกำจัดของเสีย การติดฉลาก บรรจุภัณฑ์ การสัมมนา การสัมมนาเชิงปฎิบัติการ การโฆษณา การทดสอบ bioefficacy test และการตรวสอบคุณภาพ และการตกค้างของสารกำจัดศัตรูพืช การรับรอง
วันที่มีผลบังคับใช้ : 45 วันนับจากวันประกาศ
ประเทศคู่ค้า




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/51
29 มิถุนายน 2555
มาตรการปกติ
สินค้าสัตว์กระเพาะรวม (วัว ควาย แพะ แกะ)
สาระสำคัญ : อินโดนีเซียได้แจ้งร่างกฎระเบียบกระทรวงเกษตรที่เกี่ยวข้องกับมาตรการกักกันสัตว์เพื่อการนำเข้าและส่งออกสัตว์ กระพาะรวมเข้ามายังอินโดนีเซีย เพื่อรับรองว่าปลอดโรคสัตว์กักกัน ซึ่งกฎระเบียบประกอบด้วย ข้อกำหนดของ ประเทศแหล่งกำเนิด เอกสารต่างๆ การขนส่งสินค้าทางเรือ มาตรการกักกันที่ด่านหรือจุดปล่อยในประเทศแหล่ง เนิดและ/หรือมาตรการขนส่ง เครื่องมือกักกันและจุดปล่อยสู่ภายนอก
วันที่มีผลบังคับใช้ : 3 เดือนหลังประกาศใช้
ประเทศคู่ค้า




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/52
29 มิถุนายน 2555
มาตรการปกติ
สินค้าสินค้าเกษตร
สาระสำคัญ : อินโดนีเซียได้กำหนดแนวทาง (guideline) ปฏิบัติในการวิเคราะห์ความเสี่ยงการนำเข้า (IRA) ในการนำเข้าสินค้า เกษตรมายังอินโดนีเซีย guideline ได้กำหนดหลักพื้นฐานของ IRA ข้อกำหนดสำหรับการปฏิบัติ IRA กระบวน การทำ IRA การติดตาม IRA การจัดทำเอกสารและการทบทวน IRA
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




อินโดนีเซีย G/TBT/N/IDN/60
29 มิถุนายน 2555
มาตรการปกติ
สินค้าอาหารแปรรูป
สาระสำคัญ : อินโดนีเซียประกาศกฎระเบียบ Head of NADFC RI No HK.03.1.5.12.11.09956 ปี 2554 เกี่ยวกับขั้นตอนการขึ้นทะเบียนอาหารแปรรูป แทนที่ กฎระเบียบ Head of the NADFC RI No. HK.00.05.1.2569 ปี 2547 เกี่ยวกับเกณฑ์การประเมิน และขั้นตอนสำหรับผลิตภัณฑ์อาหาร - การขึ้นทะเบียนอาหารแปรรูป : จะระบุคำแนะนำ การขึ้นทะเบียนอาหารแปรรูป เป็นแบบ step-by step โดยเริ่มจากการเสนอใบสมัครการขอขึ้นทะเบียน เอกสารคำร้อง และเอกสารที่เกี่ยวข้อง (ตามภาคผนวก) เพื่อการอนุมัติรวมทั้งเพื่อการลำดับเหตุการณ์ของสินค้าแต่ละชนิด สิ่งที่ต้องทำตาม ข้อปฏิบัติทั่วไป การขึ้นทะเบียนอาหารแปรรูป ค่าธรรมเนียม การพิจารณา การทบทวน การขึ้นทะเบียนรอบสอง การประเมินรอบสอง ข้อปฏิบัติสำหรับช่วงเปลี่ยนผ่าน ข้อสรุปวิธีปฏิบัติ
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
-




สิงคโปร์ G/SPS/N/SPG/44
26 มิถุนายน 2555
มาตรการปกติ
สินค้าสารปรุงแต่งอาหาร
สาระสำคัญ : สิงคโปร์ได้ทบทวน Food Regulation แก้ไขครั้งที่ 2ดังนี้ a) สารปรุงแต่อาหารที่อนุญาตให้ใช้ใหม่ เช่น Alpha-cyclodextrin และ Gamma-cyclodextrin (ใช้เป็น stabiliser) ใช้ตาม GMP Beta-cyclodextrin (ใช้เป็นตัวทำละลายสำหรับflavouring essences ) กรด L-glutamic , Monopotassium L-glutamate, Calcium di-L-glutamate, Monoammonium L-glutamate และ Magnesium di- L-glutamate (ใช้เป็น flavour enhancers ) ใช้ตาม GMP กรด Inosinic , Dipotassium 5-inosinate, กรดGuanylic และ Dipotassium 5-guanylate (ใช้เป็น flavour enhancers ) ใช้ตาม GMP สารสกัดโรสแมรี่ (เป็นสารต้านอนุมูลอิสระ) ใน dehydrated meat ใช้ได้ถึง 150 ppm ส่วนในไขมันวัว สัตว์ปีก แพะ หมู รวมมันหมู ใช้ได้ถึง 50 ppm Ferrous ammonium phosphate (เป็นสารเสริมโภชนาการ) เอ็นไซม์Beta-galactosidase ผลิตจาก Kluyveromyces lactis, อ็นไซม์Glucose oxidase ผลิตจากAspergillus niger, เอ็นไซม์Lipase (triacylglycerol acylhydrolase)ผลิตจาก Aspergillus niger(GMOs), เอ็นไซม์Lipase, triacylglycerol ผลิตจาก Aspergillus oryzae (GMOs) เอ็นไซม์Protease ผลิตจาก Bacillus subtilis (ใช้เป็น processing aids) b) ขยายขอบเขตการใช้สารปรุงแต่อาหาร dimethyl polysiloxane (ใช้เป็นสารป้องกันการเกิดฟอง) ใช้ได้ถึง 10 ppm ในแยมผลไม้ เยลลี่และมามาเลด * Calcium disodium ethylenediaminetetracetate หรือ EDTA (เป็นสารที่ช่วยให้สี กลิ่น รส และลักษณะเนื้อสัมผัสให้คงตัว) ใช้ได้ถึง 250 ppm ในหอยกระป๋อง Nisin ในผลิตภัณฑ์ไข่เหลว ใช้ตาม GMP Butylat
วันที่มีผลบังคับใช้ : 1 ส.ค. 55
ประเทศคู่ค้า




สิงคโปร์ G/SPS/N/SGP/1/Add.1
23 มิถุนายน 2555
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าการรับรองการปลอดโรค BSE 6 ปี
สาระสำคัญ : สิงคโปร์แจ้งยกเลิกการรับรองการปลอดโรควัวบ้า (BSE) เป็นเวลา 6 ปี
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/29
29 พฤษภาคม 2555
มาตรการปกติ
สินค้ารายการสินค้าที่อยู่ภายใต้ข้อกำหนดการกักกันพืชในเวียดนาม
สาระสำคัญ : รายการสินค้าที่อยู่ภายใต้ข้อกำหนดการกักกันพืชในเวียดนามสำหรับการส่งออก นำเข้า การส่งออกชั่วคราว และการส่งออกอีกครั้งผ่านเวียดนาม
วันที่มีผลบังคับใช้ : 45 วันหลังจากประกาศ
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/30
29 พฤษภาคม 2555
มาตรการปกติ
สินค้ารายการสินค้าที่อยู่ภายใต้ข้อกำหนดการวิเคราะห์ความเสี่ยงก่อนการนำเข้าเวียดนาม
สาระสำคัญ : รายการสินค้าที่อยู่ภายใต้ข้อกำหนดการวิเคราะห์ความเสี่ยง (PRA)ก่อนการนำเข้าเวียดนาม กฎระเบียบเกี่ยวกับรายชื่อขึ้นอยู่กับการทำ PRA ใหม่และการทบทวนการทำ PRA หรือการยกเลิกรายการสินค้าจาก PRA
วันที่มีผลบังคับใช้ : 45 วันหลังจากประกาศ
ประเทศคู่ค้า




สิงคโปร์ G/SPS/N/SGP/23/Add.1
23 พฤษภาคม 2555
มาตรการปกติ
สินค้ากฎระเบียบเกี่ยวกับโรคสัตว์สำหรับการนำเข้าม้า
สาระสำคัญ : สิงคโปร์แจ้งยกเลิกการรับรองเพิ่มเติมต่อเชื้อไวรัส West Nile Virus ในม้า ซึ่งเดิมปี 2546 หน่วยงาน Agri-Food and Veterinary Authority (AVA) เคยแจ้ง WTO เกี่ยวกับข้อกำหนดการรับรองเพิ่มเติมสำหรับการนำเข้าม้าว่าต้องปราศจากไวรัสเวสต์ไนล์ (West Nile virus) และสำหรับการเรียกคืนม้าของสิงคโปร์จากการแข่งขันระดับนานาชาติ ทั้งนี้มีข้อกำหนดที่เสนอเป็นทางเลือกคือการทดสอบและการฉีดวัคซีนเพื่อรับรองโรคสัตว์ ปัจจุบันสิงคโปร์ยกเลิกข้อกำหนดเพิ่มเติมดังนี้: 1. ประเทศแหล่งกำเนิดจะต้องปราศจากเชื้อไวรัสเวสต์ไนล์ (West Nile virus) เป็นเวลาอย่างน้อย 12 เดือนก่อนวันที่ส่งออก หรือ 2. ม้าต้องมีผลการทดสอบโดยวิธีหา IgM ให้ผลเป็นลบต่อเชื้อดังกล่าวเมื่อมีการตรวจภายในเวลา 15 วันก่อนการส่งออก หรือ 3. ม้าต้องได้รับการฉีดวัคซีนจากหน่วยงานด้านสุขภาพสัตว์ของประเทศส่งออกภายใน 12 เดือนแต่ไม่ใช่ 30 วันของการส่งออกเพื่อป้องกันไวรัสเวสต์ไนล์
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




สิงคโปร์ G/SPS/N/SPG/43
14 พฤษภาคม 2555
มาตรการปกติ
สินค้าน้ำนมอูฐ
สาระสำคัญ : ข้อกำหนดการนำเข้าน้ำนมอูฐ มายังสิงคโปร์เพื่อจำหน่าย น้ำนมอูฐ ไม่ใช่อาหารทั่วๆไปสำหรับคนบริโภคและยังเป็น สินค้าใหม่ในสิงคโปร์ ดังนั้นจึงมีการประเมินความเสี่ยงสำหรับน้ำนมอูฐพาสเจอร์ไรส์ที่นำเข้าเพื่อคนดื่ม สำหรับประเทศต่างๆ ที่สนใจส่งออกน้ำนมอูฐมายังสิงคโปร์ CA ของประเทศผู้ส่งออกจำเป็นต้องยื่นเสนอ ข้อมูลดังต่อไปนี้ 1) ข้อมูลเกี่ยวกับการรตรวจสอบอาหารและระบบการรับรองของ CA 2) การยีนยันและรับรองว่าน้ำนมอูฐผ่านการผลิตตามข้อกำหนดของ CA 3) ผังแสดงการผลิตน้ำนมอูฐดพร้อมรายละเอียดในการฆ่าเชื้อด้วยความร้อนที่ปฏิบัติ 4) ยื่นใบรับรองสุขภาพสัตว์สำหรับทุกๆ การส่งสินค้า ซี่งรับรองว่า น้ำนมอูฐได้ผ่านการฆ่าเชื้อด้วยความร้อนที่ อุณหภูมิ 72 องศาเซลเซียสเป็นเวลาอย่างน้อย 15 นาที่ หรือมีกระบวนการที่เท่าเทียมกัน ใบรับรองฯ ควรมีข้อความต่อไปนี้ปรากฎอยู่ – คำอธิบายสินค้ารวมทั้งยี่ห้อและผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ – ปริมาณ – ต้องระบุ Lot ผลิตและวันที่ผลิต – ชื่อและที่อยู่ของโรงงานหรือโรงงานแปรรูป – ชื่อและที่อยู่ของผู้นำเข้าหรือผู้รับฝากขาย - ชื่อและที่อยู่ของผู้ส่งออกหรือบริษัทส่งของ - ประเทศที่ส่งของ -ประเทศปลายทาง
วันที่มีผลบังคับใช้ : 20 เม.ย. 55
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/27/Rev.1 /Add.1
11 พฤษภาคม 2555
มาตรการปกติ
สินค้าSome articles of Food safety LAw
สาระสำคัญ : 25 เม.ย.55 เวียดนามได้ลงนามและตีพิมพ์กฤษฎีกาฉบับที่ 38/2012/ND-CP ในการกำหนดรายละเอียดการปฏิบัติในบางหังข้อของกฎหมายความปลอดภัยอาหาร (Vietnamease Food Safety Law) ประกอบด้วย 1) ความสอดคล้องของกฎระเบียบทางเทคนิค 2) การรับรองความปลอดภัยจากอาหารดัดแปลงพันธุกรรม 3) การอนุญาต การเพิกถอนใบรับรองความปลอดภัยอาหาร 4) การตรวจสอบความปลอดภัยอาหารนำเข้าและส่งออก 5 ) การติดฉลากอาหาร 6) ความรับผิดชอบของรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้องต่อการดูแลติดตามความปลอดภัยอาหาร
วันที่มีผลบังคับใช้ : 11 มิ.ย. 55
ประเทศคู่ค้า




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/50
08 พฤษภาคม 2555
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าผลิตภัณฑ์สัตว์จากสหรัฐอเมริกา
สาระสำคัญ : จากเหตุการณ์โรควัวบ้าระบาด (BSE) ในแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 24 เมษายน 2555 อินโดนีเซียจึงออกมาตรการเร่งด่วนเพื้อป้องกันการนำเข้าผลิตภัณฑ์สัตว์จากสหรัฐฯ ซึ่งอาจจะเป็นพาหะนำเชื้อวัวบ้าเข้ามา การห้ามนำเข้ายึดตาม dictum 6 ของ Decree of the Minister of Agriculture No. 3238/Kpts/PD.630/9/2009 เกี่ยวกับประเภทของโรคระบาดสัตว์กักกันและการจำแนกพาหะนำโรคและ Ministerial Circular No. 02/Inst/PD.620/4/2012 ลงวันที่ 26 เม.ย. 2555 Ministerial Decree No. 3238/2009 ระบุเกี่ยวกับการนำเข้าพาหะของโรคระบาดสัตว์กลุ่ม 1 จากประเทศที่มีการระบาดโรคสัตว์เข้ามายังอินโดนีเซีย มาตรการนี้มีผลบังคับใช้ 24 เมษายน 2555 สินค้าที่ห้ามได้แก่ เนื้อ เครื่องใน กระดูกในเนื้อ และ Gelatin ที่มีแหล่งกำเนิดจากกระดูก
วันที่มีผลบังคับใช้ : 24 เม.ย. 55
ประเทศคู่ค้า




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/46
07 พฤษภาคม 2555
มาตรการปกติ
สินค้าผลไม้สดและหรือผักและผลไม้
สาระสำคัญ : กฎกระทรวงเกษตรฉบับที่15/Permentan/OT.140/3/2012 ซึ่งเป็นการแก้ไขกฎกระทรวงฯ ฉบับที่ 89/Permentan/OT.140/12/2011 ซึ่งเกี่ยวข้องกับการแก้ไขกฎกระทรวงฯ ฉบับที่ 37/Kpts/HK.060/1/2006 ในเรื่องข้อกำหนดทางเทคนิค และมาตรการกักกันพืชสำหรับการนำเข้าผลไม้และ/หรือผักที่รับประทานผลสด เข้ามายังอินโดนีเซีย (Fruit and Fruit Vegetables) กฎระเบียบนี้ได้กำหนดด่านนำเข้าผลไม้สดและผักรับประทานผลสดซึ่งจะต้องถูกนำเข้าโดยผ่านด่านที่กำหนดเท่านั้น ดังนี้ a. กำหนดด่านเข้าผักที่รับประทานผลและผลไม้สด การนำเข้าจะนำเข้าผ่านทาง -ท่าเรือ Tanjung Perak, เมืองสุราบายา -ท่าเรือ Belawan, เมืองเมดาน -ท่าเรือ Soekarno-Hatta, เมืองมากัสซา และ -สนามบินนานาชาติ Soekarno-Hatta, กรุงจาร์กาตา b. ด่านนำเข้าที่กำหนดเป็น free port ที่อยู่ภายใต้กฎหมายในเขตทางการค้าเสรีและ free port สามารถใช้เป็นจุดเข้าสำหรับผลไม้สดและผักที่รับประทานผลสด c. ยกเลิกชั่วคราวสำหรับการบังคับใช้กฎกระทรวงเลขที่ 89/Permentan/OT.140/12/2011 ซึ่งเดิมมีผลบังคับใช้วันที่ 19 มีนาคม 2555 เลื่อนเป็น เป็น 19 มิถุนายน 2555
วันที่มีผลบังคับใช้ : 6 มี.ค. 55
ประเทศคู่ค้า




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/47
07 พฤษภาคม 2555
มาตรการปกติ
สินค้าผลไม้สดและหรือผักและผลไม้
สาระสำคัญ : กฎกระทรวงเกษตร ฉบับที่ 16/Permentan/OT.140/3/2012 เป็นการแก้ไขกฎกระทรวงฯ ฉบับที่ 90/Permentan/OT.140/12/2011 ซึ่งเกี่ยวข้องกับการแก้ไขกฎกระทรวงฯฉบับที่18/Permentan/OT.140/2/2008 ในเรื่องข้อกำหนดทางเทคนิคและมาตรการกักกันพืชสำหรับการนำเข้าผลไม้และ/หรือผักที่รับประทานผลสด (fresh fruits and/or fruit vegetables) กฎระเบียบนี้ได้กำหนดด่านนำเข้าผลไม้สดและผักรับประทานผลจะต้องถูกนำเข้าโดยผ่านด่านที่กำหนดนี้เท่านั้น ดังนี้ a. กำหนดด่านนำเข้าผักประเภท bulb (สด) การนำเข้าผลิตภัณฑ์จะถูกนำเข้าผ่านทาง •ท่าเรือ Tanjung Perak เมืองสุราบายา •ท่าเรือ Belawan เมืองเมดาน •ท่าเรือ Soekarna-Hatta เมืองมากัสซา •สนามบิน Soekarna-Hatta กรุงจาร์กาตา b. จุดนำเข้าที่กำหนดเป็นท่าที่อยู่ภายใต้กฎหมายในเขตเสรีทางการค้าและ free port สามารถใช้เป็นจุดนำเข้าผลิตภัณฑ์พืชที่มีชีวิตในลักษณะหัวสด c. ยกเลิกชั่วคราวการบังคับใช้กฎกระทรวงฯ ฉบับที่ 90/Permentan/OT.140/12/2011 ซึ่งเดิมมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 19 มีนาคม 2555 เป็น 19 มิถุนายน 2555
วันที่มีผลบังคับใช้ : 6 มี.ค. 55
ประเทศคู่ค้า




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/48
07 พฤษภาคม 2555
มาตรการปกติ
สินค้าผลไม้สดและหรือผักและผลไม้
สาระสำคัญ : กฎกระทรวงเกษตรฉบับที่89/Permentan/OT.140/12/2006 เป็นการแก้ไขกฎกระทรวงฯ ฉบับที่ 37/Kpts/HK.060/1/2006 ในเรื่องข้อกำหนดทางเทคนิคและมาตรการกักกันพืชสำหรับการนำเข้าผลไม้และ/หรือผักที่รับประทานผลสด (fresh fruits and/or fruit vegetables) กฎระเบียบนี้ได้กำหนดด่านนำเข้าผลไม้สดและผักรับประทานผลจะต้องถูกนำเข้าผ่านโดยด่านที่กำหนดนี้เท่านั้น ดังนี้ a. ท่าเรือ Tanjung Perak เมืองสุราบายา b. ท่าเรือ Belawan เมืองเมดาน c. ท่าเรือ Soekarna-Hatta เมืองมากัสซา d. สนามบิน Soekarna-Hatta กรุงจาร์กาตา
วันที่มีผลบังคับใช้ : 19 มี.ค. 55
ประเทศคู่ค้า




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/49
07 พฤษภาคม 2555
มาตรการปกติ
สินค้าผลไม้สดและหรือผักและผลไม้
สาระสำคัญ : ผลไม้สดและหรือผักและผลไม้
วันที่มีผลบังคับใช้ : 19 มี.ค. 55
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/212
04 พฤษภาคม 2555
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าผลิตภัณฑ์และผลพลอยได้จากสัตว์ที่อ่อนแอต่อโรค FMD
สาระสำคัญ : ฟิลิปปินส์ระงับการนำเข้าผลิตภัณฑ์และผลพลอยได้จากสัตว์ที่อ่อนแอต่อโรค FMD จากลิเบียเป็นการชั่วคราว เนื่องจากพบการระบาดโรค FMD serotype O ในโคกระบือ แพะ แกะ
เอกสารฉบับเต็ม: 
http://members.wto.org/crnattachments/2012/sps/PHL/12_1583_00_e.pdf

วันที่มีผลบังคับใช้ : 8 ก.พ. 55
ลิเบีย




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/210
04 พฤษภาคม 2555
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ น้ำเชื้อ ไข่
สาระสำคัญ : ฟิลิปปินส์ระงับการนำเข้าเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ น้ำเชื้อ ไข่จากไต้หวันเป็นการชั่วคราว เนื่องจากพบการระบาดไข้หวัดนก H5N2 ที่ฟาร์มเลี้ยงไก่เนื้อ ที่จังหวัด Liou-Jia
เอกสารฉบับเต็ม: 
http://members.wto.org/crnattachments/2012/sps/PHL/12_1581_00_e.pdf

วันที่มีผลบังคับใช้ : 20 มี.ค. 55
ไต้หวัน




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/211
04 พฤษภาคม 2555
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ น้ำเชื้อ ไข่
สาระสำคัญ : ฟิลิปปินส์ระงับการนำเข้าเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ น้ำเชื้อ ไข่จากไต้หวันเป็นการชั่วคราว เนื่องจากพบการระบาดไข้หวัดนก H5N2 ที่ฟาร์มเลี้ยงไก่งวง ที่เมือง Limburg เนเธอร์แลนด์
เอกสารฉบับเต็ม: 
http://members.wto.org/crnattachments/2012/sps/PHL/12_1581_00_e.pdf

วันที่มีผลบังคับใช้ : 21 มี.ค. 55
เนเธอร์แลนด์




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/45
30 เมษายน 2555
มาตรการปกติ
สินค้าสินค้าอาหารแปรรูป
สาระสำคัญ : ร่างกฎระเบียบของหน่วยงานแห่งชาติอินโดนีเซียเกี่ยวกับการควบคุมสิ่งทีห้ามใช้ในสินค้าอาหารแปรรูป ซึ่งกฎ ระเบียบกำหนดรายชื่อสิ่งที่ห้ามใช้และอาจทำให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพมนุษย์ กิจกรรมด้านการผลิตอาหาร การดำเนินการ การบรรจุหีบห่อ การเก็บรักษา การขนส่ง และการกระจาย ได้แก่ สาร alkannin; Borax; formaldehyde; Rhodamine B, D&C Red No.9,C.I. Food Red 15; Chloramphenicol; Brominated vegetable oil; เป็นต้น (a) Indonesian National Agency for Drug and Food Control ผู้ควบคุมการบังคับการบังคับใช้กฎระเบียบนี้ (b) การละเมิดกฎระเบียบนี้ขึ้นอยู่กับวิธีการบังคับทางกฎหมายและการบริหาร เช่น - การออกใบเตือน - การห้ามการกระจายอาหารชั่วคราวและการสั่งยกเลิกการกระจายผลิตภัณฑ์อาหาร และการทำลายอาหาร - การหยุดการผลิตชั่วคราว - การยกเลิกการอนุญาตการขึ้นทะเบียนอาหาร
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/206
21 มีนาคม 2555
มาตรการปกติ
สินค้าสัตว์ปีกมีชีวิต เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่อายุ 1 วัน ไข่และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ยกเลิกการห้ามนำเข้าชั่วคราวสัตว์ปีกและผลิตภัณฑ์จาก Noord-Brabant และ Zeeland (เนเธอร์แลนด์) เนื่องจากเนเธอร์แลนด์สามารถฟื้นฟูสถานการณ์ปลอดโรคไข้หวัดนกตาม Article 10.4.3.2 chapter 10.4 ของ OIE ได้แล้ว
วันที่มีผลบังคับใช้ : 20 ก.ย. 54
Noord-Brabant และ Zeeland (เนเธอร์แลนด์)




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/207
21 มีนาคม 2555
มาตรการปกติ
สินค้าสัตว์ปีกมีชีวิต เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่อายุ 1 วัน ไข่และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ยกเลิกการห้ามนำเข้าชั่วคราวสัตว์ปีกและผลิตภัณฑ์จากไต้หวันและ เนื่องจากไต้หวันสามารถฟื้นฟูสถานการณ์ปลอดโรคไข้หวัดนกตาม Article 10.4.3.2 chapter 10.4 ของ OIE ได้แล้ว
วันที่มีผลบังคับใช้ : 14 พ.ย. 54
ไต้หวัน




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/208
21 มีนาคม 2555
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์จำพวกวัว สุกร แกะและแพะ
สาระสำคัญ : ฟิลิปปินส์ประกาศห้ามนำเข้าชั่วคราวสัตว์ที่อ่อนแอต่อการติดโรคปากและเท้าเปื่อย (FMD) จากปารากวัย
วันที่มีผลบังคับใช้ : 31 ม.ค. 55
ปารากวัย




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/209
21 มีนาคม 2555
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกมีชีวิต เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ฟิลิปปินส์แจ้งระงับการนำเข้าสัตว์ปีกมีชีวิต เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่และน้ำเชื้อชั่วคราวจาก Melbourne, Victoria ประเทศออสเตรเลีย เนื่องจากพบโรคไข้หวัดนก subtype H5 ในฟาร์มเป็ดเนื้อในเมืองMelbourne รัฐ Victoria
เอกสารฉบับเต็ม: 
http://members.wto.org/crnattachments/2012/sps/PHL/12_1051_00_e.pdf

วันที่มีผลบังคับใช้ : 20 ก.ย. 54
เมือง Melbourne, Victoria ประเทศออสเตรเลีย




สิงคโปร์ G/SPS/N/SGP/42
28 กุมภาพันธ ์ 2555
มาตรการปกติ
สินค้าอาหาร
สาระสำคัญ : สิงคโปร์ประกาศร่างแก้ไขกฎระเบียบด้านอาหาร 2012 โดยทบทวนแก้ไขดังนี้ - เห็นชอบค่าไขมันทรานส์ (trans-fat) 2 กรัมต่อผลิตภัณฑ์ไขมันและน้ำมันที่ใช้รับประทาน 100 กรัม - กำหนดฉลากโภชนาการอาหาร (ในรูปแบบของข้อมูลทางโภชนาการ, NIP) สำหรับการขายปลีกไขมันทรานส์และน้ำมันที่ใช้รับประทาน (ต้องแสดงใน NIP)
วันที่มีผลบังคับใช้ : 2 พ.ค. 55
ประเทศคู่ค้า




สิงคโปร์ G/SPS/N/SPG/47
04 มกราคม 2555
มาตรการปกติ
สินค้าสัตว์ทดลอง (ตัวอ่อน ไข่ และน้ำเชื้อ ของกระต่าย หนูตะเภา แฮมสเตอร์ หนู และเกอร์บิล)
สาระสำคัญ : เงื่อนไขใหม่ด้านสัตวแพทย์สำหรับการนำเข้า ตัวอ่อน ไข่ และน้ำเชื้อของกระต่าย หนูตะเภา แฮมสเตอร์ หนู และเกอร์บิล เพื่อการทดลอง
วันที่มีผลบังคับใช้ : 22 ก.พ. 56
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/40
03 มกราคม 2555
มาตรการปกติ
สินค้าอาหาร
สาระสำคัญ : แจ้งเวียนประกาศกฎระเบียบเกี่ยวกับค่า MRLs ของยาสัตว์และสารกำจัดศัตรูพืช
วันที่มีผลบังคับใช้ : 20 พ.ค. 56
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/39
03 มกราคม 2555
มาตรการปกติ
สินค้าอาหารสุขภาพ
สาระสำคัญ : แจ้งเวียนประกาศเกี่ยวกับการจัดการผลิตภัณฑ์อาหาร ซึ่งประกอบด้วย ขอบเขต วัตถุประสงค์การนำไปใช้ คำอธิบายของคำนาม เงื่อนไขการจำแนกอาหารสุขภาพ ( เงื่อนไขสำหรับผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร เงื่อนไขสำหรับอาหารเสริมสุขภาพ ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพื่อควบคุมน้ำหนัก เงื่อนไขสำหรับอาหารที่เป็นยา) ข้อมูลประสิทธิภาพ (ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร ผลิตภัณฑ์เสริมสุขภาพ ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพื่อควบคุมน้ำหนัก) การติดฉลากผลิตภัณฑ์เสริมอาหารสุขภาพ เงื่อนไขการผลิต การค้าขาย การโฆษณา การเรียกคืน
วันที่มีผลบังคับใช้ : 20 พ.ค. 56
ประเทศคู่ค้า




สิงคโปร์ G/SPS/N/SPG/41
01 พฤศจิกายน 2554
มาตรการปกติ
สินค้าปลาทอง
สาระสำคัญ : แก้ไขใบรับรองสุขภาพสัตว์สำหรับนำเข้าปลาทองเข้ามายังสิงคโปร์ ซึ่งปัจจุบันไม่จำเป็นต้องระบุในใบรับรองว่าปลอดโรค Goldfish haematopoietic necrosis virus (GFHNV)
เอกสารฉบับเต็ม: 
http://members.wto.org/crnattachments/2011/sps/SGP/11_3576_00_e.pdf

วันที่มีผลบังคับใช้ : ทันที
ประเทศคู่ค้า




สิงคโปร์ G/SPS/N/SGP/40
19 สิงหาคม 2554
มาตรการปกติ
สินค้าปลาปักเป้ามีชีวิต เนื้อปลาปักเป้าแช่แย็น และปลาปักเป้าแช่แข็ง
สาระสำคัญ : ข้อกำหนดห้ามการนำเข้าปลาปักเป้ามีชีวิตและปลาปักเป้าที่ไม่ผ่านการแปรรูป การนำเข้าปลาปักเป้าแปรรูปและทำความสะอาดแล้วต้องมีใบรับรองสุขอนามัยที่ออกโดยหน่วยงานที่รับผิดชอบว่าปลาปักเป้าผ่านการแปรรูปและทำความสะอาด และปราศจากอวัยวะที่เป็นพิษและมนุษย์สามารถบริโภคได้
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/205
10 สิงหาคม 2554
มาตรการปกติ
สินค้าHS Codes: 0805.10, 0805.20, 0805.40 และ 0805.50
สาระสำคัญ : ฟิลิปปินส์ประกาศกฎระเบียบการนำเข้าผลไม้ตระกูลส้ม : ส้ม (Citrus Reticulata) แทนเจอรีน (Citrus Reticulata) มะนาว (Citrus Limon) เกรพฟรุ้ต (Citrus Paradisi) จากอาร์เจนตินา
เอกสารฉบับเต็ม: 
http://members/wto.org/crnattachments/2011/ sps/PHL//11_2662_00_e.pdf

วันที่มีผลบังคับใช้ : 23 ก.ย. 54
อาร์เจนตินา




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/203/ Add.1
10 สิงหาคม 2554
มาตรการปกติ
สินค้าพืชและวัสดุจากพืชและผลิตภัณฑ์จากสินค้าเกษตรจากญี่ปุ่น
สาระสำคัญ : ฟิลิปปินส์แก้ไขการห้ามนำเข้าชั่วคราวพืชและวัสดุจากพืชและผลิตภัณฑ์จากสินค้าเกษตรญี่ปุ่นจากพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบในญี่ปุ่นและเฝ้าติดตามตรวจสอบการใช้การฉายรังสี
เอกสารฉบับเต็ม: 
http://members/wto.org/crnattachments/2011/ sps/PHL//11_2663_00_e.pdf

วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/204
19 กรกฎาคม 2554
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกมีชีวิต เนื้อสัตว์ปีก ลูกเจี๊ยบอายุ 1 วัน ไข่ และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ประกาศระงับการนำเข้าชั่วคราวในนกบ้านและนกป่า และผลิตภัณฑ์ รวมทั้งลูกเจี๊ยบอายุ 1 วัน ไข่ และน้ำเชื้อ จาก แอฟริกาใต้
เอกสารฉบับเต็ม: 
http://members.wto.org/crnattachments/2011/sps/PHL/11_2241_00_e.pdf

วันที่มีผลบังคับใช้ : 14 เม.ย. 54
แอฟริกาใต้




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/180/ Add.1
19 กรกฎาคม 2554
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าวัว สุกร แกะ และแพะ
สาระสำคัญ : ยกเลิกประกาศห้ามนำเข้าชั่วคราวสัตว์ที่มีความเสี่ยงเป็นโรค FMD จากประเทศญี่ปุ่น
เอกสารฉบับเต็ม: 
http://members.wto.org/crnattachments/2011/sps/PHL/11_2242_00_e.pdf

วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ญี่ปุ่น




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/198
13 กรกฎาคม 2554
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกมีชีวิต เนื้อสัตว์ปีก ลูกเจี๊ยบอายุ 1 วัน ไข่ และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ประกาศระงับการนำเข้าชั่วคราวในนกบ้านและนกป่า และผลิตภัณฑ์ รวมทั้งลูกเจี๊ยบอายุ 1 วัน ไข่ และน้ำเชื้อ จาก Gelderland เนเธอร์แลนด์
วันที่มีผลบังคับใช้ : 24 พ.ค. 54
Gelderland เนเธอร์แลนด์




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/199
13 กรกฎาคม 2554
มาตรการปกติ
สินค้าลูกกวาด
สาระสำคัญ : มาตรฐานเกี่ยวกับสายพันธุ์ของแป้งพื้นฐานที่ใช้ผลิตลูกกวาด โดยเฉพาะ polvoron, piaya, และ barquillos ในบรรจุภัณฑ์ที่เหมาะสม
เอกสารฉบับเต็ม: 
http://members.wto.org/crnattachments/2011/sps/PHL/11_2121_00_e.pdf

วันที่มีผลบังคับใช้ : 22 ส.ค. 54
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/200
13 กรกฎาคม 2554
มาตรการปกติ
สินค้าลูกกวาด
สาระสำคัญ : มาตรฐานเกี่ยวกับสายพันธุ์ของนมพื้นฐานที่ใช้ผลิตลูกกวาด โดยเฉพาะ pastillas (ลูกอมนม) และ yema (ลูกอมคัสตาร์ด) ในบรรจุภัณฑ์ที่เหมาะสม
เอกสารฉบับเต็ม: 
http://members.wto.org/crnattachments/2011/sps/PHL/11_2122_00_e.pdf

วันที่มีผลบังคับใช้ : 22 ส.ค. 54
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/201
13 กรกฎาคม 2554
มาตรการปกติ
สินค้าลูกกวาด
สาระสำคัญ : (Final draft) สำหรับหลักปฏิบัติสำหรับการแปรรูปและการจัดการลูกกวาดที่ได้จาก polvoron, piaya, และ barquillos เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานของผลิตภัณฑ์ ดังข้างต้นในบรรจุภัณฑ์ที่เหมาะสม
เอกสารฉบับเต็ม: 
http://members.wto.org/crnattachments/2011/sps/PHL/11_2123_00_e.pdf

วันที่มีผลบังคับใช้ : 22 ส.ค. 54
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/202
13 กรกฎาคม 2554
มาตรการปกติ
สินค้าลูกกวาด
สาระสำคัญ : (Final draft) สำหรับหลักปฏิบัติสำหรับการแปรรูปและการจัดการลูกกวาดที่ได้จากนม ที่เรียกว่า Pastillas และ Yama เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานของผลิตภัณฑ์ ดังข้างต้นในบรรจุภัณฑ์ที่เหมาะสม
เอกสารฉบับเต็ม: 
http://members.wto.org/crnattachments/2011/sps/PHL/11_2124_00_e.pdf

วันที่มีผลบังคับใช้ : 22 ส.ค. 54
ประเทศคู่ค้า




มาเลเซีย G/SPS/N/MYS/20/ Add.2
01 มิถุนายน 2554
มาตรการปกติ
สินค้าปลามีชีวิต
สาระสำคัญ : Department of Fisheries มาเลเซียแก้ไขเงื่อนไขการนำเข้าปลามีชีวิตที่ประกาศใน G/SPS/N/MYS/20 ลงวันที่ 6 ก.ค. 2553
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




มาเลเซีย G/SPS/N/MYS/26/ Add.1
01 มิถุนายน 2554
มาตรการปกติ
สินค้าปลาสวยงาม
สาระสำคัญ : กรมประมงมาเลเซียแก้ไขรายละเอียดเงื่อนไขการนำเข้าปลาสวยงามที่ประกาศใน G/SPS/N/MYS/26 ลงวันที่ 7 ม.ค. 2554
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/195
11 พฤษภาคม 2554
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าปลาและผลิตภัณฑ์จากการประมง
สาระสำคัญ : ฟิลิปปินส์กำหนดผลการทดสอบจากห้องทดลองจากหน่วยงานที่รับผิดชอบของญี่ปุ่นที่แสดงว่าปลาและผลิตภัณฑ์จากการประมงที่นำเข้าปฏิบัติตามคู่มือที่เกี่ยวกับระดับรังสีในอาหารที่ปนเปื้อนจากการเกิดอุบัติภัยตาม PNRI Administrative Order เลขที่ 01 series ปี 2552
วันที่มีผลบังคับใช้ : 29 มี.ค. 54
ญี่ปุ่น




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/196
11 พฤษภาคม 2554
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าเนื้อ ผลิตภัณฑ์นม สัตว์มีชีวิต และผลิตภัณฑ์อาหารสัตว์
สาระสำคัญ : ฟิลิปปินส์ห้ามการนำเข้าชั่วคราวเนื้อ ผลิตภัณฑ์นม สัตว์มีชีวิต และผลิตภัณฑ์อาหารสัตว์จากพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบจากภัยพิบัตินิวเคลียร์ในญี่ปุ่น
วันที่มีผลบังคับใช้ : 24 มี.ค. 54
ญี่ปุ่น




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/197
11 พฤษภาคม 2554
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกมีชีวิต เนื้อสัตว์ปีก ไก่อายุ 1 วัน ไข่และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ฟิลิปปินส์ห้ามการนำเข้าชั่วคราวสัตว์ปีกมีชีวิต เนื้อสัตว์ปีก ไก่อายุ 1 วัน ไข่และน้ำเชื้อจากรัฐมิสซูรี่ ประเทศสหรัฐอเมริกา
วันที่มีผลบังคับใช้ : 4 เม.ย. 54
รัฐมิสซูรี่ สหรัฐอเมริกา




บรูไน G/SPS/N/BRN /3
09 พฤษภาคม 2554
มาตรการปกติ
สินค้าสินค้าเกษตรสดและผลิตภัณฑ์ประมง อาหารแปรรูป
สาระสำคัญ : ห้ามการนำเข้าชั่วคราวอาหารแปรรูปจากจังหวัดอิบารากิ โตชิกิ กันมะ ไซตะมะ ชิบะ โตเกียว คานากาวา และฟูกูชิมะ ประเทศญี่ปุ่นเนื่องจากพบการปนเปื้อนรังสีในผลิตภัณฑ์สินค้าเกษตรสดและผลิตภัณฑ์ประมง การนำเข้าสินค้าเกษตรและผลิตภัณฑ์ประมง อาหารแปรรูปจะต้องมีใบรับรองแหล่งกำเนิดและแสดงว่าปราศจากการปนเปื้อนกัมมันตรังสี
วันที่มีผลบังคับใช้ : 29 มี.ค. 54
ญี่ปุ่น




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/27
15 เมษายน 2554
มาตรการปกติ
สินค้าอาหาร สารปรุงแต่งอาหาร วัสดุบรรจุภัณฑ์อาหาร
สาระสำคัญ : แจ้งปรับปรุง บางมาตราเกี่ยวกับกฎหมายความปลอดภัยอาหารดังนี้ - ประกาศกฎระเบียบทางวิชาการเกี่ยวกับการประเมินความสอดคล้องกับประกาศ - อาหารดัดแปลงพันธุกรรมต่อความปลอดภัยของสุขภาพมนุษย์ และสิ่งแวดล้อม - สินค้าที่ไม่อยู่ภายใต้ระบบการรับรอง - ลักษณะที่เหมาะสมต่ออาหารปลอดภัยและสินค้านำเข้าที่ไม่มีการควบคุมความปลอดภัย - การจัดการควบคุมของอาหารปลอดภัยและการตรวจสอบ
วันที่มีผลบังคับใช้ : 1 ก.ค. 54
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/21/ Add.1
13 เมษายน 2554
มาตรการปกติ
สินค้าผลิตภัณฑ์อาหารที่มาจากพืช
สาระสำคัญ : ประกาศกระทรวงเวียนแนวทางสำหรับผลิตภัณฑ์อาหารนำเข้าจากพืช
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/27
25 มีนาคม 2554
มาตรการปกติ
สินค้าอาหาร สารปรุงแต่งอาหาร วัสดุบรรจุหีบห่อ
สาระสำคัญ : -ประกาศร่างกฏระเบียบกฏหมายความปลอดภัยอาหารดังนี้ : - ประกาศกฎระเบียบทางเทคนิค - ความปลอดภัยสำหรับสุขภาพมนุษย์และสิ่งแวดล้อมของอาหารดัดแปรพันธุกรรม - ผลิตภัณฑ์ไม่สอดคล้องกับการรับรอง - ความเหมาะสมสำหรับความปลอดภัยอาหารและผลิตภัณฑ์นำเข้าที่ปราศจากการควบคุมอาหารปลอดภัยจากรัฐ - การจัดการควบคุมของความปลอดภัยด้านอาหารของรัฐและการตรวจสอบ
วันที่มีผลบังคับใช้ : 5 มิ.ย. 54
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/194
23 มีนาคม 2554
มาตรการปกติ
สินค้าHS Code: 2309.10
สาระสำคัญ : มาตรฐานนี้ใช้กับข้อกำหนดด้านฉลากสำหรับอาหารสัตว์ที่ใช้เลี้ยงสุนัขและแมว ซึ่งผลิตในรูปทั้งของเหลวและของแข็ง
วันที่มีผลบังคับใช้ : 29 เม.ย. 54
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/191
22 มีนาคม 2554
มาตรการปกติ
สินค้าสัตว์ปีกมีชีวิต เนื้อสัตว์ปีก ไก่อายุ 1 วัน ไข่และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ยกเลิกการห้ามนำเข้าชั่วคราวสัตว์ปีกและผลิตภัณฑ์จากสวิสเซอร์แลนด์ เนื่องจากสวิสเซอร์แลนด์สามารถฟื้นฟูสถานการณ์ปลอดโรคไข้หวัดนกตามกฎ OIE ได้แล้ว
วันที่มีผลบังคับใช้ : 6 ม.ค. 54
สวิสเซอร์แลนด์




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/192
22 มีนาคม 2554
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์จำพวกวัว สุกร แกะ และแพะ
สาระสำคัญ : ฟิลิปปินส์ประกาศห้ามนำเข้าชั่วคราวสัตว์ที่มีความเสี่ยงเป็นโรค FMD จากบัลแกเรีย
วันที่มีผลบังคับใช้ : 11 ม.ค. 54
บัลแกเรีย




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/193
22 มีนาคม 2554
มาตรการปกติ
สินค้าHS Code: 0102 0103, 0104, 0105.10
สาระสำคัญ : มาตรฐานนี้กำหนดข้อปฏิบัติขั้นต่ำด้านสุขอนามัยในการเชือดสัตว์ที่เป็นอาหาร สำหรับโรงงานเนื้อที่ลงทะเบียนภายในประเทศ
วันที่มีผลบังคับใช้ : 29 เม.ย. 54
ประเทศคู่ค้า




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/44
01 มีนาคม 2554
มาตรการปกติ
สินค้าผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูป
สาระสำคัญ : กฏระเบียบกำหนดประเภทและค่าสูงสุดที่ยอมรับได้ของสารปนเปื้อนจุลินทรีย์และเคมี ในอาหารดังนี้: - เชื้อจุลินทรีย์ปนเปื้อน: Total Plate Count (TPC), Coliform, Escherichia coli, Salmonella sp, Staphylococcus aureus, Bacillus cereus, fungi, yeasts, Clostridium perfringens, Listeria monocytogenes, Vibrio cholerae, Enterobacteriaceae, และ Enterobacter sakazakii - สารเคมีปนเปื้อน: •โลหะหนัก: สารหนู แคดเมียม merkuri, ดีบุก และตะกั่ว •ไมโครท็อกซิน: อฟาลาท็อกซิน, deoxynivalenol, Funonisin B1+B2, ochratoxin A, patulin •สารเคมีปนเปื้อนอื่นๆ : benzo [a] pyrene, dioxin (2,3,7,8-TCDD), 1,3-dichlororopropane-2-ol (1,3-DCP), 3-monochloropropane-1, 2-diol(3-MCPD)
วันที่มีผลบังคับใช้ : 28 เม.ย. 53
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/190
16 กุมภาพันธ ์ 2554
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์มีชีวิต เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ระงับการนำเข้าชั่วคราวสัตว์ปีกบ้านและสัตว์ปีกป่าและผลิตภัณฑ์ รวมทั้งลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ จากญี่ปุ่นเนื่องจากมีรายงานการระบาดของโรคไข้หวัดนก (H5) ใน Yasugi City, Simane Province ญี่ปุ่น
วันที่มีผลบังคับใช้ : 6 ธ.ค.53
ญี่ปุ่น




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/25/Add.8
16 กุมภาพันธ ์ 2554
มาตรการปกติ
สินค้าเนื้อโคกระบือและผลิตภัณฑ์
สาระสำคัญ : ยกเลิกการระงับการนำเข้าชั่วคราวเนื้อโคกระบือและผลิตภัณฑ์จากโปรตุเกส ตั้งแต่ 14 ธันวาคม 2553 เนื่องจากผลการประชุม OIE ครั้งที่ 76 เมื่อ 30 พ.ค. 53 ยอมรับว่าโปรตุเกสสามารถควบคุมโรควัวบ้าได้แล้ว
วันที่มีผลบังคับใช้ : 14 ธ.ค. 53
โปรตุเกส




สิงคโปร์ G/SPS/N/SPG/39
02 กุมภาพันธ ์ 2554
มาตรการปกติ
สินค้าอาหาร
สาระสำคัญ : สิงคโปร์แก้ไข Food Regulation 2011 ดังนี้ 1. อนุญาตให้ใช้วัตถุเจือปนอาหารชนิดใหม่และขยายการใช้วัตถุเจือปนอาหารที่ได้รับอนุญาตในปัจจุบันกับประเภทอาหารต่างๆ เพิ่มขึ้นวัตถุเจือปนอาหารเหล่านี้จัดเป็นผลิตภัฑณ์อาหารสุขภาพได้แก่ : สารกันการเกาะติด สารให้ความหวาน สารกันหืน สารละลายให้กลิ่นอาหาร วัตถุให้สี ตัวผสานให้เข้ากัน สารทำให้คงตัว เสริมอาหาร และชนิดเอกนกประสงค์วัตถุเจือปนอาหาร 2. ร่วมกันกำหนดปริมาณของแคดเมียมในเห็ดแห้ง และโกโก้และผลิตภัณฑ์ 3. ร่วมกันแก้ไขหรือกำหนดมาตรฐานอาหารใหม่ที่มีสารให้ความหวานผสมอยู่ อาหารฉายรังสี ธัญพืชเต็มเมล็ด เนื้อสัตว์ เนื้อปลาแช่เย็น น้ำมัน ไขมัน น้ำแร่ธรรมชาติ อาหารทารกและสูตรต่อเนื่อง อาหารเฉพาะที่มี phytostarol, phytosternols และ ester ของสารสารทั้งสอง iv ข้อกำหนดใหม่เกี่ยวกับการติดฉลากสารปรุงแต่งอาหาร : ปริมาณสุทธิของอาหารสำเร็จรูป น้ำหนักแห้งของอาหารสำเร็จรูปในของเหลว และน้ำหนักของอาหารแช่แข็ง ส่วนประกอบของอาหารสำเร็จรูปที่มีโอกาสก่อภูมิแพ้ได้มากจำเป็นต้องติดฉลากเฉพาะแจ้งผู้บริโภคส่วนประกอบนั้น รายชื่ออาหารสำเร็จรูปที่ต้องระบุวันหมดอายุจะรวมถึงผักผลไม้แปรรูปพร้อมบริโภค รายชื่อที่อาหารกล่าวอ้างทางสุขภาพที่ได้รับอนุญาต และหลักเกณฑ์การใช้ รวมถึงการโฆษณา
วันที่มีผลบังคับใช้ : 1 เม.ย. 54
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/26
19 มกราคม 2554
มาตรการปกติ
สินค้าภาชนะบรรจุอาหาร บรรจุภัณฑ์และการดำเนินการ
สาระสำคัญ : กฎระเบียบสุขลักษณะและความปลอดภัยของอุปกรณ์พลาสติกที่ใช้เป็นวัสดุสัมผัสอาหาร รวมวิธีทดสอบด้วย
วันที่มีผลบังคับใช้ : 20 ก.พ. 54
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/24
18 มกราคม 2554
มาตรการปกติ
สินค้าภาชนะบรรจุอาหาร บรรจุภัณฑ์และการดำเนินการ
สาระสำคัญ : กฎระเบียบสุขลักษณะและความปลอดภัยของอุปกรณ์พลาสติกที่ใช้เป็นวัสดุสัมผัสอาหาร รวมวิธีทดสอบ
วันที่มีผลบังคับใช้ : 20 ก.พ. 54
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/25
18 มกราคม 2554
มาตรการปกติ
สินค้าภาชนะบรรจุอาหาร บรรจุภัณฑ์และอุปกรณ์
สาระสำคัญ : กฎระเบียบสุขลักษณะและความปลอดภัยของภาชนะที่ทำจากโลหะซึ่งนำมาเป็นวัสดุสัมผัสอาหารโดยตรง
วันที่มีผลบังคับใช้ : 20 ก.พ. 54
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/188
06 มกราคม 2554
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกมีชีวิต เนื้อสัตว์ปีก ไก่อายุ 1 วัน ไข่และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ฟิลิปปินส์ห้ามการนำเข้าชั่วคราวสัตว์ปีกป่าและสัตว์ปีกพื้นเมืองและผลิตภัณฑ์ที่ได้จากสัตว์ดังกล่าว รวมทั้งไก่อายุ 1 วัน ไข่ และน้ำเชื้อจาก Mecklenburg-Vorpommern ประเทศเยอรมนี
วันที่มีผลบังคับใช้ : 17 พ.ย. 53
Mecklenburg-Vorpommern,เยอรมนี




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/189
06 มกราคม 2554
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกมีชีวิต เนื้อสัตว์ปีก ไก่อายุ 1 วัน ไข่และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ฟิลิปปินส์ห้ามการนำเข้าชั่วคราวสัตว์ปีกป่าและสัตว์ปีกพื้นเมืองและผลิตภัณฑ์ที่ได้จากสัตว์ดังกล่าว รวมทั้งไก่อายุ 1 วัน ไข่ และน้ำเชื้อจาก Manitoba ประเทศแคนาดา
วันที่มีผลบังคับใช้ : 26 พ.ย. 53
Manitoba แคนาดา




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/25/Add.7
06 มกราคม 2554
มาตรการปกติ
สินค้าเนื้อและผลิตภัณฑ์จากโคกระบือ
สาระสำคัญ : ยกเลิกการห้ามนำเข้าเนื้อและผลิตภัณฑ์จากสเปนเนื่องจาก OIE ประกาศว่าสเปนสามารถควบคุมความเสี่ยงจากโรควัวบ้า (BSE) ได้แล้ว
วันที่มีผลบังคับใช้ : 7 ต.ค. 53
สเปน




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/186
06 มกราคม 2554
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์จำพวกวัว สุกร แกะ และแพะ
สาระสำคัญ : ฟิลิปปินส์ห้ามการนำเข้าชั่วคราวสัตว์จำพวกวัว สุกร แกะ และแพะจากประเทศโมซัมบิค
วันที่มีผลบังคับใช้ : 27 ต.ค. 53
โมซัมบิค




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/187
06 มกราคม 2554
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์จำพวกวัว สุกร แกะ และแพะ
สาระสำคัญ : ฟิลิปปินส์ห้ามการนำเข้าชั่วคราวสัตว์จำพวกวัว สุกร แกะ และแพะจากประเทศพม่า
วันที่มีผลบังคับใช้ : 17 พ.ย. 53
พม่า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/25/Add.6/Corr.1
20 ธันวาคม 2553
มาตรการปกติ
สินค้าเนื้อและผลิตภัณฑ์ที่ได้จากโคกระบือ
สาระสำคัญ : ยกเลิกการห้ามนำเข้าชั่วคราวเนื้อและผลิตภัณฑ์ที่ได้จากโคกระบือจากสหราชอาณาจักร
เอกสารฉบับเต็ม: 
http://members.wto.org/crnattachments/2010/sps/PHL/10_4662_00_e.pdf

วันที่มีผลบังคับใช้ : ทันที
สหราชอาณาจักร




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/23
16 ธันวาคม 2553
มาตรการปกติ
สินค้าอาหาร
สาระสำคัญ : เวียดนามแจ้งกฎระเบียบความปลอดภัยแห่งชาติโดยกำหนดปริมาณการปนเปื้อนของเชื้อจุลินทรีย์ในอาหาร การติดฉลากและวิธีการทดสอบ
วันที่มีผลบังคับใช้ : 6 มิ.ย.54
ประเทศคู่ค้า




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/43
18 พฤศจิกายน 2553
มาตรการปกติ
สินค้าซากและเนื้อสัตว์
สาระสำคัญ : ร่างทบทวนกฎกระทรวงเกษตรเกี่ยวกับการนำเข้าและการควบคุมการจำหน่ายซากสัตว์ เนื้อจากต่างประเทศ ซึ่งเคยแจ้งตามประกาศ G/SPS/N/IDN/40 เมื่อวันที่ 9 ม.ค. 52 ร่างแก้ไข ดังนี้ - ชนิดของซากสัตว์ เนื้อสัตว์ และหรือผลิตภัณฑ์แปรรูป (สัตว์กระเพาะรวม สุกร เนื้อสัตว์ปีก และเนื้อสัตว์แปรรูป) - ข้อกำหนดสำหรับการนำเข้า ได้แก่ ข้อกำหนดสำหรับผู้นำเข้า หลักเกณฑ์สำหรับประเทศแหล่งกำเนิด การบรรจุหีบห่อ การติดการฉลาก และการขนส่งสินค้า - ขั้นตอนการนำเข้า - การควบคุมการจำหน่าย
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/25/Add.6
15 กันยายน 2553
มาตรการปกติ
สินค้าเนื้อและผลิตภัณฑ์จากโค กระบือ
สาระสำคัญ : ยกเลิกการห้ามนำเข้าเนื้อและผลิตภัณฑ์จากสหราชอาณาจักร เนื่องจาก OIE ประกาศว่าสหราชอาณาจักรสามารถควบคุมความเสี่ยงจากโรควัวบ้า (BSE) ได้แล้ว
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
สหราชอาณาจักร




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/25/Add.5
02 กันยายน 2553
มาตรการปกติ
สินค้าเนื้อและผลิตภัณฑ์เนื้อจากโคและกระบือ
สาระสำคัญ : ยกเลิกการห้ามนำเข้าเนื้อและผลิตภัณฑ์เนื้อจากโคและกระบือจากเยอรมนีซึ่งเดิมได้ห้ามนำเข้าเนื่องจากพบเชื้อโรควัวบ้า (BSE) ตั้งแต่วันที่ 5 ม.ค. 53 เนื่องจาก OIE ได้ประกาศว่าเยอรมนีสามารถควบคุมความเสี่ยงได้แล้ว
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ยอรมนี




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/75/Add.2
02 กันยายน 2553
มาตรการปกติ
สินค้าเนื้อและกระดูกป่น
สาระสำคัญ : ยกเลิกการห้ามนำเข้าเนื้อและกระดูกป่นจากแคนาดาซึ่งเดิมได้ห้ามนำเข้าเนื่องจากพบเชื้อโรควัวบ้า (BSE) ตั้งแต่วันที่ 19 ก.ค. 53 ทั้งนี้เนื่องจาก OIE ได้ประกาศว่าแคนาดาสามารถควบคุมความเสี่ยงได้แล้ว
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
แคนาดา




มาเลเซีย G/SPS/N/MYS/25
13 สิงหาคม 2553
มาตรการปกติ
สินค้าใบรับรองสุขภาพสัตว์น้ำ
สาระสำคัญ : มาเลเซียแจ้งประกาศใบรับรองสุขภาพสัตว์ ฉบับใหม่ สำหรับส่งออกปลามีชีวิตมาสู่มาเลเซียตาม พ.ร.บ.การควบคุมปลามีชีวิตและสัตว์น้ำ โดยให้อำนาจแก่อธิบดีในการกำหนดในเรื่องความสะอาดของปลาส่งออก นำเข้า ขนส่งและมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคในปลารวมถึงการปล่อยปลาที่ไม่ใช่พันธุ์ปลาท้องถิ่นสู่ธรรมชาติ
วันที่มีผลบังคับใช้ : 15 ส.ค. 54
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/21
04 สิงหาคม 2553
มาตรการปกติ
สินค้าผลิตภัณฑ์อาหารนำเข้าที่มาจากพืช
สาระสำคัญ : ร่างประกาศกระทรวงเวียนแนวทางการควบคุมความปลอดภัยอาหารสำหรับผลิตภัณฑ์อาหารนำเข้าจากพืช ดังนี้ - โครงสร้าง: 7 บท 28 มาตรา และ 6 ภาคผนวก - สาระสำคัญ: แจ้งเวียนแนวทางการควบคุมความปลอดภัยอาหาร รวมทั้งวิธีการตรวจสอบ และการติดตามผลผลิตภัณฑ์อาหารที่มาจากพืชที่นำเข้าเวียดนาม
วันที่มีผลบังคับใช้ : ม.ค. 54
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/22
04 สิงหาคม 2553
มาตรการปกติ
สินค้าแหล่งกำเนิดผลิตภัณฑ์อาหาร: ผักสด, ผลไม้สด
สาระสำคัญ : ร่างประกาศกระทรวงเวียนหลักเกณฑ์สำหรับความปลอดภัยอาหารและค่า MRLs ในผลิตภัณฑ์อาหารจากพืชและหลักการกำหนดหลักเกณฑ์สำหรับการตรวจสอบ
วันที่มีผลบังคับใช้ : ม.ค. 54
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/184/Add.1
28 กรกฎาคม 2553
มาตรการปกติ
สินค้าไวน์ผลไม้เขตร้อน
สาระสำคัญ : ขยายเวลาเสนอความเห็นเกี่ยวกับมาตรฐานแห่งชาติสำหรับไวน์ผลไม้เขตร้อนจนถึงวันที่ 13 ก.ย. 53
วันที่มีผลบังคับใช้ : ก.ย. 53
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/185/Add.1
28 กรกฎาคม 2553
มาตรการปกติ
สินค้าไวน์ผลไม้เขตร้อน
สาระสำคัญ : ขยายเวลาเสนอความเห็นเกี่ยวกับร่างหลักปฏิบัติที่ดีและการแปรรูและการจัดการไวน์ผลไม้เขตร้อน
วันที่มีผลบังคับใช้ : 1 ก.ย. 53
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/184
13 กรกฎาคม 2553
มาตรการปกติ
สินค้าไวน์ผลไม้เขตร้อน
สาระสำคัญ : มาตรฐานนี้ใช้กับไวน์ที่ผลิตจากการหมักแอลกอฮอล์ของน้ำผลไม้ที่ได้มาจากผลไม้เขตร้อนหนึ่งชนิดหรือมากกว่า
วันที่มีผลบังคับใช้ : 9 ส.ค. 53
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/185
13 กรกฎาคม 2553
มาตรการปกติ
สินค้าไวน์ผลไม้เขตร้อน
สาระสำคัญ : ฟิลิปปินส์ประกาศแนวทางการปฏิบัติเพื่อให้สอดคล้องกับมาตรฐานสำหรับไวน์ผลไม้เขตร้อนที่บรรจุในบรรจุภัณฑ์ที่เหมาะสม
วันที่มีผลบังคับใช้ : 9 ส.ค. 53
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/93/Add.1
07 กรกฎาคม 2553
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกมีชีวิตและผลิตภัณฑ์
สาระสำคัญ : ประกาศยกเลิกการระงับการนำเข้าชั่วคราวสัตว์ปีกบ้านและป่า และ และผลิตภัณฑ์ รวมทั้งเนื้อสัตว์ปีก ไก่อายุ 1 วัน และน้ำเชื้อ จากตุรกี เนื่องจากตุรกีได้รายงานต่อ OIE ว่าตุรกีสามารถฟื้นคืนสถานะเขตปลอดโรคไข้หวัดนกประเภท A subtype H5N1 ได้แล้ว
วันที่มีผลบังคับใช้ : 7 มิ.ย. 53
ตุรกี




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/20
30 มิถุนายน 2553
มาตรการปกติ
สินค้าอาหารที่มีแหล่งกำเนิดจากสัตว์
สาระสำคัญ : แจ้งเวียนประกาศกระทรวงฯ ฉบับที่ 25/2010/TT-BNNPTNT ลงวันที่ 8 เมษายน 2553 กำหนดกฎระเบียบเกี่ยวกับสุขลักษณะอาหารและการควบคุมความปลอดภัยในการนำเข้าอาหารที่มีแหล่งกำเนิดจากสัตว์ที่จะนำเข้าเวียดนาม ประกอบด้วย 7 บท และ 27 หัวข้อ และ 3 ภาคผนวก
วันที่มีผลบังคับใช้ : 1 ก.ย. 53
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/19
22 มิถุนายน 2553
มาตรการปกติ
สินค้าเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์ นมและผลิตภัณฑ์ ไข่และผลิตภัณฑ์ สัตว์น้ำแปรรูปและสด น้ำแข็งและไอศกรีม น้ำแร่ อาหารเสริม สารปรุงแต่งอาหาร อาหารและเครื่องดื่มสำเร็จรูป อาหารแช่แข็ง นมถั่วเหลืองและผลิตภัณฑ์จากถั่วเหลือง ผักผลไม้ที่ยังไม่ผ่านการปรุงสุก
สาระสำคัญ : แจ้งเวียนเกี่ยวกับกฎระเบียบการออกใบรับรองสุขลักษณะอาหารและความปลอดภัยสำหรับสถานที่ประกอบการด้านอาหารที่มีความเสี่ยงสูงทางธุรกิจ ประกอบด้วย 4 บท และ 18 หัวข้อ
วันที่มีผลบังคับใช้ : ก.ย. 53
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/182
08 มิถุนายน 2553
มาตรการปกติ
สินค้าถั่วพิลี (pili nut)
สาระสำคัญ : ร่างกำหนดมาตรฐานแห่งชาติฟิลิปปินส์ สำหรับถั่วพิลิแปรรูป เอกสารมาตรฐานค้นได้จาก
เอกสารฉบับเต็ม: 
http://members.wto.org/crnattachments/2010/sps/PHL/10_2300_00_e.pdf

วันที่มีผลบังคับใช้ : 17 พ.ค. 2553
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/183
08 มิถุนายน 2553
มาตรการปกติ
สินค้าถั่วพิลี (pili nut)
สาระสำคัญ : (ร่าง) คำแนะนำหลักปฏิบัติการแปรรูปและการจัดการผลิตภัณฑ์ถั่วพิลีแปรรูป
เอกสารฉบับเต็ม: 
http://members.wto.org/crnattachments/2010/sps/PHL/10_2300_00_e.pdf

วันที่มีผลบังคับใช้ : 17 พ.ค. 2553
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/181
03 มิถุนายน 2553
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกมีชีวิต เนื้อสัตว์ปีก ไก่อายุ 1 วัน ไข่ และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ฟิลิปปินส์ห้ามนำเข้าชั่วคราวสัตว์ปีกและผลิตภัณฑ์ รวมทั้งไก่อายุ 1 วัน ไข่ น้ำเชื้อจากเมือง Bergamo, แคว้น Lombardy ประเทศอิตาลี
วันที่มีผลบังคับใช้ : 26 เม.ย. 53
Bergamo, Lombardy ประเทศอิตาลี




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/181
03 มิถุนายน 2553
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกมีชีวิต, เนื้อสัตว์ปีก ไก่อายุ 1 วัน ไข่และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ฟิลิปปินส์ห้ามการนำเข้าชั่วคราวสัตว์ปีกเลี้ยงและป่าและผลิตภัณฑ์ รวมทั้งสัตว์ปีก ไก่อายุ 1 วัน ไข่ และน้ำเชื้อที่มีแหล่งกำเนิดจากเมือง Bergamo แคว้นLombardy ประเทศอิตาลี เนื่องจากพบการระบาดของโรคไข้หวัดนก H7N3 ในพื้นที่ดังกล่าว
วันที่มีผลบังคับใช้ : 26 เม.ย.53
เมือง Bergamo แคว้น Lombardy อิตาลี




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/18
02 มิถุนายน 2553
มาตรการปกติ
สินค้าการจัดการสารกำจัดศัตรูพืช
สาระสำคัญ : กฎระเบียบเกี่ยวกับการขึ้นทะเบียน การผลิต การแปรรูป การบรรจุหีบห่อ การส่งออก การนำเข้า การค้า และการถนอมรักษา การขนส่ง การใช้ การทำลาย ฉลาก บรรจุภัณฑ์ การจัดสัมมนา/การประชุมเชิงปฏิบัติการ การโฆษณา การทดลอง การตรวจสอบคุณภาพและสารตกค้างของสารกำจัดศัตรูพืชในเวียดนาม
วันที่มีผลบังคับใช้ : 10 ก.ย. 53
ประเทศคู่ค้า




สิงคโปร์ G/SPS/N/SGP/38
19 พฤษภาคม 2553
มาตรการปกติ
สินค้าสัตว์น้ำสวยงาม
สาระสำคัญ : สิงคโปร์ประกาศข้อกำหนดด้านสุขอนามัยโดยกำหนดให้ประเทศผู้ส่งออกรับรองว่าปราศจากโรค Spring viraemia of carp(SVC), Koi herpesvirus (KIV), Epizootic ulcerative syndrome (EUS), Epizootic haematopoietic necrosis (EHN) และ White spot disease (WSD) สำหรับสัตว์น้ำสวยงามที่มีความเสี่ยงต่อโรคตามที่ OIE ระบุในฉบับแก้ไขล่าสุด นอกจากนี้สำหรับปลาทอง (Carassius auratus) ต้องรับรองว่าปราศจากโรค Furuculosis (Aermonas Salmonicida) และ Goldfish haematopoietic necrosis virus (GFHNV) การส่งออกปลาทะเลเข้าประเทศสิงคโปร์ หน่วยงานที่รับผิดชอบต้องรับรองสถานภาพปลาทะเลว่าจับมาตามธรรมชาติเท่านั้น และห่างอย่างน้อย 5 กิโลเมตร จากสถานที่เพาะเลี้ยงปลา ไม่สัมผัสกับน้ำ อุปกรณ์ หรือปลาเลี้ยง
วันที่มีผลบังคับใช้ : 15 ก.ค. 2553
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/180
18 พฤษภาคม 2553
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าวัว สุกร แกะ และแพะ
สาระสำคัญ : ฟิลิปปินส์ประกาศห้ามนำเข้าชั่วคราวสัตว์ที่มีความเสี่ยงเป็นโรค FMD จากประเทศญี่ปุ่น
วันที่มีผลบังคับใช้ : 26 เม.ย. 2553
ญี่ปุ่น




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/176 /Add.1
15 เมษายน 2553
มาตรการปกติ
สินค้ามันเทศม่วง (purple yam)
สาระสำคัญ : แจ้งขยายระยะเวลาเสนอความเห็นต่อร่างมาตรฐานแห่งชาติ เรื่อง มันเทศม่วง ออกไปถึงวันที่ 11 พ.ค. 53
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/177 /Add.1
15 เมษายน 2553
มาตรการปกติ
สินค้าปลารมควัน
สาระสำคัญ : แจ้งขยายระยะเวลาเสนอความเห็นต่อร่างมาตรฐานแห่งชาติ เรื่อง ปลารมควัน ออกไปถึงวันที่ 11 พ.ค. 53
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/178 /Add.1
15 เมษายน 2553
มาตรการปกติ
สินค้ามันเทศม่วง (purple yam)
สาระสำคัญ : แจ้งขยายระยะเวลาเสนอความเห็นต่อร่างคำแนะนำสำหรับหลักปฏิบัติในการแปรรูปและการจัดการมันเทศ (purple yam)ออกไปถึงวันที่ 11 พ.ค. 53
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/179 /Add.
15 เมษายน 2553
มาตรการปกติ
สินค้าปลารมควัน
สาระสำคัญ : แจ้งขยายระยะเวลาเสนอความเห็นต่อร่างคำแนะนำสำหรับหลักปฏิบัติในการแปรรูปและการจัดการปลารมควัน ออกไปถึงวันที่ 11 พ.ค. 53
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/173 /Add.1
12 เมษายน 2553
มาตรการปกติ
สินค้าสัตว์ปีกมีชีวิต เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ น้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ประกาศยกเลิกการห้ามนำเข้าชั่วคราว สำหรับสัตว์ปีกและผลิตภัณฑ์สัตว์ปีกรวมถึงเนื้อสัตว์ปีก ไก่ 1วันและน้ำเชื้อจากเยอรมนี มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 25 มี.ค.53 ตาม Memorandum Order No. 12 ที่เคยพบไข้หวัดนก LPAI ในปี 2552 และ พื้นฐานการจากรายงาน ของเยอรมนีต่อ OIE ครั้งล่าสุด 5 มี.ค.53 แจ้งว่าเยอรมนีสามารถกำจัดเชื้อ LPAI และพื้นฐานการประเมินของฟิลิปปินส์พบความเสี่ยงต่ำมากจากาการนำเข้าเนื้อสัตว์ปีกและผลิตภัณฑ์จากเยอรมนี
วันที่มีผลบังคับใช้ : 25 มี.ค.53
เยอรมนี




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/174
11 มีนาคม 2553
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าโค สุกร แพะและแกะ
สาระสำคัญ : ประกาศห้ามนำเข้าชั่วคราวสัตว์ที่อ่อนแอต่อโรคปากและเท้าเปื่อยจากเกาหลีใต้
วันที่มีผลบังคับใช้ : 8 ม.ค. 2553
เกาหลีใต้




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/175
11 มีนาคม 2553
มาตรการปกติ
สินค้าสัตว์ปีกมีชีวิต เนื้อสัตว์ปีก ไก่อายุ 1 วัน ไข่และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ประกาศห้ามนำเข้าชั่วคราวสัตว์ปีกพื้นฐานและสัตว์ปีกป่าและผลิตภัณฑ์ รวมถึง ไก่อายุ 1 วัน ไข่ และน้ำเชื้อจากเกาหลีใต้
วันที่มีผลบังคับใช้ : 8 ม.ค. 2553
เกาหลีใต้




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/176
11 มีนาคม 2553
มาตรการปกติ
สินค้ามันเทศม่วง (Ube) หรือ Jam (Halaya)
สาระสำคัญ : มาตรฐานสำหรับมันเทศม่วงแปรรูปผ่านความร้อนหรือ ube (Discorea alata) Jam (halaya) ที่ปรากฎใน Section 3.1 ที่ขายโดยตรงให้แก่ผู้บริโภคและเพื่อแปรรูป
วันที่มีผลบังคับใช้ : 26 มี.ค. 2553
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/177
11 มีนาคม 2553
มาตรการปกติ
สินค้าปลารมควัน
สาระสำคัญ : มาตรฐานสำหรับปลารมควันในสปีชี่ต่างๆ ทั้งแบบร้อนและเย็นสำหรับบริโภคและเพื่อแปรรูป
วันที่มีผลบังคับใช้ : 26 มี.ค. 2553
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/178
11 มีนาคม 2553
มาตรการปกติ
สินค้ามันเทศม่วง (Ube) Jam (Halaya)
สาระสำคัญ : ร่างเสนอหลักการปฏิบัติที่ดีสำหรับผู้ประกอบการมันเทศม่วง หรือ Ube (Discorea alata) Jam (halaya) หลักปฏิบัตินี้เพื่อเป็นแนวทางในการผลิต การเก็บรักษา การจัดการเพื่อรักษาความปลอดภัยและคุณภาพตั้งแต่การรับวัตถุดิบและส่วนประกอบจนถึงการจำหน่าย
วันที่มีผลบังคับใช้ : 26 มี.ค. 2553
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/179
11 มีนาคม 2553
มาตรการปกติ
สินค้าปลารมควัน
สาระสำคัญ : ร่างเสนอหลักการปฏิบัติที่ดีสำหรับผู้ประกอบการปลารมควันเพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานปลารมควัน หลักปฏิบัตินี้เพื่อเป็นแนวทางในการผลิต การเก็บรักษา การจัดการปลารมควันเพื่อรักษาความปลอดภัยและคุณภาพตั้งแต่การรับวัตถุดิบและส่วนประกอบจนถึงการจำหน่าย
วันที่มีผลบังคับใช้ : 26 มี.ค. 2553
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/172/Rev.1/Corr.1
10 มีนาคม 2553
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกพื้นบ้านและสัตว์ปีกป่าและผลิตภัณฑ์สัตว์ปีก ไก่อายุ 1 วัน ไข่ น้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ประกาศห้ามนำเข้าชั่วคราวสัตว์ปีกพื้นบ้านและสัตว์ปีกป่าและผลิตภัณฑ์สัตว์ปีก ไก่อายุ 1 วัน ไข่ น้ำเชื้อจาก ฝรั่งเศส
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ฝรั่งเศส




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/172/Rev.1
12 กุมภาพันธ ์ 2553
มาตรการปกติ
สินค้าสัตว์ปีก, เนื้อสัตว์ปีก ไก่อายุ 1 วัน ไข่และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ฟิลิปปินส์ห้ามการนำเข้าชั่วคราวสัตว์ปีกเลี้ยงและป่าและผลิตภัณฑ์ รวมทั้งสัตว์ปีก ไก่อายุ 1 วัน ไข่ และน้ำเชื้อที่มีแหล่งกำเนิดจากประเทศฝรั่งเศส
วันที่มีผลบังคับใช้ : 21 ธ.ค. 2552
ฝรั่งเศส




สิงคโปร์ G/SPS/N/SGP/37/ Add.1
04 กุมภาพันธ ์ 2553
มาตรการปกติ
สินค้าสุนัขและแมว
สาระสำคัญ : หลังจากที่สิงคโปร์ได้ประกาศเรื่อง “ การทบทวนการนำเข้าสุนัขและแมวของสิงคโปร์” ตามประกาศใน G/SPS/N/SGP/37 สิงคโปร์ได้รับข้อคิดเห็นต่างๆ และนำมาทบทวนแก้ไขเป็นเอกสารฉบับล่าสุดแล้ว ค้น
เอกสารฉบับเต็ม: 
http://members.wto.org/crnattachments/2010/sps/SGP/10_0490_00_e.pdf

วันที่มีผลบังคับใช้ : -
-




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/42
18 ธันวาคม 2552
มาตรการปกติ
สินค้าศัตรูพืชกักกัน และเชื้อโรคระบาดของปลา(fish carrying-media)
สาระสำคัญ : อินโดนีเซียได้กำหนดให้การนำเข้าหรือส่งออกใดๆซึ่งจะเป็นการนำศัตรูพืชกักกัน และโรคระบาดในปลามายังอินโดนีเซียต้องนำเข้า/ส่งออก ณ ด่านที่กำหนด ระเบียบนี้ใช้แทนระเบียบเดิมฉบับที่ 16 ปี 2003 เกี่ยวกับการกำหนดจุดส่งออกและนำเข้าเพื่อควบคุมการเคลื่อนย้ายศัตรูพืชกักกันและโรคระบาดปลา
วันที่มีผลบังคับใช้ : 20 พ.ค. 49
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/16
23 พฤศจิกายน 2552
มาตรการปกติ
สินค้าอาหารสัตว์
สาระสำคัญ : กฎระเบียบทางเทคนิคแห่งชาติ เรื่อง กำหนดปริมาณค่า MRL ของยาสัตว์ ยาปฏิชีวนะ ในอาหารสัตว์ 1. ยาปฏิชีวนะกับยาสัตว์ - รายชื่อสารปฏิชีวนะและยาสัตว์ ที่อนุญาตใช้และปริมาณ และความปลอดภัย 2.โลหะหนัก – ได้กำหนดในมาตรฐาน เช่น สารหนู ตะกั่ว แคดเมียม และปรอท 3.จุลินทรีย์ – มีจุลินทรีย์ชี้วัด 7 ตัว ได้แก่ จุลินทรีย์ชนิด aerobic, โคลิฟอร์ม, E.Coli, Salmonella, Staphyloccocus aureus, Clostridium perfringens และ Bacillus cereus 4. สารพิษจากเชื้อรา – เน้นสารพิษจากเชื้อราและค่า MRL แต่ละกลุ่มของอาหารสัตว์
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/15
23 พฤศจิกายน 2552
มาตรการปกติ
สินค้าอาหารสัตว์ป่น
สาระสำคัญ : กฎระเบียบทางเทคนิคแห่งชาติ เรื่อง ข้อกำนดตามความปลอดภัยอาหาร สุขลักษณะ และการปกป้องสิ่งแวดล้อมในการผลิตอาหารสัตว์ 1. ข้อกำหนดโรงงาน – ที่ตั้ง การออกแบบโรงปฏิบัติงาน โครงสร้างโรงงาน เครื่องมือ สนามและ85ทางเดินภายใน ระบบการเก็บ ไฟฟ้า น้ำ การระบายอากาศ และการกำจัดของเสีย 2. ข้อกำหนดการผลิต – วัตถุดิบอาหารสัตว์ ข้อกำหนดการผลิต ระบบควบคุมคุณภาพผลผลิต 3. ข้อกำหนดเจ้าหน้าที่- สุขภาพเจ้าหน้าที่ฝ่ายผลิต ความรู้ด้านสุขลักษณะและความปลอดภัยอาหาร 4. ข้อกำหนดสุขลักษณะ – สุขลักษณะบุคลากร รวมถึงโปรแกรมสุขลักษณะของโรงงานและวัสดุอุปกรณ์
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/169
16 ตุลาคม 2552
มาตรการปกติ
สินค้าข้าวโพดอบแห้งทอด (fried corn snack)
สาระสำคัญ : ร่างเสนอหลักการปฏิบัติที่ดีสำหรับการแปรรูปและการจัดการข้าวโพดอบแห้งทอด (fried corn snack) ตั้งแต่การรับส่วนประกอบวัตถุดิบ การจัดเตรียมและการแปรรูปข้าวโพดอบแห้งทอด หลักปฏิบัตินี้เพื่อเป็นแนวทางให้ได้ปฎิบัติตามมาตรฐานข้าวโพดอบแห้งทอดที่บรรจุในภาชนะที่เหมาะสม
วันที่มีผลบังคับใช้ : 27 พ.ย.52
ประเทศคู่ค้า




มาเลเซีย G/SPS/N/MYS/24
13 ตุลาคม 2552
มาตรการปกติ
สินค้าวัสดุบรรจุภัณฑ์ไม้ (รวมdunage)ทำมาจากไม้สนและไม่ใช่ไม้สนดิบ
สาระสำคัญ : ประกาศใช้มาตรฐานระหว่างประเทศ ISPM ฉบับที่ 15 (Revised 2009) สำหรับสินค้านำเข้า เพื่อลดความเสี่ยงการเข้ามาและหรือแพร่ระบาดของศัตรูพืชกักกันที่ติดมากับวัสดุบรรจุภัณฑ์ไม้ เช่น พาเลท ลังไม้ ฯ ลฯ ที่ทำจากไม้สนและไม่ใช่ไม้สนดิบซึ่งบรรจุสินค้านำเข้ามาโดยส่วนใหญ่ และไม่ใช่เป้าหมายของการตรวจสอบ
วันที่มีผลบังคับใช้ : 6 เดือนหลังประกาศใช้
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/168
12 ตุลาคม 2552
มาตรการปกติ
สินค้าFried Corn Snacks
สาระสำคัญ : ประกาศมาตรฐานขนมที่ทำจากข้าวโพด (Zea maize spp.) โดยใช้วิธีการถนอมอาหารด้วยการทอด มาตรการดังกล่าวใช้กับผลิตภัณฑ์อื่นๆ ทั่วๆไปด้วย เช่น ผลิตภัณฑ์ “chicharon” และ “cornick”
วันที่มีผลบังคับใช้ : 27 พ.ย. 52
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/167
07 ตุลาคม 2552
มาตรการปกติ
สินค้าน้ำตาลทรายขาว
สาระสำคัญ : ร่างมาตรฐานแห่งชาติของฟิลิปปินส์ BAFPNG 82 : 2009 สำหรับน้ำตาลทรายขาว ที่ยังไม่แปรรูปเพื่อบริโภค รวมน้ำตาลที่ขายโดยตรงแก่ผู้บริโภค และใช้เป็นส่วนประกอบในอาหาร
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/166
07 ตุลาคม 2552
มาตรการปกติ
สินค้าอ้อย
สาระสำคัญ : ประกาศมาตรฐานอ้อยที่ใช้บริโภค และขายเพื่อแปรรูป หรือแปรรูป หรือเป็นส่วนประกอบในอาหาร
วันที่มีผลบังคับใช้ : 23 ก.ย. 52
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/13
07 ตุลาคม 2552
มาตรการปกติ
สินค้าอาหารสุกร
สาระสำคัญ : กฎระเบียบทางเทคนิคแห่งชาติ เรื่อง กำหนดปริมาณยาสัตว์ ยาปฏิชีวนะ จุลินทรีย์ และโลหะหนัก ในอาหารลูกโค และโคเนื้อ ดังนี้ ยาปฏิชีวนะกับยาสัตว์ - รายชื่อสารปฏิชีวนะและยาสัตว์ ที่อนุญาตใช้ปริมาณ และระเบียบเกี่ยวกับความปลอดภัยสำหรับไก่ เป็ด หมู และโค ในแต่ละสายพันธุ์ โดยกำหนดค่า MRLแต่ละชนิดเป็นกลุ่มเล็กๆ ให้เหมาะกับปศุสัตว์ และสัตว์ปีกแต่ละประเภท โลหะหนัก –กำหนดมาตรฐาน เช่น สารหนู ตะกั่ว แคดเมียม และปรอท จุลินทรีย์ – มีจุลินทรีย์ชี้วัด 7 ตัว ได้แก่ จุลินทรีย์ชนิด aerobic โคลิฟอร์ม E.Coli, Salmonella, Staphyloccocus aureus, Clostridium perfringens และ Bacillus cereus สารพิษจากเชื้อรา – เน้นสารพิษจากเชื้ออฟลาทอกซินและกำหนดค่า MRL แต่ละกลุ่มของอาหารสัตว์ผสมสำหรับไก่ หมู วัว
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/12
07 ตุลาคม 2552
มาตรการปกติ
สินค้าอาหารลูกโค และโคเนื้อ
สาระสำคัญ : กฎระเบียบทางเทคนิคแห่งชาติ เรื่อง กำหนดปริมาณยาสัตว์ ยาปฏิชีวนะ จุลินทรีย์ และโลหะหนัก ในอาหารลูกโค และโคเนื้อ ดังนี้ ยาปฏิชีวนะกับยาสัตว์ - รายชื่อสารปฏิชีวนะและยาสัตว์ ที่อนุญาตใช้ปริมาณ และระเบียบเกี่ยวกับความปลอดภัยสำหรับไก่ เป็ด หมู และโค ในแต่ละสายพันธุ์ โดยกำหนดค่า MRLแต่ละชนิดเป็นกลุ่มเล็กๆ ให้เหมาะกับปศุสัตว์ และสัตว์ปีกแต่ละประเภท โลหะหนัก –กำหนดมาตรฐาน เช่น สารหนู ตะกั่ว แคดเมียม และปรอท จุลินทรีย์ – มีจุลินทรีย์ชี้วัด 7 ตัว ได้แก่ จุลินทรีย์ชนิด aerobic โคลิฟอร์ม E.Coli, Salmonella, Staphyloccocus aureus, Clostridium perfringens และ Bacillus cereus สารพิษจากเชื้อรา – เน้นสารพิษจากเชื้ออฟลาทอกซินและกำหนดค่า MRL แต่ละกลุ่มของอาหารสัตว์ผสมสำหรับไก่ หมู วัว
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/11
07 ตุลาคม 2552
มาตรการปกติ
สินค้าอาหารเป็ด
สาระสำคัญ : กฎระเบียบทางเทคนิคแห่งชาติ เรื่อง กำหนดปริมาณยาสัตว์ ยาปฏิชีวนะ จุลินทรีย์ และโลหะหนัก ในอาหารลูกโค และโคเนื้อ ดังนี้ ยาปฏิชีวนะกับยาสัตว์ - รายชื่อสารปฏิชีวนะและยาสัตว์ ที่อนุญาตใช้ปริมาณ และระเบียบเกี่ยวกับความปลอดภัยสำหรับไก่ เป็ด หมู และโค ในแต่ละสายพันธุ์ โดยกำหนดค่า MRLแต่ละชนิดเป็นกลุ่มเล็กๆ ให้เหมาะกับปศุสัตว์ และสัตว์ปีกแต่ละประเภท โลหะหนัก –กำหนดมาตรฐาน เช่น สารหนู ตะกั่ว แคดเมียม และปรอท จุลินทรีย์ – มีจุลินทรีย์ชี้วัด 7 ตัว ได้แก่ จุลินทรีย์ชนิด aerobic โคลิฟอร์ม E.Coli, Salmonella, Staphyloccocus aureus, Clostridium perfringens และ Bacillus cereus สารพิษจากเชื้อรา – เน้นสารพิษจากเชื้ออฟลาทอกซินและกำหนดค่า MRL แต่ละกลุ่มของอาหารสัตว์ผสมสำหรับไก่ หมู วัว
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/10
07 ตุลาคม 2552
มาตรการปกติ
สินค้าอาหารไก่
สาระสำคัญ : กฎระเบียบทางเทคนิคแห่งชาติ เรื่อง กำหนดปริมาณยาสัตว์ ยาปฏิชีวนะ จุลินทรีย์ และโลหะหนัก ในอาหารเลี้ยงไก่ ดังนี้ ยาปฏิชีวนะกับยาสัตว์ - รายชื่อสารปฏิชีวนะและยาสัตว์ ที่อนุญาตให้ใช้ปริมาณ และระเบียบเกี่ยวกับความปลอดภัยสำหรับไก่ เป็ด หมู และโค ในแต่ละสายพันธุ์ โดยกำหนดค่า MRLแต่ละชนิดเป็นกลุ่มเล็กๆ ให้เหมาะกับปศุสัตว์และสัตว์ปีกแต่ละประเภท โลหะหนัก –กำหนดมาตรฐาน เช่น สารหนู ตะกั่ว แคดเมียม และปรอท จุลินทรีย์ – มีจุลินทรีย์ชี้วัด 7 ตัว ได้แก่ จุลินทรีย์ชนิด aerobic โคลิฟอร์ม E.Coli, Salmonella, Staphyloccocus aureus, Clostridium perfringens และ Bacillus cereus สารพิษจากเชื้อรา – เน้นสารพิษจากเชื้ออฟลาทอกซินและกำหนดค่า MRL แต่ละกลุ่มของอาหารสัตว์ผสมสำหรับไก่ หมู วัว
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/8
23 กันยายน 2552
มาตรการปกติ
สินค้า อาหาร
สาระสำคัญ : กฎระเบียบนี้กำหนดเงื่อนไขเพื่อรับรองความปลอดภัยในสินค้าอาหาร การผลิตอาหาร กิจกรรมทางการค้า การโฆษณาสินค้า และการติดฉลาก อาหารส่งออกและนำเข้า การควบคุมการปนเปื้อนอาหาร การตอบสนองการป้องกันและสิ่งที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยอาหาร อำนาจในการออกเอกสารและขั้นตอนปฏิบัติในการออกใบรับรองสถานที่ผลิตอาหารอย่างเหมาะสม การทดสอบอาหาร ข้อมูล การศึกษา และการสื่อสารเกี่ยวกับความปลอดภัยอาหาร การจัดการความปลอดภัยอาหาร และตรวจสอบความปลอดภัยอาหาร
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




มาเลเซีย G/SPS/N/MYS/20 /Add.1
14 กันยายน 2552
มาตรการปกติ
สินค้าปลามีชีวิต
สาระสำคัญ : กรมประมงของมาเลเซียได้แจ้งประกาศ เงื่อนไขการนำเข้าปลามีชีวิต ภายใต้ พ.ร.บ. Control of Live Fish, Fisheries Act 1985 (Act 317 – Section 40) โดยขยายเวลาเสนอข้อคิดเห็นถึง 13 พ.ย. 52 โดยเงื่อนไขการนำเข้าปลามีชีวิต ภายใต้ พ.ร.บ. Control of Live Fish, Fisheries Act 1985 (Act 317 – Section 40) สาระสำคัญได้แก่ 1. ประเทศผู้ส่งออกต้องรับรองว่าปลามาจากฟาร์มที่ได้รับการรับรองและภายใต้การดูแลควบคุมของ CA 2. ใบรับรอง Health Certificate ออกโดย CA ของประเทศผู้ส่งออก 3. ประเทศผู้ส่งออกจะต้องรับรองสินค้าปลามีกำเนิดจากเขตปลอดโรคตามบัญชีรายชื่อของ OIE ต้องไม่มีโรคระบาดภายใน 2 ปี ก่อนส่งออก
วันที่มีผลบังคับใช้ : 1 ม.ค.53
ประเทศคู่ค้า




มาเลเซีย G/SPS/N/MYS/21
25 สิงหาคม 2552
มาตรการปกติ
สินค้าสถานที่ประกอบอาหาร
สาระสำคัญ : ตาม Fod Act 1983, Food hygiene Regulation 2009 ให้ปฏิบัติตามได้กำหนดสุขอนามัยเกี่ยวกับสถานที่ประกอบอาหาร ผู้จัดเตรียมอาหาร และอุปกรณ์ ระหว่างการเตรียมอาหาร การเก็บ และขนส่งอาหาร ข้อบังคับสำหรับผู้จัดเตรียมอาหารที่ต้องปฎิบัติได้แก่ - ฝึกอบรมด้านสุขลักษณะอาหาร และความปลอดภัยอาหาร - การตรวจสอบร่างกาย
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




มาเลเซีย G/SPS/N/MYS/22
25 สิงหาคม 2552
มาตรการปกติ
สินค้าปลาและผลิตภัณฑ์ปลา
สาระสำคัญ : ตาม Food Act 1983, Food hygiene Regulation 2009 แจ้งการให้ใบรับรองสุขภาพสัตว์สำหรับผู้ส่งออกปลาและผลิตภัฑณ์ปลาจากมาเลเซียไปยังสหภาพยุโรป
วันที่มีผลบังคับใช้ : 1 มี.ค. 52
สหภาพยุโรป




มาเลเซีย G/SPS/N/MYS/23
25 สิงหาคม 2552
มาตรการปกติ
สินค้าน้ำแข็ง
สาระสำคัญ : ตาม Food Act 1983, Food hygiene Regulation 2009 ฉบับแก้ไข - ได้กำหนดโรงงานน้ำแข็งได้รับอนุญาตตจากกระทรวงสาธารณสุข โดยน้ำแข็งจะต้องงฏิบัติตามมาตรฐาน
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/159/Add.1
25 สิงหาคม 2552
มาตรการปกติ
สินค้าสัตว์ปีกและผลิตภัณฑ์
สาระสำคัญ : ฟิลิปปินส์ยกเลิกการะงับนำเข้าชั่วคราวสำหรับสัตว์ปีกและผลิตภัณฑ์จากญี่ปุ่น มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 3 สิงหาคม 2552 เนื่องจากได้มีการประเมินความเสี่ยงแล้ว ว่าญี่ปุ่นปลอดจากโรคไข้หวันดนกแล้ว
วันที่มีผลบังคับใช้ : 3 ส.ค.52
ญี่ปุ่น




มาเลเซีย G/SPS/N/MYS/19 /Add.2
25 สิงหาคม 2552
มาตรการปกติ
สินค้าเนื้อสัตว์
สาระสำคัญ : หน่วยงานปศุสัตว์ของมาเลเซียได้พิจารณาทบทวนการเก็บค่าธรรมเนียมจากโรงฆ่าสัตว์ต่างประเทศ และโรงงานแปรรูป ซึ่งต้องการจะส่งออกเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์จากสัตว์มายังมาเลเซียโดยเริ่มตั้งแต่ 1 มกราคม 2553 ค่าธรรมเนียมจะเรียกเก็บจากทุกโรงงานที่ต้องการให้ตรวจสอบหรือทบทวน
วันที่มีผลบังคับใช้ : 24 มิถุนายน 2551
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/159
14 กรกฎาคม 2552
มาตรการปกติ
สินค้าสัตว์ปีกมีชีวิต เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : แจ้งประกาศห้ามนำเข้าชั่วคราว ในสินค้าต่อไปนี้ จากญี่ปุ่น สัตว์ปีกพื้นบ้านและสัตว์ปีกป่า และผลิตภัณฑ์ รวมทั้งลูกไก่ ไข่และน้ำเชื้อ เนื่องจากตรวจพบการระบาดของเชื้อไข้หวัดนกชนิด low pathogenic avian ในฟาร์มในเมือง Toyohashi, Aichi
วันที่มีผลบังคับใช้ : 2 มี.ค. 52
ญี่ปุ่น




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/157
14 กรกฎาคม 2552
มาตรการปกติ
สินค้าโคกระบือ สุกร แพะ แกะ ผลิตภัณฑ์และผลพลอยได้
สาระสำคัญ : แจ้งประกาศห้ามนำเข้าชั่วคราว ในสินค้าต่อไปนี้ จากไทเปสัตว์ที่อ่อนแอต่อโรคปากและเท้าเปื่อย และผลิตภัณฑ์ เนื่องจากมีรายงานการระบาดของโรคปากและเท้าเปื่อยในจังหวัด Maoiao Township, Yun-Lin และ Beldou Town, Chang-Hua ตามลำดับ
วันที่มีผลบังคับใช้ : 3 มี.ค. 52
ไทเป




มาเลเซีย G/SPS/N/MYS/20
06 กรกฎาคม 2552
มาตรการปกติ
สินค้าปลามีชีวิต
สาระสำคัญ : แจ้งรายละเอียดเงื่อนไขการนำเข้าปลามีชีวิต ภายใต้ พ.ร.บ. Control of Live Fish, Fisheries Act 1985 (Act 317 – Section 40) สาระสำคัญได้แก่ 1. ประเทศผู้ส่งออกต้องรับรองว่าปลามาจากฟาร์มที่ได้รับการรับรองและภายใต้การดูแลควบคุมของ CA 2. ใบรับรอง Health Certificate ออกโดย CA ของประเทศผู้ส่งออก 3. ประเทศผู้ส่งออกจะต้องรับรองสินค้าปลามีกำเนิดจากเขตปลอดโรคตามบัญชีรายชื่อของ OIE ต้องไม่มีโรคระบาดภายใน 2 ปี ก่อนส่งออก
วันที่มีผลบังคับใช้ : 1 ม.ค.53
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/151 /Add.1
12 มิถุนายน 2552
มาตรการปกติ
สินค้าอาหาร
สาระสำคัญ : ประกาศขยายเวลาในการเสนอความเห็นถึง 31 ก.ค. 52 เกี่ยวกับการประเมินความปลอดภัยอาหารในอาหาร และอาหารสัตว์ ที่มี Recombinant –DNA หรือพืชดัดแปลงพันธุกรรมในระดับต่ำ
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/150 /Add.1
12 มิถุนายน 2552
มาตรการปกติ
สินค้าอาหารที่ได้จากเทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหม่
สาระสำคัญ : ฟิลิปปินส์ประกาศใช้หลัก Codex ในเรื่องการวิเคราะห์ความเสี่ยงอาหารที่ได้จากเทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหม่ (Modern Biotechnology) และแนวทางปฏิบัติสำหรับการประเมินความปลอดภัยอาหารที่ได้จากพืชตัดต่อยีน Recombinant –DNA และแจ้งขยายเวลาเสนอความเห็นถึง 31 กรกฎาคม 2552
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/7
18 พฤษภาคม 2552
มาตรการปกติ
สินค้าโค กระบือ
สาระสำคัญ : แจ้งเวียนประกาศกระทรวงฯ กฎระเบียบเกี่ยวกับหลักเกณฑ์ขั้นตอน เงื่อนไขการนำเข้าโคกระบือจากลาว กัมพูชา
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ลาว กัมพูชา




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/151
01 พฤษภาคม 2552
มาตรการปกติ
สินค้าสินค้าเกษตรที่มีส่วนประกอบกของ GMOs
สาระสำคัญ : ฟิลิปปินส์นำ Annex 3 ของ Codex Plant Quarantine CAC/GL 45-2003 มาใช้สำหรับการกระเมินความปลอดภัยอาหารของพืช และอาหารสัตว์ที่มีการใช้ตัดต่อยีน Recombinant –DNA ในระดับต่ำ
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/152
01 พฤษภาคม 2552
มาตรการปกติ
สินค้าข้าว HS1005 ข้าวโพด HS 1006
สาระสำคัญ : กำหนดแนวทางภายใต้ Administrative Order No. 21 ปี 2007 เพื่อให้ครอบคลุมการทดสอบและการวิเคราะห์เมล็ดพันธุ์ข้าวและข้าวโพดที่นำเข้าทั้งหมด
วันที่มีผลบังคับใช้ : 12 พ.ค.52
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/150
01 พฤษภาคม 2552
มาตรการปกติ
สินค้าสินค้าเกษตรที่มีส่วนประกอบกของ GMOs
สาระสำคัญ : ฟิลลิปปินส์ใช้หลัก Codex ในเรื่องการวิเคราะห์ความเสี่ยงอาหารที่ได้จากเทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหม่ (Modern Biotechnology) และแนวทางปฏิบัติสำหรับการประเมินความปลอดภัยอาหารที่ได้จากพืชตัดต่อยีน Recombinant –DNA
วันที่มีผลบังคับใช้ : 27 มี.ค.52
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/6
27 เมษายน 2552
มาตรการปกติ
สินค้ารายชื่อยา สารเคมี สารปฎิชีวนะ
สาระสำคัญ : เวียดนามแจ้งเวียนประกาศกระทรวงเกษตรฯ เกี่ยวกับ รายชื่อยา สารเคมี สารปฎิชีวนะที่ใช้ในการเลี้ยงผึ้ง
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/5
21 เมษายน 2552
มาตรการปกติ
สินค้ารายชื่อยา สารเคมี สารปฎิชีวนะ ที่ห้ามใช้หรือจำกัด
สาระสำคัญ : เวียดนามแจ้งเวียนประกาศกระทรวงเกษตรฯ เกี่ยวกับ รายชื่อยา สารเคมี สารปฎิชีวนะที่ห้ามใช้และจำกัดการใช้ในเวียดนาม - รายชื่อสารเคมี สารปฎิชีวนะที่ห้ามใช้ในการผลิต การค้าในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ - รายชื่อ ยา สารเคมี สารปฎิชีวนะที่ห้ามใช้ทางสัตวแพทย์ - รายชื่อสารเคมี สารปฎิชีวนะที่จำกัดการใช้ในการผลิต การค้าเพื่อเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ - รายชื่อ ยา สารเคมี สารปฎิชีวนะที่จำกัดการใช้ทางสัตวแพทย์
วันที่มีผลบังคับใช้ : 2 พ.ค.52
ประเทศคู่ค้า




สิงคโปร์ G/SPS/N/SGP/37
21 เมษายน 2552
มาตรการปกติ
สินค้าแมว สุนัข เพื่อเลี้ยงส่วนตัวหรือ ทางการค้า
สาระสำคัญ : ทบทวนเงื่อนไขสำหรับการนำเข้าแมว และสุนัข โดยสิงคโปร์ได้นำการประเมินความเสี่ยงโรคพิษสุนัขบ้า (rabies) เพื่อกำหนดประเภทการกักกัน ตามข้อมูลการควบคุมโรคฯ ของแต่ละประเทศ ปัจจุบัน สุนัขและแมวจาก 4 ประเทศ – นิวซีแลนด์ ออสเตรเลีย สหราชอาณาจักร และไอร์แลนด์ ได้รับการยกเว้นการกักกันจาก Agri-Food and Veterinary Authority of Singapore : AVA ส่วนสุนัขและแมวจาก ประเทศอื่นๆ ต้องฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าเมื่อมาถึงสิงคโปร์ และต้องกักกันนาน 30 วัน สิงคโปร์ได้ทบทวนเงื่อนไขการนำเข้าสุนัขและแมวจากเดิมเพียง 2 กลุ่ม เปลี่ยนเป็น 4 กลุ่ม ดังนี้ กลุ่ม A (ประเทศที่ปลอดโรคพิษสุนัขบ้า) กลุ่ม B (ประเทศที่มีความเสี่ยงโรคพิษสุนัขบ้าต่ำ) กลุ่ม C (ประเทศที่สามารถควบคุมโรคได้ หรือ มีการพบโรคนี้ในระดับต่ำ) กลุ่ม D (ประเทศอื่นๆ) โดยกลุ่ม A จะไม่มีการกักกัน กลุ่ม B จะต้องแจ้งที่อยู่ก่อนส่งออก ฉีดวัคซีน และทดสอบ กลุ่ม C มีทางเลือก 3 ทางและมีการกักกันอาจเป็น 10 วัน หรือ 30 วัน ขึ้นกับทางที่เลือก สำหรับกลุ่ม D ต้องกักเป็นเวลา 30 วัน และฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า เมื่อมาถึงสิงคโปร์ AVA ได้จัดกลุ่มประเทศใหม่ตามสถานการณ์ เพื่ออำนวยความสะดวกแก่นักท่องเที่ยวและบุคคลที่มีสัตว์เลี้ยงและย้ายมาอยู่ในสิงคโปร์ รวมถึงการนำเข้าเพื่อการค้า AVA ได้ขอเชิญประเทศผู้สนใจส่งใบขอประเมินถึง AVA เพื่อจัดประเภทดังกล่าว โดย AVA จะประเมินจากการพบโรคและสถานการณ์ของโรคพิษสุนัขบ้าทั้งในสัตว์และมนุษย์ของประเทศนั้นย้อนหลัง 5 ปี โครงสร้างพื้นฐานทางสัตวแพทย์ กฎระเบียบสุขอนามัยสัตว์เกี่ยวกับโรคพิษสุนัขบ้า ทั้งนี้ บางประเทศ/ ภูมิภาคได้ยื่นขอประเมินและจัดประเภทแล้ว ประเทศที่ไม่ได้ยื่นขอจะถูกจัดอยู่ในประเภท D
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/27/Add.1
20 เมษายน 2552
มาตรการปกติ
สินค้าวัสดุบรรจุภัณฑ์จากไม้ และ มาตรการกักกันไม้นำเข้าอินโดนีเซีย
สาระสำคัญ : อินโดนีเซียประกาศกฤษฎีกากระทรวงเกษตรฯ เกี่ยวกับข้อกำหนดการนำเข้าวัสดุบรรจุภัณฑ์จากไม้ และ มาตรการกักกันไม้นำเข้าอินโดนีเซีย ตามที่ได้แจ้งไว้ใน SPS Notification หมายเลข G/SPS/N/IDN/27 ( 29 พ.ค.2549) ระเบียบดังกล่าวจะมีผลบังคับใช้ เดือนกันยายน 2552 สรุปได้ดังนี้ 1. ต้องนำเข้าผ่านด่านที่กำหนด 2. ต้องแจ้งและสำแดงสินค้าต่อเจ้าหน้าที่ตรวจสอบกักกัน (quarantine inspector) ณ ด่านนำเข้าสำหรับมาตรการกักกัน 3. ต้องไม่มีศัตรูพืชกักกัน 4. ต้องเอาเปลือกออก และไม่มีดินติดมา 5. และมีการกำจัดศัตรูพืช และประทับตราเครื่องหมาย
วันที่มีผลบังคับใช้ : กันยายน 2552
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/148
17 กุมภาพันธ ์ 2552
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าโคกระบือ สุกร แพะ แกะ
สาระสำคัญ : ฟิลิปปินส์ประกาศห้ามนำเข้าสัตว์กระเพาะรวมซึ่งคาดว่าจะเป็นโรคปากและเท้าเปื่อย จากจีน เนื่องจากมีรายงาน OIE ว่ามีการระบาดโรคปากและเม้าเปื่อย serotype A ตรวจพบในจังหวัด Hubei และ Xinjiang
วันที่มีผลบังคับใช้ : 28 ม.ค. 52
จีน




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/149
17 กุมภาพันธ ์ 2552
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกมีชีวิต เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ไข่ และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ฟิลิปปินส์ประกาศห้ามนำเข้าชั่วคราวสัตว์ปีก เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่, ไข่ และน้ำเชื้อ ซึ่งอ่อนแอต่อโรคปากและเท้าเปื่อย จากเนปาล เนื่องจากมีรายงาน OIE ว่ามีการระบาดของโรคไข้หวัดนก serotype H5N1 ในจังหวัด Jhapa, Mechi
วันที่มีผลบังคับใช้ : 28 ม.ค. 52
เนปาล




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/140 /Add.1
05 กุมภาพันธ ์ 2552
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสินค้าสัตว์ปีก และผลิตภัณฑ์
สาระสำคัญ : ยกเลิกการห้ามนำเข้าสินค้าสัตว์ปีก และผลิตภัณฑ์จากสหราชอาณาจักร ซึ่งเดิมได้ห้ามนำเข้าเนื่องจากพบเชื้อไข้หวัดนก H7N7 ตั้งแต่ 8 ม.ค. 52
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
สหราชอาณาจักร




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/40
09 มกราคม 2552
มาตรการปกติ
สินค้าซาก เนื้อ และเครื่องใน
สาระสำคัญ : (ร่าง) กฤษฎีกากระทรวงเกษตรเกี่ยวกับ การนำเข้าและการติดตามการขาย ซาก เนื้อและเครื่องในสัตว์จากโพ้นทะเล ซึ่งร่างดังกล่าวเป็นการทบทวนแก้ไขกฤษฎีกากระทรวงเกษตร ฉบับที่. 64/Permention/OT.140/12/2006 ที่เคยแจ้งใน G/SPS/N/IDN/30 ดังนี้ - ชนิดของซาก เนื้อ และเครื่องใน ( สัตว์กระเพาะรวม สุกร เนื้อสัตว์ปีก fancy meat เนื้อแปรรูป ) - ข้อกำหนดสำหรับการนำเข้ารวมทั้งข้อกำหนดผู้ส่งออก / เขตและประเทศแหล่งกำเนิด / บรรจุหีบห่อ/ การติดฉลาก/ และการส่งสินค้าทางเรือ (shipment) - ขั้นตอนการนำเข้า - มาตรการกักกันสัตว์ - การติดตามการจำหน่าย
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




สิงคโปร์ G/SPS/N/SGP/36
15 ธันวาคม 2551
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสุกรและผลิตภัณฑ์สุกร
สาระสำคัญ : รัฐบาลไอร์แลนด์ได้เรียกคืนสินค้ากลุ่ม สุกรและผลิตภัณฑ์สุกร ที่ผลิตจากโรงฆ่าสุกรไอร์แลนด์ หลังจากการสุ่มตัวอย่างอาหารสัตว์และไขมันสุกรพบว่ามีสารไดออกซิน ดังนั้น สิงคโปร์จึงประกาศระงับนำเข้า สุกรและผลิตภัณฑ์สุกรจากไอร์แลนด์ ตั้งแต่ 7 ธันวาคม 2551
วันที่มีผลบังคับใช้ : 7 ธ.ค. 51
ไอร์แลนด์




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/39
08 ธันวาคม 2551
มาตรการปกติ
สินค้าปลามีชีวิต
สาระสำคัญ : (ร่าง) กฤษฎีกาของ Minister of Marine Affairs and Fisheriesเกี่ยวข้องกับข้อกำหนดถือติดตัวการนำเข้าในรูปของปลามีชีวิต โดยกำหนดในเรื่อง - คำนิยาม - ข้อกำหนดด้านเอกสารนอกจากใบรับรองสุขภาพ (จากประเทศต้านกำเนิด) สำหรับการนำเข้าปลามีชีวิต - ช่วงระยะเวลาระหว่างการยื่นเอกสารกับการถือติดตัวเพื่อนำเข้า/มาถึงประเทศ - ข้อกำหนดอื่นๆ
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/25/ Add.4
22 สิงหาคม 2551
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์เนื้อวัวจากไอร์แลนด์
สาระสำคัญ : ยกเลิกการห้ามนำเข้าชั่วคราวเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์เนื้อวัวจากไอร์แลนด์
วันที่มีผลบังคับใช้ : 21 ก.ค. 51
ไอร์แลนด์




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/143
22 สิงหาคม 2551
มาตรการปกติ
สินค้าสัตว์ปีกที่มีชีวิต เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ที่มีอายุ 1 วัน ไข่และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : จากรายงาน OIE แจ้งว่าเยอรมนีได้ปลอดจากโรคไข้หวัดนกแล้ว ตามหลักเกณฑ์กำหนดไว้ ฟิลิปปินส์ได้ประเมินแล้วเห็นว่า ความเสี่ยงต่อการปนเปื้อนในการนำเข้าสัตว์ปีกและผลิตภัณฑ์จากเยอรมนีมีต่ำมาก
วันที่มีผลบังคับใช้ : 29 เม.ย. 51
เยอรมนี




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/144
22 สิงหาคม 2551
มาตรการปกติ
สินค้าสัตว์ปีกที่มีชีวิต เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ที่มีอายุ 1 วัน ไข่และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : จากรายงาน OIE แจ้งว่าเยอรมนีได้ปลอดจากโรคไข้หวัดนกแล้ว ตามหลักเกณฑ์กำหนดไว้ ฟิลิปปินส์ได้ประเมินแล้วเห็นว่า ความเสี่ยงต่อการปนเปื้อนในการนำเข้าสัตว์ปีกและผลิตภัณฑ์จาก Saskatchewan, แคนาดา มีต่ำมาก
วันที่มีผลบังคับใช้ : 8 พ.ค. 51
Saskatchewan, แคนาดา




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/145
22 สิงหาคม 2551
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกที่มีชีวิต เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ที่มีอายุ 1 วัน ไข่และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ฟิลิปปินส์ออกประกาศฉุกเฉินเพื่อป้องกันการนำเข้าไวรัสไข้หวัดนก
วันที่มีผลบังคับใช้ : 8 พ.ค. 51
เดนมาร์ก




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/38
08 สิงหาคม 2551
มาตรการปกติ
สินค้าปลาที่มีชีวิตและอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องในการขนย้าย
สาระสำคัญ : ร่างพระราชบัญญัติข้อกำหนดเรื่องปลาที่มีชีวิตและอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องในการขนย้าย -นิยามอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับการขนย้าย -สถานที่สำหรับการนำสินค้าดังกล่าวเข้าอย่างเป็นทางการ กำหนดโดย MMAF -ต้องมีหนังสือรับรองสุขอนามัยสำหรับการนำเข้า
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ทุกประเทศ




บรูไน G/SPS/N/BRA/232 /Add.1
09 เมษายน 2551
มาตรการปกติ
สินค้าน้ำเชื้อสุกร
สาระสำคัญ : ประกาศ Normative Instruction ฉบับที่ 6 เพื่อตรวจสอบขึ้นทะเบียนศูนย์รวบรวมและแปรรูปน้ำเชื้อสุกร
วันที่มีผลบังคับใช้ : 23 มิถุนายน 2551
ทุกประเทศ




มาเลเซีย G/SPS/N/MYS/19
03 เมษายน 2551
มาตรการปกติ
สินค้าเนื้อสัตว์ และผลิตภัณฑ์จากสัตว์
สาระสำคัญ : ค่าธรรมเนียมสำหรับค่าบริการตรวจสอบโรงฆ่าและโรงงานแปรรูปที่ส่งออกเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์ที่มีแหล่งกำเนิดจากสัตว์เข้ามาเลเซีย โดยจะมีการคิดค่าธรรมเนียมทุกโรงฆ่าที่ถูกดำเนินการตรวจสอบสำหรับกิจกรรม compliance audit/ review audit และ การตรวจสอบเพื่อยืนยันกรณีไม่สอดคล้อง
วันที่มีผลบังคับใช้ : 1 มิถุนายน 2551
ทุกประเทศ




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/125 /Add.1
31 มีนาคม 2551
มาตรการปกติ
สินค้ายกเลิกการระงับการนำเข้าชั่วคราวของสัตว์เท้ากีบ
สาระสำคัญ : ฟิลิปปินส์ยกเลิกการระงับการนำเข้าชั่วคราวสำหรับสัตว์ที่อ่อนแอต่อโรคปากและเท้าเปื่อย รวมทั้งผลิตภัณฑ์และผลพลอยได้จากสหราชอาณาจักร ซึ่งมีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 26 กุมภาพันธ์ 2551
วันที่มีผลบังคับใช้ : 26 กุมภาพันธ์ 2551
สหราชอาณาจักร




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/124/ Add.2
01 กุมภาพันธ ์ 2551
มาตรการปกติ
สินค้าสัตว์ปีกพื้นบ้านและสัตว์ปีกป่า และผลิตภัณฑ์รวมทังเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ และนำเชื้อ
สาระสำคัญ : ฟิลิปปินส์ประกาศยกเลิกการห้ามนำเข้าสัตว์ปีกพื้นบ้านและสัตว์ปีกป่า และผลิตภัณฑ์รวมทังเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ และน้ำเชื้อ จากรัฐเวอร์จิเนีย สหรัฐอเมริกา เนื่องจากพบไข้หวัดนก H5N1 ตามคำสั่ง DA MO No. 022008 มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 10 มกราคม 2551
วันที่มีผลบังคับใช้ : 10 ม.ค. 51
รัฐเวอร์จิเนีย สหรัฐอเมริกา




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/132
23 มกราคม 2551
มาตรการปกติ
สินค้าเมล็ดโกโก้ (18.01.00.00)
สาระสำคัญ : มาตรฐานฟิลิปปินส์ กำหนดระบบการคัดเกรดหรือ การจำแนกเมล็ดโกโก้ที่ได้จากการเก็บเกี่ยวจากต้นโกโก้ โดยทั่วไปเมล็ดโกโก้ Theobroma cacao L. ต้องหมักและทำให้แห้งอย่างเหมาะสมก่อนขายในตลาด และแปรรูปต่างๆ
วันที่มีผลบังคับใช้ : 31 มี.ค. 51
ทุกประเทศ




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/133
23 มกราคม 2551
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกมีชีวิต (0105) เนื้อสัตว์ปีก (0207) ลูกไก่ (0105.11) ไข่ (0407) และน้ำเชื้อ (0511.99)
สาระสำคัญ : คำสั่งที่ 24 ปี 2550 ห้ามนำเข้าชั่วคราวใน สัตว์ปีกมีชีวิต เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ จากสาธารณรัฐเกาหลี เพื่อป้องกันการระบาดของโรคไข้หวัดนก
วันที่มีผลบังคับใช้ : 11 ธ.ค. 50
เกาหลี




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/134
23 มกราคม 2551
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกมีชีวิต (0105) เนื้อสัตว์ปีก (0207) ลูกไก่ (0105.11) ไข่ (0407) และน้ำเชื้อ (0511.99)
สาระสำคัญ : คำสั่งที่ 23 ปี 2550 ห้ามนำเข้าชั่วคราวสัตว์ปีกมีชีวิต เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ จากโปแลนด์ ซาอุดิอาระเบีย และเบนิน
วันที่มีผลบังคับใช้ : 11 ธ.ค. 50
เบนิน โปแลนด์ และซาอุดิอาระเบีย




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/124/Add.1
23 มกราคม 2551
มาตรการปกติ
สินค้าสัตว์ปีกพื้นบ้านและสัตว์ปีกป่า และผลิตภัณฑ์รวมทั้งเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : คำสั่งกรมวิชาการเกษตร ฉบับที่ 1 ปี 2551ประกาศยกเลิกการห้ามนำเข้าสัตว์ปีกพื้นบ้านและสัตว์ปีกป่า และผลิตภัณฑ์รวมทั้งเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่และน้ำเชื้อที่มาจาก Nebraska สหรัฐอเมริกา มีผลบังคับใช้ 3 มกราคม 2551 เป็นต้นไป
วันที่มีผลบังคับใช้ : 3 ม.ค. 51
Nebraska สหรัฐอเมริกา




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/131
23 มกราคม 2551
มาตรการปกติ
สินค้าเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ (08.01.31.00)
สาระสำคัญ : มาตรฐานกำหนดระบบการคัดเกรดหรือ การจำแนกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ทางการค้าซึ่งมีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Anacardium occidentale L. ที่ผลิตในฟิลิปปินส์
วันที่มีผลบังคับใช้ : 31 มี.ค. 51
ทุกประเทศ




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/3
16 มกราคม 2551
มาตรการปกติ
สินค้าสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม
สาระสำคัญ : กฎระเบียบที่บังคับใช้สำหรับองค์การทั้งภายในและต่างประเทศ บริษัทเอกชน ที่ขอใบรับรองความปลอดภัยของสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม (Biosafety Certification for Genetically modified Crop) ต่อไปนี้จะเรียกว่า ผู้สมัคร (applicants) ผู้ทดสอบระดับไร่นาภายในประเทศ ต่อไปนี้จะเรียกว่า ผู้ทดสอบ (trial conductor), องค์กร หน่วยงานเอกชน ที่เกี่ยวข้องกับการประเมินความเสี่ยงและออกใบรับรองความปลอดภัยของสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม องค์กร หน่วยงานเอกชนซึ่งได้ผลิต การค้า นำเข้า และส่งออกพืชดัดแปลงพันธุกรรมต่างๆในอาณาเขตของเวียดนาม
วันที่มีผลบังคับใช้ : สิ้นเดือนปี 2551
ไม่ระบุ




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/1
14 มกราคม 2551
มาตรการปกติ
สินค้ารายชื่อวัตถุควบคุมที่ต้องวิเคราะห์ความเสี่ยงศัตรูพืช
สาระสำคัญ : ประกาศ Decision No. 34/2007/QD-BNN โดยกระทรวงเกษตรและพัฒนาแรงงาน ลงวันที่ 23 เมษายน 2550 ได้ประกาศรายชื่อวัตถุควบคุมที่ต้องทำการวิเคราะห์ความเสี่ยงศัตรูพืช ก่อนนำเข้าเวียดนาม ได้แก่ – พืชและผลิตภัณฑ์จากพืช – สิ่งมีชีวิตควบคุมอื่นเพื่อพื้นที่อารักขาพืช และ – วัตถุอื่นๆ ที่คาดว่าจะมีความเสียงจะต้องถูกระบุและเพิ่มเติมในช่วงเวลานั้น
วันที่มีผลบังคับใช้ : 9 พ.ค. 51
ทุกประเทศ




เวียดนาม G/SPS/N/VNM/2
14 มกราคม 2551
มาตรการปกติ
สินค้ารายชื่อวัตถุควบคุมที่ต้องวิเคราะห์ความเสี่ยงศัตรูพืช
สาระสำคัญ : ประกาศ Decision No. 482007/QD-BNN โดยกระทรวงเกษตรและพัฒนาแรงงาน ลงวันที่ 9 พฤษภาคม 2550 ได้ประกาศกฎระเบียบสำหรับขั้นตอนการอนุญาตนำเข้าวัตถุควบคุมที่ต้องวิเคราะห์ความเสี่ยงศัตรูพืชก่อนนำเข้าเวียดนาม โดยมีภาคผนวกแนบท้าย ดังนี้ - แบบฟอร์มใบสมัครสำหรับการขออนุญาตนำเข้าสุขอนามัยพืช - ข้อมูลที่จำเป็นสำหรับการวิเคราะห์ความเสี่ยง - มีระยะเวลาสำหรับการวิเคราะห์ความเสี่ยง - ใบอนุญาตนำเข้าสุขอนามัยพืช
วันที่มีผลบังคับใช้ : 15 มิ.ย. 51
ทุกประเทศ




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/37
26 ตุลาคม 2550
มาตรการปกติ
สินค้าผักสดกลุ่ม bulbs
สาระสำคัญ : ข้อกำหนดการกักกันพืชในการนำเข้าผักสดกลุ่ม bulbs เข้าอินโดนีเซีย จะต้อง 1. มีใบรับรองสุขอนามัยพืช (ใบปลอดโรค) จากประเทศต้นกำเนิดและประเทศที่ผ่าน 2. ต้องผ่านที่ด่านนำเข้า 3. ต้องแจ้งและแสดงพืชให้เจ้าหน้าที่กักกันพืช ณ ด่าน ข้อกำหนดทางวิชาการ 1. การนำเข้าพืชมีชีวิตมายังอินโดนีเซีย ผักสดกลุ่ม bulbs ต้องมาจากแหล่งผลิตที่ปราศจากการระบาดศัตรูพืชกักกัน 2. ตาม article 5 จะต้องแจ้งเพิ่มเติม (Additional Declaration) ต้องไม่มีดินหรือปุ๋ยติดมากับพืช 3.ตาม Article 5 จะต้องกำจัดศัตรูพืช (treated) และต้องไม่มีดิน และปุ๋ย ตาม para 1 การทรีทเมนต์ต้องอ้างอิงตาม paara 1ตามชนิดพืชมีชีวิตจากผักจำพวกหัว bulb และส่วนของพืชที่เข้าทำลายง่ายจะต้องมีการป้องกันและแสดงวิธีการกำจัด พร้อมแนบใบรับรองด้วย
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ทุกประเทศ




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/36
19 กันยายน 2550
มาตรการปกติ
สินค้ากระเทียมสำหรับบริโภค
สาระสำคัญ : คำสั่งกระทรวงเกษตรฯ เกี่ยวกับมาตรฐานกระเทียม SNI 01-3160-1992 on Garlic กฎระเบียบนี้กำหนดเพื่อควบคุมคุณภาพกระเทียม และกำหนดค่า MRL ในกระเทียม
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ทุกประเทศ




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/35
05 กันยายน 2550
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์มีชีวิตและผลิตภัณฑ์ที่มีแหล่งกำเนิดจากสัตว์กระเพาะรวมและสุกร (รวมทั้งวัตถุดิบจากสัตว์กระเพาะรวม สุกร และผลิตภัณฑ์ทุกชนิดจากสัตว์ดังกล่าว)
สาระสำคัญ : พระราชกฤษฎีกาข้อกำหนดเกี่ยวกับการนำเข้าสัตว์มีชีวิตและผลิตภัณฑ์ที่มีแหล่งกำเนิดจากสัตว์กระเพาะรวมและสุกร และผลิตภัณฑ์ที่ได้จากวัตถุดิบที่ใช้เป็นอาหาร อาหารสัตว์ เครื่องมือและอุปกรณ์และยาสัตว์ที่อนุญาตให้นำเข้าอินโดนีเซีย (กรณีบรรทุกก่อน 3 สิงหาคม 2550) การนำเข้าผลิตภัณฑ์ดังกล่าวใช้กับประเทศที่มีการเคลื่อนย้ายมาผ่านอังกฤษ เพื่อป้องกันโรคและเท้าเปื่อย
วันที่มีผลบังคับใช้ : 20 ส.ค. 50
อังกฤษ




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/126
31 สิงหาคม 2550
มาตรการปกติ
สินค้ามะม่วงแห้ง (0804.50.00)
สาระสำคัญ : ประกาศมาตรฐานมะม่วงแห้งที่บรรจุในบรรจุภัณฑ์
วันที่มีผลบังคับใช้ : 23 ต.ค. 50
ทุกประเทศ




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/125/ Corr.1
31 สิงหาคม 2550
มาตรการปกติ
สินค้าม้า วัว สุกร แกะ แพะ
สาระสำคัญ : ฟิลิปปินส์ประกาศแก้ไขหัวข้อที่ 3 ของประกาศ G/SPS/N/PHL/125 ให้ยกเลิกการม้าและผลิตภัณฑ์ออกจากการห้ามการนำเข้า เนื่องจากม้าเป็นสัตว์ที่ต้านทานต่อโรค FMD
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
อังกฤษ




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/124/ Corr.1
31 สิงหาคม 2550
มาตรการปกติ
สินค้าสัตว์ปีกที่มีชีวิต เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ที่มีอายุ 1 วัน ไข่ และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ฟิลิปปินส์ประกาศแก้ไขหัวข้อที่ 5 ของประกาศ G/SPS/N/PHL/124 เป็น DA Memorandum Order (MO) no.12, serie of 2007
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
Virginia และ Nebraska (สหรัฐอเมริกา)




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/128
31 สิงหาคม 2550
มาตรการปกติ
สินค้าผลไม้แห้งเขตร้อน (มะม่วง-0804.50.00 มะละกอ-0813.40 สับปะรด-0804.30 ขนุน-0813.40)
สาระสำคัญ : ประกาศโค้ชวิธีการทำแห้งผลไม้เขตร้อน ทั้งแบบธรรมชาติหรือแบบใช้เครื่องมือในการทำแห้ง ซึ่งไม่รวมการทำแห้งแบบ spy dried
วันที่มีผลบังคับใช้ : 23 ต.ค. 50
ทุกประเทศ




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/127
31 สิงหาคม 2550
มาตรการปกติ
สินค้าผลไม้แห้งเขตร้อน (มะละกอ -0813.40 สับปะรด-0804.30 ขนุน-0813.40)
สาระสำคัญ : ประกาศมาตรฐานผลไม้แห้งเขตร้อน (มะละกอ -0813.40 สับปะรด-0804.30 ขนุน-0813.40) ที่บรรจุในบรรจุภัณฑ์
วันที่มีผลบังคับใช้ : 23 ต.ค. 50
ทุกประเทศ




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/34
27 สิงหาคม 2550
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์เคี้ยวเอื้องที่มีชีวิตและผลิตภัณฑ์ แหล่งกำเนิดสุกร (รวมถึงแหล่งกำเนิดสัตว์เคี้ยวเอื้อง สุกร และ หลายชนิด)
สาระสำคัญ : ประกาศห้ามนำเข้า สัตว์เคี้ยวเอื้องที่มีชีวิตและผลิตภัณฑ์ จากประเทศอังกฤษ เพื่อป้องกันโรคปากเท้าเปื่อย (FMD)
วันที่มีผลบังคับใช้ : 7 ส.ค. 50
อังกฤษ




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/33
21 สิงหาคม 2550
มาตรการปกติ
สินค้าปลามีชีวิต
สาระสำคัญ : กฎระเบียบการนำเข้า carrying media ในรูปของปลามีชีวิต เข้าอินโดนีเซีย ตามบทบัญญัติ7 ของกฎหมายฉบับที่ 31 ปี 2547 เกี่ยวกับการประมง โดยร่างกฎระเบียบมีดังนี้ - คำนิยามของ carrying media - การนำเข้า carrying media ในรูปของปลามีชีวิตต้องระบุสถานที่นำเข้า และวัตถุอื่นๆ ตามข้อกำหนดกักกัน- - เอกสารที่จำเป็น : ใบรับรองกักกันทางประมง ซึ่งได้รับการอนุมัติจากอธิบดีประมงของอินโดนีเซีย หรือ หัวหน้างานวิจัย Marine Affairs and Fisheries Research Agency - ระยะเวลาตั้งแต่การสมัครเพื่อนำเข้า carrying media
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ทุกประเทศ




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/125
17 สิงหาคม 2550
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าม้า (0101,0205) โคกระบือ (0102, 0201, 0202) สุกร (0103,0203) แพะแกะ (0104,0204)
สาระสำคัญ : ระงับการนำเข้าชั่วคราวสัตว์ที่อ่อนแอต่อโรคปากและเท้าเปื่อย รวมทั้งผลิตภัณฑ์ และผลพลอยที่ได้ที่ได้จากอังกฤษ เนื่องจากพบการระบาดโรคปากและเท้าเปื่อยในอังกฤษ
วันที่มีผลบังคับใช้ : 7 ส.ค. 50
อังกฤษ




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/124
15 สิงหาคม 2550
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกมีชีวิต (HS 0105) เนื้อสัตว์ปีก (HS0207) ลูกไก่(010511) ไข่ (0407) และน้ำเชื้อ (HS 051199)
สาระสำคัญ : ประกาศ ห้ามนำเข้าสัตว์ปีกพื้นเมือง และสัตว์ปีกป่า และผลิตภัณฑ์ รวมทั้งเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ จากรัฐเวอร์วิเนีย และรัฐเนบราสก้า สหรัฐอเมริกา เพื่อป้องกันการระบาดของไข้หวัดนกที่พบระบาดของเชื้อ H5N1 ในรัฐเวอร์วิเนีย และพบการระบาดของเชื้อ H7N9 ในรัฐเนบราสก้า สหรัฐอเมริกา
วันที่มีผลบังคับใช้ : 24 ก.ค. 50
รัฐเวอร์วิเนีย และรัฐเนบราสก้า (สหรัฐอเมริกา)




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/121
16 กรกฎาคม 2550
มาตรการปกติ
สินค้าปลาสลิดทะเล (ใส่เกลือ แช่นำเกลือ รมควัน ตามรหัส HS 0305.59.90)
สาระสำคัญ : มาตรฐานปลาสลิดทะเล (Siganus spp.) ไม่มีกระดูกทำให้แห้ง ซึ่งมาตรฐานกำหนดลักษณะคุณภาพและความปลอดภัย และวิธีการ ตามท้ายภาคผนวกจะมีข้อเสนอแนะสำหรับการแปรรูปและการจัดการปลาแห้งด้วย
วันที่มีผลบังคับใช้ : 22 ก.ย. 50
ทุกประเทศ




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/122
16 กรกฎาคม 2550
มาตรการปกติ
สินค้าปลานิลแช่เย็นจนแข็ง (ตามรหัส HS 0303.79.20 / 0303.20.00)
สาระสำคัญ : มาตรฐานปลานิล (Oreochromis spp.) มาตรฐานนี้ครอบคลุมปลานิลทั้งตัว และแล่ (whole, gutted and fillet)
วันที่มีผลบังคับใช้ : 22 ก.ย. 50
ทุกประเทศ




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/122
16 กรกฎาคม 2550
มาตรการปกติ
สินค้าปลานิลแช่เย็นจนแข็ง (ตามรหัส HS 0303.79.20 / 0303.20.00)
สาระสำคัญ : มาตรฐานปลานิล (Oreochromis spp.) มาตรฐานนี้ครอบคลุมปลานิลทั้งตัว และแล่ (whole, gutted and fillet)
วันที่มีผลบังคับใช้ : 22 ก.ย. 50
ทุกประเทศ




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/123
16 กรกฎาคม 2550
มาตรการปกติ
สินค้าสาหร่ายแดง (red seaweed) แห้ง
สาระสำคัญ : มาตรฐานสาหร่ายแดงแห้ง ซึ่งอยู่ใน Class Rhodopyceae เช่น Eucheuma, Chondrus, และ Gigartina ซึ่งมาตรฐานกำหนดลักษณะคุณภาพและความปลอดภัย
วันที่มีผลบังคับใช้ : 22 ก.ย. 50
ประเทศคู่ค้า




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/120
16 กรกฎาคม 2550
มาตรการปกติ
สินค้าปลานวลจันทร์ทะล (Milk Fish :Chanos chanos forkal) แช่เย็นจนแข็ง (ทั้งตัว ท่อน ไม่มีกระดูก ตามรหัส HS 0303.79.20/0304.20.00/0304.90.00)
สาระสำคัญ : ร่างมาตรฐานสำหรับปลานวลจันทร์ทะเลทั้งตัว เป็นท่อน และไม่มี่กระดูก (whole, choice cut, deboned)
วันที่มีผลบังคับใช้ : 22 ก.ย. 50
ทุกประเทศ




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/118
11 กรกฎาคม 2550
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกมีชีวิต (0105) เนื้อสัตว์ปีก (0207 ลูกไก่ (0105.11) ไข่ (0407) นำเชื้อ (0511.99)
สาระสำคัญ : ฟิลิปปินส์ประกาศฉุกเฉินเพื่อระงับการนำเข้าชั่วคราวสัตว์ปีกพื้นบ้าน สัตว์ปีกป่า และผลิตภัณฑ์ของสัตว์ดังกล่าว รวมทั้งเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และนำเชื้อที่มีแหล่งกำเนิดจากประเทศโตโก
วันที่มีผลบังคับใช้ : 27 มิ.ย. 50
โตโก




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/119
11 กรกฎาคม 2550
มาตรการปกติ
สินค้าสัตว์ปีกมีชีวิต (0105) เนื้อสัตว์ปีก (0207 ลูกไก่ (0105.11) ไข่ (0407) นำเชื้อ (0511.99)
สาระสำคัญ : ฟิลิปปินส์ประกาศฉุกเฉินเพื่อระงับการนำเข้าชั่วคราวสัตว์ปีกพื้นบ้าน สัตว์ปีกป่า และผลิตภัณฑ์ของสัตว์ดังกล่าว รวมทั้งเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และนำเชื้อที่มีแหล่งกำเนิดจากสาธารณรัฐเช็ค
วันที่มีผลบังคับใช้ : 27 มิ.ย. 50
เช็ค




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/76/ Add.1
01 มิถุนายน 2550
มาตรการปกติ
สินค้าน้ำมันมะพร้าวบริสุทธิ์ (Virgin Coconut Oil)
สาระสำคัญ : การทบทวนมาตรฐานและประกาศใช้มาตรฐานน้ำมันมะพร้าวบริสุทธิ์ ซึ่งเป็นมาตรฐานแห่งชาติของฟิลิปปินส์
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
ทุกประเทศ




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/112/ Add.1
01 มิถุนายน 2550
มาตรการปกติ
สินค้าสัตว์ปีกพื้นบ้าน และสัตว์ปีก และผลิตภัณฑ์ เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ น้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ยกเลิกการระงับการนำเข้าสัตว์ปีกพื้นบ้าน และสัตว์ปีก และผลิตภัณฑ์ เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ น้ำเชื้อ ที่มาจากญี่ปุ่น ที่มีการระบาดของไข้หวัดนก H5
วันที่มีผลบังคับใช้ : 10 พ.ค. 50
ญี่ปุ่น




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/114/ Corr.1
01 มิถุนายน 2550
มาตรการปกติ
สินค้าสัตว์ปีกพื้นบ้าน และสัตว์ปีก และผลิตภัณฑ์ เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ น้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : แก้ไขรายการที่ 8 (Item) ของ Notification G/SPS/N/PHL/114 ซึ่งที่ถูกต้อง ควรอ่านว่า "Import restriction is imposed due to the reported detection of H5N2 avian influenza virus in a turkey farm in the State of West Virginia, United States." ห้ามนำเข้าเนื่องจากมีรายงานการระบาดไข้หวัดนกในฟาร์มไก่งวงในรัฐเวส เวอร์จิเนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา
วันที่มีผลบังคับใช้ : -
รัฐเวส เวอร์จิเนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/116
01 มิถุนายน 2550
มาตรการปกติ
สินค้ากล้วยแผ่น (Banana chips (2008.99))
สาระสำคัญ : กำหนดมาตรฐานฟิลิปปินส์สำหรับกล้วยแผ่น (PSN/BFAD 13:2007) ที่ได้จากกล้วยที่สมบูรณ์และแก่เต็มที่โดยนำมาทอด
วันที่มีผลบังคับใช้ : 16 ก.ค. 50
ทุกประเทศ




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/117
01 มิถุนายน 2550
มาตรการปกติ
สินค้ากล้วยแผ่น (Banana chips (2008.99))
สาระสำคัญ : หลักปฏิบัติสำหรับการแปรรูปและการจัดการกล้วยแผ่น (Banana chips) ตามเอกสาร PSN/BFAD 14:2007 ประกอบด้วยการรับวัตถุดิบ การจัดเตรียม และการแปรรูปกล้วยแผ่น ที่ปฏิบัติตามมาตรฐานกล้วยแผ่น PSN/BFAD 13:2007
วันที่มีผลบังคับใช้ : 16 ก.ค. 50
ทุกประเทศ




สิงคโปร์ G/SPS/N/SGP/34
19 เมษายน 2550
มาตรการปกติ
สินค้าหอยนางรมทั้งเปลือกแช่เย็น และหอยนางรมครึ่งฝาแช่เย็น และเนื้อหอยนางรมแช่เย็น
สาระสำคัญ : ข้อกำหนดสำหรับนำเข้าหอยนางรมแช่เย็นทั้งที่มีสองฝา ฝาเดียวและเนื้อหอยนางรม เข้าประเทศสิงคโปร์ มีข้อกำหนด - หอยนางรมที่เก็บแล้วจะต้องใช้น้ำและการแปรรูปที่ถูกสุขลักษณะ - หอยนางรมต้องไม่ผ่านการใช้สารเคมีพวกรักษาสภาพและปรุงแต่งที่ก่ออันตรายต่อสุขภาพ - การผลิตเหมาะสมสำหรับมนุษย์บริโภค
วันที่มีผลบังคับใช้ : 1 มิ.ย. 50
ทุกประเทศ




บรูไน G/SPS/N/BRA/306
19 เมษายน 2550
มาตรการปกติ
สินค้าเมล็ดฝ้ายและข้าวบาร์เลย์
สาระสำคัญ : ร่างกฎระเบียบ Resolution กำหนดค่า MRL ของสาร cyproconazone ใช้ทางใบ ในเมล็ดฝ้าย ที่ 0.02 ppm ระยะปลอดภัย 30 วัน ใน ข้าวบาร์เลย์ ที่ 0.05 ppm
วันที่มีผลบังคับใช้ : พ.ค. 50
ทุกประเทศ




อินโดนีเซีย G/SPS/N/IDN/32
17 เมษายน 2550
มาตรการปกติ
สินค้าอาหารสดที่มีแหล่งกำเนิดจากพืช
สาระสำคัญ : ร่างคำสั่งกระทรวงเกษตรเกี่ยวกับการควบคุมอาหารที่มีแหล่งกำเนิดจากพืชสำหรับนำเข้าส่งออก (Draft Decree of Minister of Agriculture concerning Food Safety Control for the Import and Export of Fresh Food of Plant Origin) โดยมีข้อกำหนดดังนี้ 1. ข้อกำหนดทั่วไป 2. จัดให้มีหน่วยงานที่มีอำนาจหน้าที่ด้านความปลอดภัยอาหารและ เป็นหน่วยงานออกใบรับรองที่ทางการยอมรับด้วย 3. การนำเข้า (ข้อกำหนด วิชาการ มาตรฐาน หลักปฏิบัติที่ดี และการวิเคราะห์อันตรายและจุดวิกฤตที่ต้องควบคุม ติดฉลาก แจ้งเบื้องต้น ควบคุม การตรวจสอบรูปพรรณ การตรวจสอบทางกายภาพ การทดสอบห้องปฏิบัติการ เงื่อนไขการผลิต การขนส่ง การเก็บรักษา) 4. การสงออก (ข้อกำหนดและการควบคุม) 5. ความร่วมมือระหว่างประเทศ และต้นทุนของการควบคุมปลอดภัย
วันที่มีผลบังคับใช้ : 2 เม.ย. 50
บังกลาเทศ




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/113
19 มีนาคม 2550
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกมีชีวิต (0105) เนื้อสัตว์ปีก (0207) ลูกไก่ (0105.11) ไข่ (0407) และ น้ำเชื้อ (0511.99)
สาระสำคัญ : ประกาศห้ามนำเข้าชั่วคราวในสัตว์ปีกพื้นบ้าน/ป่า และผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีกรวมเนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ และน้ำเชื้อ ที่มีแหล่งมาจากสหราชอาณาจักร เนื่องจากมีการระบาดของไข้หวัดนกสายพันธุ์ H5N1 ในฟาร์มไก่งวงในฮอลตัน ซัฟฟอล์ค
วันที่มีผลบังคับใช้ : 5 ก.พ. 50
สหราชอาณาจักร




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/38/
19 มีนาคม 2550
มาตรการปกติ
สินค้าอาหารสัตว์ (Pet Foods)
สาระสำคัญ : ประกาศแก้ไขแนวทาง (Guideline) การนำเข้าอาหารแปรรูปสุนัขและแมว
วันที่มีผลบังคับใช้ : 21 พ.ย. 49
ทุกประเทศ




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/112
02 กุมภาพันธ ์ 2550
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกป่าและสัตว์ปีกพื้นบ้านและผลิตภัณฑ์ดังกล่าวรวมทั้งเนื้อสัตว์ปีกและลูกไก่ ไข่และน้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : ฟิลิปปินส์ ประกาศห้ามนำเข้าชั่วคราวในสัตว์ปีกป่าและสัตว์ปีกพื้นบ้านและผลิตภัณฑ์ดังกล่าวรวมทั้งเนื้อสัตว์ปีก และลูกไก่ ไข่และน้ำเชื้อจากประเทศญี่ปุ่น เนื่องพบการระบาดไข้หวัดนกชนิด H5 ในญี่ปุ่น
วันที่มีผลบังคับใช้ : 16 มกราคม 2550
ญี่ปุ่น




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/106 /Add.2
22 มกราคม 2550
มาตรการปกติ
สินค้าเนื้อและผลิตภัณฑ์จากเนื้อ
สาระสำคัญ : กรมวิชาการเกษตรฟิลิปปินส์ ประกาศใช้มาตรการส่งออกเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์ก่อนข้ามเขตแดนประเทศฟิลิปปินส์ ซึ่งเคยแจ้งเป็นร่างแนวทางและการรับรองเนื้อสัตว์ต่างแดน (Draft Guidelines on the Accreditation ) แล้วก่อนหน้านี้ใน Notification G/SPS/N/PHL/106 และ G/SPS/N/PHL/106/Add.1
วันที่มีผลบังคับใช้ : 8 มกราคม 2550
ทุกประเทศ




ฟิลิปปินส์ G/SPS/N/PHL/111
05 มกราคม 2550
มาตรการฉุกเฉิน
สินค้าสัตว์ปีกมีชีวิตในประเทศ สัตว์ปีกป่า สัตว์ปีกมีชีวิต เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ น้ำเชื้อ
สาระสำคัญ : คำสั่งระงับการนำเข้าสัตว์ปีกมีชีวิตในประเทศ สัตว์ปีกป่า สัตว์ปีกมีชีวิต เนื้อสัตว์ปีก ลูกไก่ ไข่ น้ำเชื้อจากสาธารณรัฐเกาหลี(มาตรการฉุกเฉิน)
วันที่มีผลบังคับใช้ : 27 พฤศจิกายน 2549
เกาหลีใต้





Copyright © 2015. www.acfs.go.th All Rights Reserved.
หน่วยประสานงานกลางด้านสุขอนามัยและสุขอนามัยพืชของประเทศไทย(Thailand SPS Contact Point)
กลุ่มความตกลงสุขอนามัยและสุขอนามัยพืชและอื่นๆ (SPS Section)
สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.)
ที่อยู่ เลขที่ 50 ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ. 10900
โทร. 02-561-4204 โทรสาร 02-561-4034
E-mail : [email protected], [email protected]